directions_run

โครงการการบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์ตาดีกา บ้านแบรอแว หมู่3 ต.ตะลุโบะ

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 คณะทำงานมีความรู้ และเกิดทักษะในการจัดทำแผนการทำงาน/แผนการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะทำงาน จำนวน 20 คน ที่ประกอบด้วยผู้บริหาร/แกนนำครูผู้สอน/ แกนนำนักเรียน/คนปรุงอาหาร/แกนนำผู้ปกครอง/แกนนำชุมชน/อปท. 1.2 เกิดแผนการดำเนินงานของคณะทำงานในการดำเนินงานโครงการ 1.3 คณะทำงาน จำนวน 20 คนตระหนักและเข้าใจเกี่ยวกับแผนการทำงาน/แผนการบริหารจัดการ/แผนการติดตามโครงการ มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานการบริโภคผักผลไม้ การออกกำลังกาย และภาวะโภชนาการของนักเรียนแยกตามระดับชั้นและสรุปผลรวมทั้งโรงเรียนทุกภาคเรียนก่อน-หลังโครงการ

 

 

 

2 เกิดแผนและมีการขับเคลื่อนตามแผนที่กำหนดไว้
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดนโยบายในการส่งเสริมด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนอย่างมีส่วนร่วม 2.2 แกนนำนักเรียน/นักเรียน จำนวน 9 คน ได้จัดทำโครงงานเพื่อเรียนรู้และขับเคลื่อนโครงการ เพื่อส่งเสริมการบริโภคผัก ผลไม้ และภาวะโภชนาการของนักเรียน อย่างน้อย 1 โครงงาน 2.3 มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับการส่งเสริมการบริโภคผัก ผลไม้ และการป้องกัน แก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียนในโรงเรียน 2.4 นักเรียน จำนวน 25 คน (คิดเป็นร้อยละ32.46 ของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ) มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลางถึงหนัก สะสมอย่างน้อย 60 นาที/วัน เพิ่มขึ้น 2.5 มีการขับเคลื่อนกิจกรรมกับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง คนปรุงอาหาร (แม่ครัว ผู้ปกครอง) ทำอาหารกลางวันได้ตามรายการที่ถูกกำหนดไว้

 

 

 

3 คณะทำงานสามารถติดตามกลไกและนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 คณะทำงานสามารถติดตามกลไกที่ออกแบบไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 มีรายงานข้อมูลพฤติกรรมนักเรียนรายคน ดังนี้ - ปริมาณผัก ผลไม้ที่ใช้แปรรูปและบริโภคในมื้อกลางวันเพิ่มขึ้น - ปริมาณผัก ผลไม้คงเหลือลดลง - การประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการทุกเดือน

 

 

 

4 นักเรียนบริโภคผักและผลไม้ในมื้อกลางวันเพิ่มขึ้น และนักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 4.1 นักเรียน จำนวน 89 คน (คิดเป็นร้อยละ 80 ของนักเรียนทั้งศูนย์) บริโภคผัก ผลไม้ในมื้อกลางวันเพิ่มขึ้น 4.2 นักเรียน จำนวน 56 คน (คิดเป็นร้อยละ 50 ของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ) มีภาวะโภชนาการดีขึ้น