directions_run

โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนและบุุคลลากรเทศบาลเกิดความรู้และความตระหนักการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนและบุคลากรในเทศบาลอ่างทองมีความรู้และความตระหนักดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 2. มีครัวเรือนร่วมดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 3. สามารถออกแบบการดูแลสุขภาพและกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมวัย
0.00 100.00

การคัดเลือกให้ความรู้คู่กับฝึกปฏิบัติการกิจกรรมทางกายที่หลากหลายที่เหมาะกับช่วงวัย ทำให้แต่ละ่คนเลือกได้หลากรูปแบบที่เหมาะสม

2 เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. เกิดคณะทำงานที่มีส่วนร่วมจากท้องถิ่น ผู้นำชุมชน และตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน 2. มีข้อมูลสถานการณ์และการดูแลสุขภาพ กิจกรรมทางกาย 3. มีกติกาและแผนปฏิบัติการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกาย 4. มีกลไกการติดตามและส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
26.00

การบูรณาการความร่วมมือและการแบ่งบทบาทตามความถนัด มีทีมกองเลขา และทีมติดตามที่เข้าใจทำให้การดำเนินงานขับเคลื่อนไปได้ตามที่กำหนดไว้ กระบวนการประชุมคณะทำงาน และมีกลไกการประเมินผลทำให้ได้ทบทวนและปรับปรุงการทำงานเป็นระยะ

3 เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและมีปฏิบัติการปรับเปลี่ยนมีกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มเด็กวัยเรียน เยาวชน และกลุ่มวัยทำงานมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) 2. มีบุคคลต้นแบบกิจกรรมขยับกายเพื่อสุขภาพจำนวน 10 คน 3. มีแกนนำส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 30 คน 4. มีพื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างน้อย 3 จุด

 

4 ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครัวเรือนนำร่อง 60
ผู้บริหารและบุคคลากรเทศบาลอ่างทอง 70
แกนนำชุมชน 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนและบุุคลลากรเทศบาลเกิดความรู้และความตระหนักการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150  นาที (2) เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายที่มีประสิทธิภาพ (3) เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและมีปฏิบัติการปรับเปลี่ยนมีกิจกรรมทางกาย (4) ประชาชนมีการดูแลสุขภาพและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน (2) กิจกรรมที่ 2 เปิดโครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง (3) กิจกรรมที่ 3 จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1 (4) กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1 (5) อบรมให้ความรู้การออกแบบกิจกรรมทางกาย ครั้งที่2 (6) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (7) กิจกรรมที่ 14  กำหนดสถานที่เขคปลอดเหล้าและบุหรี่ (8) กิจกรรมที่ 7. กิจกรรมขยับทางกายเพื่อสุขภาพ (กิจกรรมทางเลือก) (9) กิจกรรมที่ 8 ครอบครัวมีสุข (สุขภาพ+มีความสุข) (10) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (11) กิจกรรมที่ 9 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 1 (12) กิจกรรมที่ 11 การแข่งขันกีฬามหาสนุก (13) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยจัดการ (14) กิจกรรมที่ 12 ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ (15) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (16) กิจกรรมที่ 9 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมทางกาย (17) กิจกรรมที่ 3.จัดทำข้อมูลเรื่องสถานการณ์กิจกรรมทางกาย คร้ังที่2 (18) กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (19) กิจกรรมที่ 10 เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ (20) กิจกรรมที่ 6 ประชุมติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 (21) กิจกรรมที่ 13 สรุปผลการดำเนินงาน (22) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ร่วมกับหน่วยจัดการ (ARE)  ครั้งที่ 2 (23) ประชุมถอดบทเรียน (24) รวมพลคน 3 วัย (25) รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมผ่านระบบเว็บไซต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh