directions_run

โครงการเสริมสร้างองค์กรชุมชนเข้มแข็งเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองบ่อยาง

stars
1. ชื่อโครงการ
โครงการเสริมสร้างองค์กรชุมชนเข้มแข็งเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองบ่อยาง
stars
2. องค์กรที่รับผิดชอบ
สมาคมอาสาสร้างสุข
stars
3. เป้าประสงค์
groups
เป้าประสงค์ที่สอดคล้องกับประเด็นขับเคลื่อน
ส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิการบริการพื้นฐาน

จัดตั้งองค์กรนิติบุคคลของเครือข่ายชุมชนเมืองบ่อยาง เพื่อแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัย ปัญหารายได้ ปัญหาสิ่งแวดล้อมของเมืองบ่อยาง และเตรียมความพร้อมในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ลดผลกระทบจากวิกฤตโควิด-๑๙ เสริมศักยภาพให้สามารถเข้าถึงปัจจัย ๔ เพื่อการดำรงชีพ และสามารถช่วยเหลือตนเองได้

 

มีรายได้เพิ่มขึ้น ลดหนี้สินครัวเรือน

 

groups
เป้าประสงค์เฉพาะ
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
5. ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตามที่คณะทำงานได้จัดทำโครงการศึกษาความเปราะบางของเมืองบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งผลจากการศึกษาพบว่า มากกว่า 50% ของชุมชนทั้งหมด มีข้อมูลระบุ ว่า ที่อยู่อาศัยปลูกอยู่ในที่ดินของรัฐ ซึ่งเป็นที่มาของปัญหาความไม่มั่นคงด้านที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ท าให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องในเวลาเกิดสาธารณภัย ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิพื้นฐานจาก ภาครัฐ เป็นภาระในค่าใช้จ่ายพื้นฐานต่างๆ ในด้านรายได้และเศรษฐกิจชุมชน ผลจากการประเมินความ เปราะบางในระดับบุคคล พบว่า อาชีพแรงงานนอกระบบจะได้รับผลกระทบมากในช่วงหน้าฝนเนื่องจากไม่ สามารถออกมาท างานได้ตามปกติ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม สภาพชุมชนส่วนใหญ่เป็นชุมชนแออัด มีน้ำท่วมขัง ในช่วงฤดูฝน และมีปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน คิดเป็น 100 % ของชุมชน ไม่มี ส่วนร่วมกับหน่วยงานในการวางแผนการแก้ปัญหาเรื่องการรับมือภัยพิบัติ และเพศหญิงซึ่งเป็นผู้ได้รับ ผลกระทบมากกว่าเพศชาย กลายเป็นผู้ที่มีบทบาทส าคัญในการแก้ไขปัญหาและการรับมือการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ จากสภาพปัญหาดังกล่าว คณะทำงานโครงการคาดว่า การแก้ปัญหาระยะยาวจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถรวมตัวกัน พึ่งตนเอง พึ่งกันเองและมีส่วนร่วมเข้าไปทำงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ด้วยการจัดตั้งองค์กรชุมชนที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลได้ภายในปี 2566 และสามารถนำเสนอ ตัวตนที่ชัดเจนขององค์กรเข้าไปมีส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนดนโยบายในการแก้ไขปัญหาและแนว ทางการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเมืองบ่อยางได้ จึงเป็นที่มาของการดำเนินงานโครงการนี้
stars
6. รูปแบบการจัดกิจกรรม
Online
Onsite
Hybridge
stars
7. ประเภทของกิจกรรม
การพัฒนากลไก เช่น สนับสนุนกลไกในการทำงาน การรวมกลุ่ม สร้างชุมชนเข้มแข็ง การประสานส่งต่อความช่วยเหลือ

 

การสำรวจข้อมูล ค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย

 

การตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย

 

การทำแผน กติกา การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ การวางแผนครอบครัว

 

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การส่งเสริมทักษะทางกาย ใจ การนำหลักศาสนามาใช้

 

การป้องกันและลดปัญหา เช่น ด้านยาเสพติด การป้องกันและลดปัญหาด้านโภชนาการ การป้องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม

 

การบริการรักษาสุขภาพ เช่น การพัฒนาระบบบริการเชิงรุก การฉีดวัคซีน การแพทย์ทางร่วม การลดภาวะซีดในหญิงมีครรภ์ การดูแลสุขภาพจิต การใช้สมุนไพรทางเลือก

 

การปรับสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวก กายอุปกรณ์ ผ้าอ้อมสำเร็จรูป ตัดแว่นตา

 

การส่งเสริมสุขภาพ

 

การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

 

การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สื่อสารสาธารณะ

 

การพัฒนาศักยภาพ เช่น ให้ความรู้ การดูงาน

 

ด้านการเงิน งบประมาณ (การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ปัจจัยการผลิต กองทุนหมุนเวียน กองทุนกลาง การออมทรัพย์ สวัสดิการ)

 

การส่งเสริมอาชีพ การสร้างอาชีพ และรายได้ ลดรายจ่าย

 

การส่งเสริมการตลาดในชุมชน การส่งเสริมตลาดกรีน/ตลาดอาหารสุขภาพ

 

การบังคับใช้กฏหมาย

 

การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง

 

การประเมินติดตามผล

 

การจัดการความรู้ งานวิจัย

 

การฟื้นฟูสมรรถภาพ

 

อื่นๆ

 

stars
8. พื้นที่ดำเนินการ
จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา เมืองสงขลา บ่อยาง place directions
stars
9. งบประมาณ
งบประมาณ
260,000.00 บาท
ได้รับงบประมาณจาก
สหภาพยุโรป

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2566 12:25 น.