task_alt

โครงการการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการไม่สูบบุหรี่ประชาชน 35 ปีขึ้นไปหมู่ที่ 4 บ้านม่วงเตี้ย ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการไม่สูบบุหรี่ประชาชน 35 ปีขึ้นไปหมู่ที่ 4 บ้านม่วงเตี้ย ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

ชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2566 ถึงเดือน ธันวาคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย 2.การบันทึกข้อมูลตามแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ ในโปรแกรม www.happynetwork.org 3.การรายงานการเบิกจ่ายเงินโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน ๒๕๖6
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่ 6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์ นวลดี วันที่ 7 มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์ นวลดี

หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม       : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

 

0 0

2. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ชุมชนปลอดบุหรี่ตำบลม่วงเตี้ย หมู่ 4 บ้านม่วงใหญ่

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.1มีคณะกรรมการดำเนินโครงการที่ร่วมดำเนินการในทุกขั้นตอนอย่างน้อย 15 คน มาจาการองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น แกนนำชุมชน กรรมการมัสยิด อสม. จนท. สาธารณสุข  เป็นต้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-ประชุมชี้แจงโครงการ ชุมชนปลอดบุหรี่ตำบล ม่วงเตี้ย หมู่ 4 บ้านม่วงใหญ่ให้ทีมคณะกรรมการชุมชนและและแกนนำในชุมชนรับทราบเพื่อวางแผนและกำหนดรูปแบบในดำเนินกิจกรรมไปในทิศทางเดียวกัน
-จัดดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่

 

20 0

3. ค่าทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 16 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และป้ายชื่อโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ และป้ายชื่อโครงการ

 

0 0

4. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ชุมชนปลอดบุหรี่ตำบลม่วงเตี้ย หมู่ 4 บ้านม่วงใหญ่ ครั้งที่ 2

วันที่ 16 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดคณะกรรมการโครงการ ที่มีบทบาทหน้าที่แต่ละคนดังนี้
เพื่อวางแผนการดำเนินงาน ประมวลวิเคราะสถานการณ์ปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน
มีการติดตามการประเมินความก้าวหน้า และแก้ไขปัญหาอุปสรรค
มีการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมชี้แจงโครงการ ชุมชนปลอดบุหรี่ตำบลม่วงเตี้ย หมู่ 4 บ้านม่วงใหญ่  คณะกรรมการทั้ง 20  คน ในครั้งที่ 2 เพื่่อการวางแผนการดำเนินการตามแผนโครงการ

 

0 0

5. จัดอบรมประชาชน เรื่องควันบุหรี่มือสอง สิทธิของบุคคล กฎหมายพรบ.บุหรี่ฉบับใหม่ สำหรับประชาชน

วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ประชาชนรู้และตระหนักในพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ ร้อยละ 100 2. ผู้สูบบุหรี่ 35 ปีขึ้นไป ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่ห้ามสูบ ร้อยละ 100 3. มีมาตรการชุมชน/นโยบายสาธารณะของชุมชน 4. มีกลไกในการเฝ้าระวังการละเมิดมาตรการชุมชน 5. ประชาชน จำนวน 103 คน รับทราบข้อตกลงในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบในชุมชน ร้อยละ 100

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดอบรม เรื่องควันบุหรี่มือสองสิทธิของบุคคลกฏหมายพรบ.บุหรี่ ฉบับใหม่ แก่ประชาชน 103 คน

 

103 0

6. จัดประชุมสร้างมาตรการชุมชนและนโยบายสาธารณะของชุมชน

วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการสร้างมาตรการชุมชนและสร้างนโยบายสาธารณะของชุมชนโดยคณะกรรมการ และสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ มาตรการข้อตกลงของชุมชนwบ้านม่วงใหญ่ ม.4 ต.ม่วงเตี้ย อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี 1.ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณมัสยิด ยกเว้น สูบได้บริเวณจุดที่กำหนดเท่านั้น 2.ห้ามร้านค้าจำหน่าย หรือ ขายบุหรี่ให้กับเด็กเยาวชน อายุต่ำกว่า 20 ปี 3.สถานที่สาธารณะในชุมชนเป็นเขตปลอดบุหรี่ ได้แก่ มัสยิด , สนามกีฬาที่ วค.แม่ลาน ,สนามกีฬาที่ อบต.ม่วงเตี้ย , สี่แยกสนามแข่งนกกรงหัวจุก , ร้านค้าในชุมชน , สุสาน (กูโบร์) ,โรงเรียนตาดีกา ฯลฯ 4.มีการประชาสัมพันธ์ จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโทษ พิษบุหรี่และยาเสพติด หลังละหมาดวักศุกร์ ทุกสัปดาห์
5.คณะกรรมการมัสยิดดารุลเราะมะห์ บาโงปาโอ๊ะที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ต้องเข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ทุกราย                     ออกให้ ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2566

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีการจัดประชุมสร้างมาตรการชุมชนและนโยบายสาธารณะของชุมชน ประกอบด้วยคณะกรรรมการ 20 คน สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 65 คน รวมทั้งหมด85คน

 

0 0

7. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษและพิษภัยจากบุหรี่และมีความรู้กฎหมายควบคุมบุหรี่แก่กลุ่มแกนนำและช่วยเลิกบุหรี่ในกลุ่มแกนนำ เพื่อให้แกนนำเป็นบุคคลตัวอย่างในการดำเนินโครงการ

วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.กลุ่มแกนนำได้รับความรู้เรื่องโทษและพิษภัยบุหรี่ 2.เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ 3.กลุ่มแกนนำ มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายควบคุมบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่ และอบรมให้ความรู้เรื่องโทษและพิษภัยจากบุหรี่และมีความรู้กฎหมายควบคุมบุหรี่แก่กลุ่มแกนนำและช่วยเลิกบุหรี่ในกลุ่มแกนนำ เพื่อให้แกนนำเป็นบุคคลตัวอย่างในการดำเนินโครงการทั้งหมด 20 คน

 

0 0

8. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษและพิษภัยจากบุหรี่ที่มีผลต่อสุขภาพในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง มีความรู้กฎหมายควบคุมบุหรี่

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ได้ผู้สูบบุหรี่อายุ 35 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง สนใจเข้าร่วมโครงการและอยากเลิกสูบบุหรี่อย่างน้อยร้อยละ100 2.ผู้สูบบุหรี่ในชุมชน สามารถลดปริมาณการสูบลงจากเดิม /สามารถเลิกสูบได้มากกว่า 3 เดือน
3. ผู้ที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่ สามารถลด ละ เลิกในระยะเวลา 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 4. เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโทษและพิษภัยจากบุหรี่ที่มีผลต่อสุขภาพในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองมีความรู้กฎหมายควบคุมบุหรี่ 2.รับสมัครผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมโครงการ สิทธิที่จะได้รับเมื่อเข้าร่วมโครงการ   -การตรวจสุขภาพเบื้องต้น   -คัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง   -สามารถการเลือกแผนการบำบัดได้   -รับคำปรึกษาและช่วยดูแลสุขภาพขณะเลิกบุหรี่โดยผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาล แม่ลาน   -ประชาสัมพันธ์บริการคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ของ หน่วยงานจิตเวชและยาเสพติดรพ.แม่ลาน

 

0 0

9. จัดประชุมประชาชน 103 คน เรื่องรับทราบข้อตกลงในการควบคุมการสูบบุหรี่ในชุมชน

วันที่ 7 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทุกคนรับทราบข้อตกลง มาตรการชุมชนร่วมกัน
มาตรการข้อตกลงของชุมชนบ้านม่วงใหญ่ ม.4 ต.ม่วงเตี้ย อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี 1.ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณมัสยิด ยกเว้น สูบได้บริเวณจุดที่กำหนดเท่านั้น 2.ห้ามร้านค้าจำหน่าย หรือ ขายบุหรี่ให้กับเด็กเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี 3.สถานที่สาธารณะในชุมชนเป็นเขตปลอดบุหรี่ ได้แก่ มัสยิด , สนามกีฬาที่ วค.แม่ลาน ,สนามกีฬาที่
อบต.ม่วงเตี้ย ,สี่แยกสนามแข่งนกกรงหัวจุก,ร้านค้าในชุมชน , สุสาน (กูโบร์) ,โรงเรียนตาดีกา ฯลฯ 4.มีการประชาสัมพันธ์ จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโทษ พิษบุหรี่และยาเสพติด หลังละหมาด
วักศุกร์ ทุกสัปดาห์
5.คณะกรรมการมัสยิดดารุลเราะมะห์ บาโงปาโอ๊ะที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ต้องเข้าร่วมโครงการลด
ละ เลิกบุหรี่ ทุกราย     ออกให้ ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2566

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมประชาชน จำนวน 103 คน เพื่อรับทราบข้อตกลงในการควบคุมการสูบบุหรี่ในชุมชน

 

0 0

10. ป้ายมาตรการข้อตกลงของชุมชน

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชาชนที่เข้าร่วมประชุม และคณะกรรมการและบุคคลที่ผ่านมาได้ทราบมาตรการป้องกัน ของชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายโฟมบอร์ด เพื่อติดตั้งที่ห้องประชุมมัสยิดบ้านม่วงใหญ่ หมู่ 4 ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัด ปัตตานี

 

0 0

11. อบรม ผู้ประกอบการร้านค้ายุคใหม่ ใส่ใจ พรบ.(บุหรี่)

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ร้านค้าในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องกฎหมาย พรบ. ยาสูบ 2560 และไม่ขายบุหรี่ยาสูบให้กับเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ร้านที่เข้าร่วมโครงการอบรมทั้งหมด 4 ร้านค้า

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดอบรม ผู้ประกอบการร้านค้ายุคใหม่ ใส่ใจ พรบ.(บุหรี่)และสร้างเครือข่ายร้านค้าไม่จำหน่ายบุหรี่แก่เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี จำนวน 20คน ในกลุ่มร้านค้าในชุมชน ณ.ห้องประชุมมัสยิดดารุลเราะมะห์

 

20 0

12. ค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์แบบถาวรติดสถานที่ห้ามสูบบุหรี่

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ติดตั้งป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่ 3 ที่ 1.สีแยกในหมุ่บ้าน 2. มัสยิด  3.สนามแข่งนกกรงหัวจุก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณกรรมการทั้ง 20 คน ลงมติตามที่ประชุม ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์ ในการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์แบบถาวรติดสถานที่ห้ามสูบบุหรี่ ติดตั้งป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่

 

0 0

13. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษและพิษภัยจากบุหรี่และมีความรู้กฎหมายควบคุมบุหรี่แก่เยาวชนในชุมชน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เด็กและเยาวชนทั้ง 107 คน ได้รับความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่และตั้งใจไม่สูบบุหรี่ ในอนาคต รวมทั้งหมด 107 คน
เด็กและเยาวชนได้รับความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่และตั้งใจไม่สูบบุหรี่ในอนาคต

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมให้กับเยาวชน ทั้งหมด 107 คน ในการจัดกิจกรรมสร้างความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับโทษและพิษภัยบุหรี่ และทักษะในการดูแลป้องกันตัวเองจากบุหรี่ เพื่อป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ ชุมชน ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

14. จัดประชุมติดตามและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ และเก็บบันทึกข้อมูลในโปรแกรม imad@home การเลิกบุหรี่รายบุคคล

วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ ทั้ง 65 คนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ ในระยะ 7 วัน พบว่า ส่วนใหญ่ยังคงมีพฤติกรรมการสูบเหมือนเดิม บางคน ลด ละ ปริมาณการสูบลง เฉพาะวันบางคน 1 การติดตามการดำเนินงาน การลด ละเลิกบุหรี่ ในกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน  เข้าถึงกระบวนการช่วยเลิกบุหรี่ทุกคน โดยมีอสม. ติดตามเยี่ยมบ้านและส่งเสริมให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง
2 การติดตามให้กำลังอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 1 การลด ละ เลิกบุหรี่ รายบุคคล พบว่า ทั้ง 65 คน ในระยะการติดตามครั้งที่ 1 ช่วงเวลา 7 วันแรกหลังจากเข้าร่วมโครงการ ส่วนใหญ่ เกือบทั้ง 60 คน ยังสูบบุหรี่ ในปริมาณเท่าเดิม เป็นส่วนใหญ่ บางคนยังไม่ตระหนักถึงโทษและพิษภัยในการเลิกบุหรี่ ยังคงสูบบุหรี่ และบางคนมีพฤติกรรม ลดละ ปริมาณการสูบลง ในเฉพาะวัน  โดยมี อสม.ประจำตัวผู้เข้าร่วมโครงการจะลงบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกการให้คำปรึกษาคลินิกเลิกบุหรี่ ตามแนวทางที่ให้ความรู้โทษและพิษภัยของบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมติดตามและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง กับผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ และเก็บบันทึกข้อมูลการเลิกบุหรี่รายบุคคล ครั้งที่ 1 ( ระยะติดตาม 7 วัน ) ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์

 

65 0

15. เดินทางไปธนาคารเพื่อไปเบิกเงินในการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เดินทางไปเบิกเงินธนาคาร เพื่อนำเงินมาดำเนินงานในโครงการ เบิกเงินครั้งที่ 1  วันที่ 31/กรกฏาคม /2566  เบิกยอด 50,400 บาท
เบิกเงินครั้งที่ 2  วันที่ 24 / สิงหาคม /2566  เบิกยอด 16,150 บาท
เบิกเงินครั้งที่ 3  วันที่ 12/ ตุลาคม/ 2566    เบิกยอด  13,135 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เดินทางไปเบิกเงินธนาคาร เพื่อนำเงินมาดำเนินงานในโครงการ จำนวน 2 คน ไปที่ ธนาคาร กรุงไทย สาขายะรัง
เบิกเงินครั้งที่ 1  วันที่ 31/กรกฏาคม /2566 เบิกเงินครั้งที่ 2  วันที่ 24 / สิงหาคม /2566 เบิกเงินครั้งที่ 3  วันที่ 12/ ตุลาคม/ 2566

 

0 0

16. ค่าจัดทำป้ายบันใดผลลัพธ์

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีบันใดผลลัพธ์ที่ประชาชนและทีมคณะกรรมการสามารถดูความก้าวหน้าของการดำเนินกิจกรรมในแต่ละขั้นบันใด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายบันใดผลลัพธ์ เพื่อติดตั้งที่ห้องประชุม มัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

17. ค่าปั้มตรายางโครงการ

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีปั้มตรายางโครงการ ทั้' 2 ชิ้น ที่มีรหัสสามชิกโครงการ และ แผนงานร่วมทุ่นโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สั่งทำปั้มตรายางโครงการ เพื่อใช้ในการปั้มในเอกสารโครงการทั้งหมด

 

0 0

18. จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 14 วัน (ครั้งที่ 2 )

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการติดตามและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 14 วัน (ครั้งที่ 2 )
พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุกรี่ สามารถลดปริมาณการสูบลง ในบางราย และบางรายยังคงสูบปริมาณเท่าเดิม บางรายมีความตั้งใจเลิกบุหรี่ ให้ได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 14 วัน (ครั้งที่ 2 ) ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์ ปาโงปาโอ๊ะ

 

0 0

19. จัดประชุมการติดตามกลไกการเฝ้าระวังและสร้างมาตรการชุมชน ในการติดตามเดือนที่ 1 เดือนที่ 3 เดือนที่ 6 ของการเข้าร่วมโครงการบุหรี่

วันที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ในการประชุมติดตามเดือนที่ 1 ที่มีคณะกรรมการทั้ง 20 คน
พบว่าไม่มีการละเมิดมาตราการชุมชน ตามที่คณะดำเนินงานสร้างเสริมเพื่อการไม่สูบบุหรี่ของประชาชนทั้ง 5 ท่าน ได้ลงไปสำรวจติดตามก่อนการประชุม ติดตามการติดตั้งป้ายกา่รห้ามสูบบุหรี่
ตรวจสอบความเรียบร้อยป้ายยังคงอยู่ในสภาพที่ดี
และไม่พบผู้สูบบุปรี่ในสถานที่ห้ามสูบบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมการติดตามกลไกการเฝ้าระวังและสร้างมาตรการชุมชน โดยคณะกรรมการทั้ง 20 คน ในการติดตามกลไกการเฝ้าระวังและสร้างมาตรการชุมชนใน เดือนที่ 1

 

0 0

20. จัดทำกิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการติดตามการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ครั้งที่ 1 ในระยะเวลา 1 เดือน พบว่า มีผู้ที่สามารถเลิกบุหรี่ได้ 5 คน และสามารถลดปริมาณการสูบลง 15 คน

1 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละเลิก
  ในกลุ่ม 20 คนที่สามารถเลิกได้ในระยะเวลา นานกว่า 1 เดือน โดยใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสูบบุหรี่ ออกห่างจากกลุ่มที่สูบบุหรี่ เพื่อให้เลิกบุหรี่ได้อย่างถาวร
2 กิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจ   เชิดชูบุคคลที่สามารถเลิกได้ และแนะนำการเลิกบุหรี่ แรงจูงใจในการเลิก
3 ติดตามประเมินแบบเพื่อนช่วยเพื่อนในการเลิกบุหรี่   ติดตามด้วยกันเองในกลุ่ม 20 คนที่สามารถเลิกได้โดยการให้กำลังใจ
4 กิจกรรมการให้ความรู้แลกเปลี่ยนความรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและช่วยเลิกบุหรี่โดยแกนนำศาสนา
การใช้หลักในการตัรบียะห์ ในการเลิกบหุรี่ในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำกิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ละ เลิกบุหรี่ครั้งที่ 1 ในระยะเวลา 1 เดือน เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจ ในการเข้าร่วมโครงการ บำบัดช่วยเลิกบุหรี่ ให้กับผู้ที่สนใจจะเลิกอย่างจริงจัง ทั้ง 20 คน ณ ห้องประชุมมัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

21. ทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบการรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการบันทึกข้อมูลรายงานความก้าวหน้าของโครงการ ตั้งแต่การเริ่มต้นดำเนินงานโครงการ ตั้งแต่ เดือน มิถุนายน 2566  ถึงเดือนมกราคม 2567

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

นางสาว อาอีเสาะ สาแล๊ะมะ บันทึกข้อมูลรายงานความก้าวหน้าของโครงการ ณ.สำนักงานโรงพยาบาลแม่ลาน

 

0 0

22. จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 1 เดือน (ครั้งที่ 3 )

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 1 เดือน (ครั้งที่ 3 ) พบว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ เลิกบุหรี่ได้ 5 ราย และสามารถลดปริมาณการสูบลง 20 ราย ยังคงสูบบุหรี่ ปริมาณเท่าเดิม 40 ราย
1 การติดตามการดำเนินงาน การลด ละเลิกบุหรี่ ในกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน เข้าถึงกระบวนการช่วยเลิกบุหรี่ทุกคน โดยมีอสม. ติดตามเยี่ยมบ้านและส่งเสริมให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง
2 การติดตามให้กำลังอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 การลด ละ เลิกบุหรี่ รายบุคคล พบว่า ทั้ง 65 คน ในระยะการติดตามครั้งที่ 3 ช่วงเวลา 1 เดือน หลังจากเข้าร่วมโครงการ พบว่าผู้มีสูบบุหรี่ที่สามารถเลิกการสูบบุหรี่ได้ 5-10 คน ยังสูบบุหรี่ ในปริมาณเท่าเดิม 40 คน และสามารถลดปริมาณการสูบลงอีก 20 คน เนื่องจากบางคนยังคงสูบบุหรี่ และบางคนมีพฤติกรรม ลดละ ปริมาณการสูบลง ในเฉพาะวัน โดยมี อสม.ประจำตัวผู้เข้าร่วมโครงการจะลงบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกการให้คำปรึกษาคลินิกเลิกบุหรี่ ตามแนวทางที่ให้ความรู้โทษและพิษภัยของบุหรี่ และทักษะการเลิกบุหรี่
การติดตามการดำเนินงาน การลด ละเลิกบุหรี่ ในกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน เข้าถึงกระบวนการช่วยเลิกบุหรี่ทุกคน โดยมีอสม. ติดตามเยี่ยมบ้านและส่งเสริมให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง
3 การติดตามให้กำลังอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 การลด ละ เลิกบุหรี่ รายบุคคล พบว่า ทั้ง 65 คน ในระยะการติดตามครั้งที่ 3 ช่วงเวลา 1 เดือน หลังจากเข้าร่วมโครงการ พบว่าผู้มีสูบบุหรี่ที่สามารถเลิกการสูบบุหรี่ได้ 5-10 คน ยังสูบบุหรี่ ในปริมาณเท่าเดิม 40 คน และสามารถลดปริมาณการสูบลงอีก 20 คน เนื่องจากบางคนยังคงสูบบุหรี่ และบางคนมีพฤติกรรม ลดละ ปริมาณการสูบลง ในเฉพาะวัน โดยมี อสม.ประจำตัวผู้เข้าร่วมโครงการจะลงบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกการให้คำปรึกษาคลินิกเลิกบุหรี่ ตามแนวทางที่ให้ความรู้โทษและพิษภัยของบุหรี่ และทักษะการเลิกบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่องให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 1 เดือน (ครั้งที่ 3 )

 

0 0

23. อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1 /2566

วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ได้เรียนการทำตามแผนขั้นบันใดผลลัพธ์ต่อไป เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง
2. การบันทึกข้อมูลในโปรแกรม
3. ระเบียบการทำการเงิน เอกสารต่างๆตามระเบียบการเบิกจ่าย ในแต่ละกิจกรรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการอบรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรีรยนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1 /2566
ในวันที่ 25/ก.ย./2566
ณ.ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์คอินทาวน์ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
ในวันที่ 25 กันยายน 2566
เวลา 08.30-09.00 น.    ลงทะเบียน
      09.00 -10.00 น.  พิธีเปิดการอบรม และชี้แจ้งวัตถุประสงค์การจัดอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1 /2566 โดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
                                กล่าวรายงานโดยนางมาริสา เกิยรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข       10.00-10.30 น.  ช่วงที่ 1 ทบทวนการดำเนินงานแผนงานร่วมทุน โดยนางมาริสา เกิยรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร  วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
      10.30-10.40 น.  รับประทานอาหารว่าง
      10.40-12.00 น.  ช่วงที่ 2  ประเมินผลการดำเนินงาน  3 มิติ
                              2.1 แบ่งกลุ่ม  ตามโครงการย่อย  เพื่อประเมินผลการดำเนินงานใน 3 มิติ ได้แก่ 1 กลไลการบริหารแผนงานร่วมทุ่น 2.กลไกพี่เลี้ยง 3.ผลลัพธ์โครงการย่อย
                              2.2 นำเสนอผลการประเมินตนเองของโครงการย่อย(วงใหญ่ 40 นาที) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
      12.00- 13.00 น.  รับประทานอาหารเที่ยง
      13.00- 15.00 น.  ช่วงที่ 3  ประเด็นโครงการย่อยกับผลลัพธ์สุด wow !!                               3.1 แบ่งกลุ่มตามโครงการย่อยเพื่อทบทวนการดำเนินงานในประเด็นดังนี้
                                  -ประเด็นการดำเนินงาน (จำนวน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย)                                   -ผลลัพธ์ (outcome) ในแต่ละประเด็น                                   -ความคืบหน้าโครงการย่อยตามบันใดผลลัพธ์กลาง
                                  -สรุปปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งควรทำ สิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นพร้อมค้นหาความเสี่ยงต่อการล้มเหลวของโครงการย่อย และข้อเสนอแนะ
                          3.2 กิจกรรม World cafe  แลกเปลี่ยนวงใหญ่ โครงละ 5 นาที  โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และที่มวิทยากร
  15.00-15.10 น.    รับประทานอาหาร   15.10-17.20 น.    ช่วงที่ 4 ผู้ร่วมอบรมแลกเปลี่ยนวงใกญ่ และสรุปความเชื่อมโยง (กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน /กลไกพี่เลี้ยง/โครงการย่อย )

 

0 0

24. การประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าและแก้ไขปัญหาการดำเนินงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้มีการติดตามการดำเนินงานและพบปัญหาอุปสรรค์ กรณีการตามผู้ป่วยให้ครบพร้อมกัน ตามจำนวนเป็นไปได้ยาก 1. ผลการดำเนินงาน /ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
มติประชุม ผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินกิจกรรมใกล้จะเสร็จสิ้นโครงการแล้ว เราสามารถดำเนินการไปถึงขั้นบันไดที่ 4 ตามบันไดผลลัพธ์ที่เรากำหนดไว้
      จากการติดตามความก้าวหน้าในการตรวจสอบการประเมินการงดสูบบุหรี่ กลุ่มเฝ้าระวังและติดตามควบคุมการสูบบุหรี่ พบว่า ไม่มีบุคคลที่สูบบุหรี่ในสถานที่ระบุไว้ หากพบก็จะมาตรการตักเตือนก่อนในเบื้องต้น และจะมีมาตรการป้องกันการสูบบุหรี่ อาจจะมีการปรับเพื่อนำเงินเข้ามัสยิด
      การติดตามความก้าวหน้าการสูบบุหรี่ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 ราย พบว่า ในระยะเวลา 1 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 18 ราย ) ในระยะเวลา 3 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 24 ราย ) และในระยะเวลา 6 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 27 ราย ) ทั้งนี้ส่วนใหญ่สามารถลดปริมาณการสูบลงและคงปริมาณการสูบในบางราย
2 ปัญหาอุปสรรค
ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการติดตามผู้ป่วย จะพบว่าจะมาไม่พร้อมกันทุกราย เนื่องจากติดภาระกิจงานที่ไม่สามารถมาได้ทั้งหมดให้ครบทั้ง 65 ราย แต่ทางคณะกรรมการติดตาม ที่มีอสม. เป็นผู้ดูแลหลักจะดูแลติดตามเยี่ยมบ้านทุกราย เพื่อสอบถามการสูบบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การติดตามประเมินความก้าวหน้าและแก้ไขปัญหา อุปสรรค โดยทีมคณะกรรมการชุมชน การดำเนินงาน ครั้งที่ 1 ติดตามโดยคณะกรรมการโครงการทั้ง 20 คน ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

25. จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 3 เดือน (ครั้งที่ 4 )

วันที่ 12 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 3 เดือน  (ครั้งที่ 4 ) พบว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ เลิกบุหรี่ได้ 10 ราย และสามารถลดปริมาณการสูบลง 30 ราย ยังคงสูบบุหรี่ ปริมาณเท่าเดิม 25 ราย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 3 เดือน (ครั้งที่ 4 ) ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์ โดยผู้เข้าร่วมโครงการที่สูบบุหรี่ ทั้ง 65 คน

 

0 0

26. จัดประชุมการติดตามกลไกการเฝ้าระวังและสร้างมาตรการชุมชน ในการติดตามเดือนที่ 3 ของการเข้าร่วมโครงการบุหรี่ ครั้งที่ 2

วันที่ 17 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ในการติดตามเดือนที่ 3 พบว่าไม่มีการละเมิดมาตราการชุมชน ตามที่คณะดำเนินงานสร้างเสริมเพื่อการไม่สูบบุหรี่ของประชาชนทั้ง 5 ท่านได้ลงไปสำรวจติดตามก่อนการประชุม ติดตามการติดตั้งป้ายกา่รห้ามสูบบุหรี่  ตรวจสอบความเรียบร้อยป้ายยังคงอยู่ในสภาพที่ดี และไม่พบผู้สูบบุหรี่ในสถานที่ห้ามสูบบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมการติดตามกลไกการเฝ้าระวังและสร้างมาตรการชุมชน ในการติดตามเดือนที่ 3 ของการเข้าร่วมโครงการบุหรี่ ครั้งที่ 2

 

0 0

27. จัดทำกิจกรรมการช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การลด ละ เลิกบุหรี่ ครั้งที่ 2

วันที่ 17 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ได้มากกว่า 1 เดือน 3 เดือน รวมทั้งหมด 17 ราย  และสามารถลดปริมาณการสูบลง 10 คน จากยอดผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด65 คน .1 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละเลิก
  ในกลุ่ม 20 คนที่สามารถเลิกได้ในระยะเวลา นานกว่า 3 เดือน โดยใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสูบบุหรี่ ออกห่างจากกลุ่มที่สูบบุหรี่ เพื่อให้เลิกบุหรี่ได้อย่างถาวร
2 กิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจเชิดชูบุคคลที่สามารถเลิกได้ และแนะนำการเลิกบุหรี่ แรงจูงใจในการเลิก
3 ติดตามประเมินแบบเพื่อนช่วยเพื่อนในการเลิกบุหรี ติดตามด้วยกันเองในกลุ่ม 20 คนที่สามารถเลิกได้โดยการให้กำลังใจ
4 กิจกรรมการให้ความรู้แลกเปลี่ยนความรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและช่วยเลิกบุหรี่โดยแกนนำศาสนา การใช้หลักในการตัรบียะห์ ในการเลิกบหุรี่ในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ละ เลิกบุหรี่ ครั้งที่ 2 (ในช่วง3 เดือน ) เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เข้าร่วมโครงการในการบำบัดช่วยเลิกบุหรี่ ติดตามอบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเลิกบุหรี่  และจัดกิจกรรมให้ความรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและช่วยเลิกบุหรี่ในศุกร์ ในกลุ่มสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 20 คน ณ.มัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

28. จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 6 เดือน (ครั้งที่ 5 )

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การติดตามการดำเนินงาน การลด ละเลิกบุหรี่ ในกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 คน  เข้าถึงกระบวนการช่วยเลิกบุหรี่ทุกคน โดยมีอสม. ติดตามเยี่ยมบ้านและส่งเสริมให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง
จากการติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 6 เดือน  (ครั้งที่ 5 ) พบว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการสามารถ เลิกบุหรี่ได้ 25 ราย และสามารถลดปริมาณการสูบลง 30 ราย ยังคงสูบบุหรี่ ปริมาณเท่าเดิม 10 ราย  ในแต่ละครั้งของติดตาม จะมี อสม.ประจำตัวสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการจะลงบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกการให้คำปรึกษาคลินิกเลิกบุหรี่ ตามแนวทางที่ให้ความรู้ แนวทางการลด ละเลิก การสูบบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมติดตามการและให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลด ละเลิกบุหรี่ได้ ในระยะ 6 เดือน (ครั้งที่ 5)

 

0 0

29. การประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าและแก้ไขปัญหาการดำเนินงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 12 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินกิจกรรมใกล้จะเสร็จสิ้นโครงการแล้ว เราสามารถดำเนินการไปถึงขั้นบันไดที่ 4 ตามบันไดผลลัพธ์ที่เรากำหนดไว้
      จากการติดตามความก้าวหน้าในการตรวจสอบการประเมินการงดสูบบุหรี่ กลุ่มเฝ้าระวังและติดตามควบคุมการสูบบุหรี่ พบว่า ไม่มีบุคคลที่สูบบุหรี่ในสถานที่ระบุไว้ หากพบก็จะมาตรการตักเตือนก่อนในเบื้องต้น และจะมีมาตรการป้องกันการสูบบุหรี่ อาจจะมีการปรับเพื่อนำเงินเข้ามัสยิด
      การติดตามความก้าวหน้าการสูบบุหรี่ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 ราย พบว่า ในระยะเวลา 1 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 18 ราย ) ในระยะเวลา 3 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 24 ราย ) และในระยะเวลา 6 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 27 ราย ) ทั้งนี้ส่วนใหญ่สามารถลดปริมาณการสูบลงและคงปริมาณการสูบในบางราย
---ปัญหาอุปสรรค
ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการติดตามผู้ป่วย จะพบว่าจะมาไม่พร้อมกันทุกราย เนื่องจากติดภาระกิจงานที่ไม่สามารถมาได้ทั้งหมดให้ครบทั้ง 65 ราย แต่ทางคณะกรรมการติดตาม ที่มีอสม. เป็นผู้ดูแลหลักจะดูแลติดตามเยี่ยมบ้านทุกราย เพื่อสอบถามการสูบบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การติดตามประเมินความก้าวหน้าและแก้ไขปัญหา อุปสรรค โดยทีมคณะกรรมการชุมชน การดำเนินงาน ครั้งที่ 2 ณ.ห้องประชุมมัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

30. การประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา พบว่าดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้น โครงการแล้ว เราสามารถดำเนินการไปถึงขั้นบันใดที่ 4 ตามบันใดผลลัพธ์ ที่เรากำหนดไว้ -จากการติดตามความก้าวหน้าในการตรวจสอบการประเมินการงดสูบบุหรี่ กลุ่มเฝ้าระวังและติดตามควบคุมการสูบบุหรี่ พบว่า ไม่มีบุคคลที่สูบบุหรี่ในสถานที่ระบุไว้ หากพบ ก็จะมีมาตรการตักเตือนก่อนในเบื้องต้น และอาจจะมีมาตรการป้องกันการสูบบุหรี่ อาจมีการปรับเพื่อนำเงินเข้ามัสยิด
-การรติดตามการสูบบุหรี่ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้ง 65 ราย พบว่า ในระยะเวลา 1 เดือน (มีคนที่สามารถลด ละ เลิกได้ 18 ราย) ในระยะเวลา 3 เดือน (มีคนที่สามารถลด ละ เลิกได้ 18 ราย) ในช่วงระยะเวลา 6 เดือน (มีคนที่สามารถเลิกได้ 5 ราย ลด ละ ได้ 22 ราย )ทั้งนี้ส่วนใหญ่สสามารถลดปริมาณการสูบลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ ปัญหาอุปสรรค รายงานผลการดำเนินงานโครงการตามบันใดผลลัพธ์ โดยมีคณะกรรมการโครงการทั้ง 20 คน ณ.ห้องประชุมมัสยิดดารุลเราะมะห์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 37 30                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 87,644.00                  
คุณภาพกิจกรรม 120                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางสาวการีมะห์ สะดี
ผู้รับผิดชอบโครงการ