directions_run

โครงการการบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์ตาดีกา บ้านแบรอแว หมู่3 ต.ตะลุโบะ

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กลุ่มสนับสนุนการบริหารจัดการ 6 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรม ประชุมแต่งตั้งและวางแผนงาน 11 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

ถอนเงินเปิดบัญชี 23 มิ.ย. 2566 23 มิ.ย. 2566

 

เบิกเงินจ่ายเงินคืนค่าเปิดบัญชี

 

จ่ายเงินค่าเปิดบัญชี

 

กิจกรรมใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ 24 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมปลูกสุขภาพด้วยมือเรา 30 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมเสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯชุดอาหารผักแฟนซี(ในวันเสาร์/อาทิตย์) 30 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมสีเขียวช่วยโลก 28 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ 31 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567

 

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

 

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

 

ถอนเงินเปิดบัญชี 31 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567

 

ถอนเงินเปิดบัญชี

 

ถอนเงินเปิดบัญชี

 

กิจกรรมสร้างสุขภาพ สร้างเราและการต่อยอด 18 ก.พ. 2567

 

 

 

 

 

เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯชุดอาหารแฟนซี/ติดตาม ครั้งที่ 1 6 พ.ค. 2566 6 พ.ค. 2566

 

เป็นการจัดกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี โดยมีวัตถุประสงค์  เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา เดือนละ 1 ครั้ง ในวันที่กำหนด และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงระหว่าง บุคคลและสถานที่จัดโครงการร่วมกัน จำนวน 7-8 ครั้ง ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว มีกลุ่มเป้าหมาย 112 คน

 

1.สามารถทำข้อตกลง ระหว่าง ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการได้เพื่อการดูและเด็กนักเรียนเรื่องการกินผักผลไม้ในมื้ออาหารได้อย่างเหมาะสม
2.มีแกนนำเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) จำนวน 20 คน 3.กำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัคร

 

ประชุมคณะทำงาน ติดตามแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที่ 1 8 พ.ค. 2566 17 มิ.ย. 2566

 

ทำกิจกรรมติดตามและประเมินแกนนำ/คณะทำงาน
จำนวน  7 ครั้ง จัดขึ้นในวันที่  มิถุนายน 25ุุ66  โดยชี้แจงรายละเอียด คณะทำงาน เด็กและเยาวชน ลงสำรวจเลือกตัวแทนแกนนำเด็กตาดีกาและตัวแทนยุวเกษตร จำนวน 20 คน โดยการแบ่งเด็กเป็นกลุ่ม และมีพี่เลี้ยงคอยควบคุมดูแล และให้คำปรึกษาแก่เด็กและให้แกนนำฝึกการเพาะพันธุ์ผักชนิดต่างๆ ร่วมถึงการแบ่งหน้าที่การดูแลเพื่อเป็นกิจกรรมที่ทำไปในแต่ลจำนวนทั้งสิ้น 7 ครั้ง เพื่อต่อยอดกิจกรรมปลูกผักเพื่อสุขภาพเพื่อนำผักที่เพาะหรือปลูกมาทำอาหารเสริมเป็นอาหารกลางวันแก่เด็กตาดีกาบ้านแบรอแว

 

1.มีผู้เข้าร่วมเป็นจิตอาสาแกนนำเด็กตาดีกาและยุวเกษตรจำนวน 20 คน 2. เด็กแกนนำ 80% เข้าใจถึงกิจกรรม รายชื่อเด็กตาดีกาและยุวเกษตรที่เป็นแกนนำจิอาสาในการปลูกผักเพื่อสุขภาพ 1 นายรอมซี  ยามิน ครูผู้สอน/ยุวเกษตร 2 นายอัสรี  มะยี ครูผู้สอน/ยุวเกษตร 3 นายนัชมี  มามะ ยุวเกษตร 4 นายซอดิ้ก  ดาโอ๊ะ ยุวเกษตร 5 เด็กหญิงอานีตา  ดาโอะ แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 6 เด็กหญิงอาฟีฟะห์  สาและ แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 7 เด็กหญิงฮุสนี  วาเต๊ะ แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 8 เด็กหญิงรุสนีตา  ดาราแม แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 9 เด็กหญิงซีตีอามีเนาะ หมัดหมะ แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 10 เด็กหญิงซาโนรา  รอดเสน แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 11 เด็กชายมูฮัมหมัดอารีฟ อีแต แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 12 เด็กชายมุสตอฟา  ใจสอนนา แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 13 เด็กชายอิสกันดาร์ บูเกเจ๊ะลี แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 14 เด็กชายอิรฟาน  มามะ แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 15 เด็กชายซอและห์  กะลูแป แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 16 เด็กชายมูฮำหมัดฮัมซี  ยะโก๊ะ แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 17 เด็กชายแวซุฟยาน  แวหลง แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 18 เด็กชายอัรฟาน  บูเก๊ะเจะลี แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 19 เด็กชายฟุรกอน  ดาหะซิง แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว 20 เด็กชายเนาฟัล  แวอาลี แกนนำนักเรียนตาดีกาแบรอแว

 

ค่าป้ายโครงการ 28 พ.ค. 2566 16 มิ.ย. 2566

 

1.ออกแบบจัดทำป้ายโครงการ   1.1 ป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2 ม.* 3 ม.   1.2 ป้ายลดปลอดบุรี่และสติเกอร์

 

1.ป้ายไวนิลขนาด 1.2 ม.* 3 ม. 1 แผ่น 2. ป้ายรงณรงค์ลดบุหรี่และสติกเกอร์  10 แผ่น

 

ประชุมแต่งตั้งคณะทำงานและวางแผนงานชี้แจงโครงการ 28 พ.ค. 2566 25 พ.ค. 2566

 

บันทึกการประชุม ครั้งที่
ในโครงการ การบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแวปี 2566 วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)ดารุลนาอีมแบรอแว ม.3 ต.ตะลุโบะ อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี ผู้มาประชุม
1 นายยูโซะ  วาเต๊ะ ประธานศูนย์ฯแบรอแว 2 นายอับดุลนิเลาะ  อับดุลกาเดร์ สมาชิก อบต.ตะลุโบะ 3 นายอับดุลรอฮะ  แวมามะ สมาชิก อบต.ตะลุโบะ 4 นายมูฮัมมัดซอเร  มะยี เลขานายก อบต.ตะลุโบะ 5 นายอับดุลเลาะ    มะดีเยาะ กรรมการมัสยิด/ตาดีกา 6 นายรอมือลี  มีเด็ง ปรส./ผู้ปกครอง 7 นายมูสพี  ตาเฮร์ ครูผู้สอน/ยุวเกษตร 8 นายรอมซี  ยามิน ครูผู้สอน/ยุวเกษตร 9 นายวัลอัสรี  จาหลง ครูผู้สอน/ยุวเกษตร 10 นายอัสรี  มะยี ครูผู้สอน/ยุวเกษตร 11 นายลุตฟี  ยะโก๊ะ สารวัตรกำนัน/ผู้ปกครอง 12 นายแอมรอน  บาเห็ง กรรมการศูนย์และมัสยิด 13 นายอิบรอเฮม    เลาะลีเยาะ ปรส./กรรมตาดีกา 14 นายอิบรอเฮม  โต๊ะเด็ง กรรมมัสยิด 15 นายมฮำหมัดฮัมดี  หะยีสาแม ยุวเกษตร 16 นายฮารน  ตาเฮร์  ปรส./ผู้ปกครอง 17 นายซับรี  สิเดะ ยุวเกษตร 18 นายยูโซะ  ดาเล็ง ผู้ปกครอง 19 นายบาฮารูดิง    แวดือราแม ปรส. 20 นายแวอิสมาแอ  โต๊ะเด็ง ยุวเกษตร 21 นายบาฮารน    แวดือราแม ยุวเกษตร. 22 นายแวอับดุลเลาะ  โต๊ะเด็ง ยุวเกษตร 23 นายอับดุลเลาะ    หะยียามา ยุวเกษตร 24 นายต่วนฮาฟิส    ต่วนเด็ง ยุวเกษตร 25 นายอัสรี      ดาเล็ง ยุวเกษตร 26 นายอันวาร์  อาแว ผู้ปกครอง/ที่ปรึกษายุว 27 นายเจะเดร์  เจะอูเซ็ง ผู้ปกครอง/ที่ปรึกษายุว
ผู้ไม่มาประชุม  (ไม่มี)
เริ่มประชุมเวลา  20.30  น. วาระที่  1  เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1  ข่าวประชาสัมพันธ์ ปี 2566 นายยูโซะ  วาเต๊ะ ประธานคณะทำงานฯ ได้ให้ผู้เกี่ยวจัดทำ/ส่งตารางปฏิบัติการขับเคลื่อนงานของศูนย์ฯ ปี เกี่ยวการส่งประกวดศูนย์ยุวเกษตรในระดับเขต ในนามตัวแทน จังหวัดปัตตานี ในปี 2566 และทัศนศึกษาประวัติศาสตร์ เมืองสายบุรีและประวัติศาสตร์ด้านความรู้ทางศาสนาและวิทยาสตร์ การเมืองการปกครองของอุลามะฮปัตตานีในยุคก่อน
วาระที่  2  รับรองรายงานการประชุมฯ  ครั้งที่  1  เมื่อวันที่  27 ธันวาคม 65 เสนอรายชื่อแต่งตั้งคณะกรรมการในโครงการ การบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว ประจำปี 2566  ที่เสนอ และแต่งตั้งใน โครงการ การบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแวประจำปี 2566  ได้แก่
ที่ ชื่อ-นามสกุล สังกัด ตำแหน่ง 1 นายยูโซะ  วาเต๊ะ ประธานศูนย์ฯแบรอแว ประธานโครงการ 2 น.ส.อาซีซะห์  หะยีนาแว ครูผู้สอน กรรมการ 3 น.ส.ปรีดะห์    มีเด็ง ครูผู้สอน กรรมการ 4 น.ส.ฟาตีฮะห์  มะดีเยาะ ครูผู้สอน กรรมการ 5 น.ส.รอปีอะห์    มีเด็ง ครูผู้สอน กรรมการ 6 นายแวมูฮำหมัด แวดือราแม ครูผู้สอน กรรมการ 7 น.ส.ไซนับ    แวดราแม ครูผู้สอน กรรมการ 8 น.ส.ฮานีซา    ยะโก๊ะ ครูผู้สอน กรรมการ 9 นายวัลอัสรี  จาหลง ครูผู้สอน เหรัญญิก 10 นายมูสพี  ตาเฮร์ ครูผู้สอน กิจกรรม 11 นายรอมซี  ยามิน ครูผู้สอน/ยุวเกษตร ประสานงาน 12 นายอัสรี  มะยี ครูผู้สอน/ยุวเกษตร การเงินและบัญชี 13 นายลุตฟี  ยะโก๊ะ สารวัตรกำนัน/ผู้ปกครอง กรรมการ 14 นางนฤมล  เบ็ญอิสมาแอล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 15 น.ส.สุดา  บาโง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 16 นายแอมรอน  บาเห็ง กรรมการศูนย์และมัสยิด ที่ปรึกษา 17 น.ส.กัสมา  อับดุลกาเดร์ สมาชิก อสม. ต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 18 นายอับดุลนิเลาะ  อับดุลกาเดร์ สมาชิก อบต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 19 นายต่วนฮาฟิส  ต่วนเด็ง ยุวเกษตร ผู้ช่วยประสานงาน 20 นายมูฮัมมัดซอเร  มะยี เลขานายก อบต.ตะลุโบะ เลขานุการ

-ทุกท่านที่เข้าประชมเห็นด้วยทุกท่าน และไม่มีผู้ใดทักทวน เสนอเพิ่มเติม  นายซับรี  สิเดะ ขอความการดูแลในชุมชน ให้เราช่วยกันเด็กที่ไม่เข้าหรือขาดเรียนและร่วมทั้งจัดกิจกรรมการทัศนศึกษาด้านประวัติศาสตร์ในสถานที่อื่นเพิ่มเติมและให้มี อย่างน้อย ปีละ 1-2 ครั้ง วาระที่  3  เรื่องสืบเนื่อง   ติดตามแผนการจัดการประเมินตาดีกา
ประธานฯ ชี้แจง  ขอติดตามการจัดหรือเตรียมการด้านเอกสารและกิจกรรมตาดีกา  เป็นอย่างไร เห็นควรอนุมัติงบเพิ่มเติมหรือไม่เพื่อให้ตาดีกามีความพร้อมในการประเมิน จาก สช. ในระดับต่อไป นายวัลอัสรี จาหลง ตัวแทนผู้บริหารศูนย์ ชี้แจ้งว่า ศูนย์ตาดีกาขออนุมัติงบเติมถ้างบจากการบริหารศูนย์ ไม่พอจ่าย เพื่อการจัดเตรียมความพร้อมเพื่อรอการประเมินจาก สช. ที่ประชุมเห็นชอบ และให้เสนอขออนุติจัดทำต่อไป วาระที่  4  เรื่องอื่น ๆ
  - ไม่มี -
เลิกประชุม  เวลา  21.30  น.
                                ..................................................
(นายมูฮัมมัดซอเร  มะยี)       บันทึกการประชุมฯ

 

  1. เกิดการแต่งตั้งคณะทำงานโครงการ จำนวน 20 คน และแบ่งหน้าที่กันอย่งชัดเจนตามความเหมาะสม
    2.  รายชื่อแต่งตั้งคณะกรรมการในโครงการ ประจำปี 2566 ในโครงการ การบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)ดารุลนาอีมแบรอแว ม.3 ต.ตะลุโบะ อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี ที่ ชื่อ-นามสกุล สังกัด ตำแหน่ง โทร 1 นายยูโซะ  วาเต๊ะ ประธานศูนย์ฯแบรอแว ประธานโครงการ 081-6088047 2 น.ส.อาซีซะห์  หะยีนาแว ครูผู้สอน กรรมการ - 3 น.ส.ปรีดะห์    มีเด็ง ครูผู้สอน กรรมการ 098-7710396 4 น.ส.ฟาตีฮะห์  มะดีเยาะ ครูผู้สอน กรรมการ 094-5812618 5 น.ส.รอปีอะห์    มีเด็ง ครูผู้สอน กรรมการ - 6 นายแวมูฮำหมัด แวดือราแม ครูผู้สอน กรรมการ 088-3922800 7 น.ส.ไซนับ    แวดราแม ครูผู้สอน กรรมการ 082-8271803 8 น.ส.ฮานีซา    ยะโก๊ะ ครูผู้สอน กรรมการ 086-9605034 9 นายวัลอัสรี  จาหลง ครูผู้สอน เหรัญญิก 097-0416160 10 นายมูสพี  ตาเฮร์ ครูผู้สอน กิจกรรม 091-7404372 11 นายรอมซี  ยามิน ครูผู้สอน/ยุวเกษตร ประสานงาน 098-8628149 12 นายอัสรี  มะยี ครูผู้สอน/ยุวเกษตร การเงินและบัญชี 064-2641905 13 นายลุตฟี  ยะโก๊ะ สารวัตรกำนัน/ผู้ปกครอง กรรมการ 081-5437354 14 นางนฤมล  เบ็ญอิสมาแอล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 081-8976273 15 น.ส.สุดา  บาโง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 087-9697161 16 นายแอมรอน  บาเห็ง กรรมการศูนย์และมัสยิด ที่ปรึกษา 084-7498480 17 น.ส.กัสมา  อับดุลกาเดร์ สมาชิก อสม. ต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 081-5437354 18 นายอับดุลนิเลาะ  อับดุลกาเดร์ สมาชิก อบต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 061-1165569 19 นายต่วนฮาฟิส  ต่วนเด็ง ยุวเกษตร ผู้ช่วยประสานงาน - 20 นายมูฮัมมัดซอเร  มะยี ครูผู้สอน เลขานุการ/ผู้จัดการ ค. 088-3919078


    ลงชื่อ.................................  ประธานศูนย์ฯ(ตาดีกา)ดารุลนาอีมแบรอแว                               (นายยูโซะ    วาเต๊ะ)

 

ประชุมวางแผนงานติดตามในการดำเนินงาน/คณะทำงาน 28 พ.ค. 2566 21 มิ.ย. 2566

 

บันทึกการประชุม ครั้งที่ 2
วันพุธที่ 21 มิถุนายน 2566 ณ ห้องประชุม ชั้น 2 โรงพยาบาลประจำตำบลตะลุโบะ ม.9 ต.ตะลุโบะ อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี ผู้มาประชุม
1 นายมูฮัมมัดซอเร มะยี ครูผู้สอน เลขานุการ/ผู้จัดการ 088-3919078 2 น.ส.อาซีซะห์  หะยีนาแว ครูผู้สอน กรรมการ - 3 น.ส.ปรีดะห์  มีเด็ง ครูผู้สอน กรรมการ 098-7710396 4 น.ส.ฟาตีฮะห์  มะดีเยาะ ครูผู้สอน กรรมการ 094-5812618 5 น.ส.รอปีอะห์  มีเด็ง ครูผู้สอน กรรมการ - 6 นายแวมูฮำหมัด แวดือราแม ครูผู้สอน กรรมการ 088-3922800 7 น.ส.ไซนับ  แวดราแม ครูผู้สอน กรรมการ 082-8271803 8 น.ส.ฮานีซา  ยะโก๊ะ ครูผู้สอน กรรมการ 086-9605034 9 นายวัลอัสรี จาหลง ครูผู้สอน เหรัญญิก 097-0416160 10 นายมูสพี ตาเฮร์ ครูผู้สอน กิจกรรม 091-7404372 11 นายรอมซี  ยามิน ครูผู้สอน/ยุวเกษตร ประสานงาน 098-8628149 12 นายอัสรี มะยี ครูผู้สอน/ยุวเกษตร การเงินและบัญชี 064-2641905 13 นายลุตฟี  ยะโก๊ะ สารวัตรกำนัน/ผู้ปกครอง กรรมการ 081-5437354 14 นางนฤมล เบ็ญอิสมาแอล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 081-8976273 15 น.ส.สุดา บาโง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 087-9697161 16 น.ส.กัสมา อับดุลกาเดร์ สมาชิก อสม. ต.ตะลุโบะ ที่ปรึกษา 081-5437354 17 นายต่วนฮาฟิส ต่วนเด็ง ยุวเกษตร ผู้ช่วยประสานงาน .
ผู้ไม่มาประชุม 3 คน
ผู้เข้าร่วม 1.น.ส. 2.น.ส. 3.น.ส.

เริ่มประชุมเวลา 10.00 น. วาระที่ 1  เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ ปี 2566 นายมูฮัมมัดซอเร มะยี ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ให้ผู้เกี่ยวจัดทำ/ส่งตารางปฏิบัติการขับเคลื่อนงานของศูนย์ฯ ปี...... วาระที่ 2 การแบ่งหน้าที่งาน.... เสนอเพิ่มเติม นายซับรี สิเดะ ขอความการดูแลในชุมชน ให้เราช่วยกันเด็กที่ไม่เข้าหรือขาดเรียนและร่วมทั้งจัดกิจกรรมการทัศนศึกษาด้านประวัติศาสตร์ในสถานที่อื่นเพิ่มเติมและให้มี อย่างน้อย ปีละ 1-2 ครั้ง ทาง รพ.สต.ได้เสนอ     - เสนอให้มีการ รพสต.ตำบลตะลุโบะเจาะเลือด ๒ ครั้ง ก่อน และปลายโครงการ     - เสนอให้มีการทำงานร่วมกับเด็กนักศึกษาฝึกงานจาก รพสต.เพื่อการดูแลงานต่อยอดของกิจกรรม     - พยายาม โน้มน้าวทุกครั้งเพื่อให้เด็กกินอาหารเช้าและอาหารกลางวันจากบ้านและศูนย์     - พยามเน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างแรงพลันดันความสนใจต่อเด็กและผู้ปกครอง วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง ติดตามแผนการจัดการประเมินตาดีกา
ประธานฯ ชี้แจง ขอติดตามการจัดหรือเตรียมการด้านเอกสารและกิจกรรมตาดีกา เป็นอย่างไร เห็นควรอนุมัติงบเพิ่มเติมหรือไม่เพื่อให้ตาดีกามีความพร้อมในการประเมิน จาก สช. ในระดับต่อไป นายวัลอัสรี จาหลง ตัวแทนผู้บริหารศูนย์ ชี้แจ้งว่า ศูนย์ตาดีกาขออนุมัติงบเติมถ้างบจากการบริหารศูนย์ ไม่พอจ่าย เพื่อการจัดเตรียมความพร้อมเพื่อรอการประเมินจาก สช. ที่ประชุมเห็นชอบ และให้เสนอขออนุติจัดทำต่อไป วาระที่ 4  เรื่องอื่น ๆ
  - ไม่มี -
เลิกประชุม เวลา 12.30 น.
                ..................................................
(นายอัสรี  มะยี)

 

1.มีผู้เข้าร่วมประชุมติดตามจำนวน  21 คน 2.สามารถรับข้อมูลรวมกันและแบ่งหน้าที่ชัดเจนในการรับผิดชอบงาน 3.สามารถร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันได้     - เสนอให้มีการ รพสต.ตำบลตะลุโบะเจาะเลือด ๒ ครั้ง ก่อน และปลายโครงการ     - เสนอให้มีการทำงานร่วมกับเด็กนักศึกษาฝึกงานจาก รพสต.เพื่อการดูแลงานต่อยอดของกิจกรรม     - พยายาม โน้มน้าวทุกครั้งเพื่อให้เด็กกินอาหารเช้าและอาหารกลางวันจากบ้านและศูนย์     - พยามเน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างแรงพลันดันความสนใจต่อเด็กและผู้ปกครอง

 

ติดตามกิจกรรมคณะทำงาน/ชุดอาหารแฟนซี ครั้งที่ 2 28 พ.ค. 2566 27 ส.ค. 2566

 

เป็นกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา เดือนละ 1 ครั้ง และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงตามเวลาที่กำหนด ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย เด็กตาดีกา 112 คนร่วมกับอาสาสมัครจิตอาสา  20  คน

 

1.เกิดกิจกรรมการทำอาหารรวมกันระหว่างเด็ก ตามข้อตกลง 2.เป็นอาหารที่เด็กอยากรับประทานกันตามแนวคิดเด็กเอง
3.มีแกนนำเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา)และผู้ปกครองมาทำอาหารร่วมกัน 4.กำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัครกำหนดตามสัดส่วนผลลิตจากศูนย์ยุวเกษตร

 

ประชุมคณะทำงาน ติดตามแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที่ 2 31 พ.ค. 2566 30 ก.ค. 2566

 

ชี้แจงการเตรียมพร้อมจัดกิจกรรม ส่งเสริมการบริโภคแก่เด็กตาดีกา ในชุดอาหารแฟนซี เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผัก โดยการชี้แจงรายละเอียด คณะทำงาน เด็กและเยาวชน สำรวจการทำกิจกรรรมแกนนำเด็กตาดีกาและตัวแทนยุวเกษตร จำนวน 20 คน ที่เด็กและแกนนำฝึกการเพาะพันธุ์ผักชนิดต่างๆ ร่วมถึงการแบ่งหน้าที่การดูแลเพื่อเป็นกิจกรรมที่ ต่อยยอดกิจกรรมปลูกผักเพื่อสุขภาพเพื่อนำผักที่เพาะหรือปลูกมาทำอาหารเสริมเป็นอาหารกลางวันแก่เด็กตาดีกาบ้านแบรอแว

 

1.มีผู้เข้าร่วมเป็นจิตอาสาแกนนำเด็กตาดีกาและยุวเกษตรจำนวน 20 คน 2. เด็กแกนนำ 80% เข้าใจถึงกิจกรรม 3.การคิดออกแบบชุดอาหารแฟนซี เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผัก ตามข้อตกลงที่ประกาศไว้ วันที่ 24 มิถุนายน 2566 4.ปลูกผักร่วมกับอาสาสมัครจากยุวเกษตร ณ แปลงทดลองตาดีกา และแปลงผักยุวเกษตร 2.เด็กมีความกระตือรือร้นในการคิดแบบเพื่อสร้างชุดอาหารชุดผักและผลไม้ที่ทุกคนอยากกินร่วมกับครูและผู้ปกครอง เช่น 2.1 สลัดโร 2.2 สลัดลไม้ 2.3 ข้าวยำสมุนไพร่ 2.4 แสนวิสผัก 2.5 แสนวิสผลไม้ 2.6 ราดหน้าผักหวาน 2.7 ซูชิผักผลไม้ผสม 3. ทางแกนนำยุวเสนอเมนูสามารถเปลี่ยนตามความเหมาะว่ามีผักที่สามารถทำอาหารเสริมกับข้าวกลางวันเด็กตาดีกาได้ 4. ผู้ปกครองมารับผักที่สามารถทำเมนูอาหารกับเด็กตาดีกาและครอบครัวได้เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมมากที่สุด

 

ติดตามกิจกรรมคณะทำงาน/ชุดอาหารแฟนซี ครั้งที่ 3 4 มิ.ย. 2566 23 ก.ย. 2566

 

เป็นกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงตามเวลาที่กำหนด ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย เด็กตาดีกา 112 คนร่วมกับอาสาสมัครจิตอาสา  20  คน

 

1.เกิดกิจกรรมการทำอาหารรวมกันระหว่างเด็ก ตามข้อตกลง นำเสนอคือ สลัดโร สลัดผลไม้ร่วม 2.เป็นอาหารที่เด็กอยากรับประทานกันตามแนวคิดเด็กเอง
3.มีแกนนำเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา)และผู้ปกครองมาทำอาหารร่วมกัน 4.กำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัครกำหนดตามสัดส่วนผลลิตจากศูนย์ยุวเกษตร 5.มีผู้ปกครองเด็ก จำนวน 4 ท่านแจ้งว่าลูกเด็กนักเรียนเริ่มสนใจการกินผักผลไม้มากขึ้นจริง

 

กิจกรรมอบรมปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 6 มิ.ย. 2566 6 มิ.ย. 2566

 

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน 2566
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่  6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี วันที่  7  มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี

หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม             : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

 

1.สามารถเรียนรู้ เข้าใจเกี่ยวกับจัดการข้อมูลโครงการของ สสส. 2.สามารถมีความรู้การทำรายงานคนสร้างสุขและระบบการจัดทำรายงานการเงิน 3.สามารถแบ่งงานดูแลได้ดีเพิ่มมากขึ้น

 

ประชุมคณะทำงาน ติดตามแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที่ 3 7 มิ.ย. 2566 19 ส.ค. 2566

 

ตัวแทนติดตามจากอาสาสมัครเด็ก สามารถช่วยทำชุดอาหาร เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง
คณะทำงาน เด็กและเยาวชน สำรวจเลือกตัวแทนแกนนำเด็กตาดีกาและตัวแทนยุวเกษตร จำนวน 20 คน โดยให้แกนนำมารับผักฝึกการเพาะพันธุ์
ร่วมถึงการแจกผักจากแปลงผักที่ปลูกแจกใหให้เด็กและผูปกครองกลับทำอาหารที่บ้าน และให้ตาดีกานำไปทำอาหารกลางวัน เพื่อต่อยอดกิจกรรมแก่เด็กตาดีกาบ้านแบรอแว บันทึกการประชุม ครั้งที่
เริ่มประชุมเวลา 10.00 น. วาระที่ 1  เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 1.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ ปี 2566 นายมูฮัมมัดซอเร มะยี ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ให้ผู้เกี่ยวจัดทำ/ส่งตารางปฏิบัติการขับเคลื่อนงานของศูนย์ฯ ปี...... วาระที่ 2 การแบ่งหน้าที่งาน.... เสนอเพิ่มเติม นายซับรี สิเดะ ขอความการดูแลในชุมชน ให้เราช่วยกันเด็กที่ไม่เข้าหรือขาดเรียนและร่วมทั้งจัดกิจกรรมการทัศนศึกษาด้านประวัติศาสตร์ในสถานที่อื่นเพิ่มเติมและให้มี อย่างน้อย ปีละ 1-2 ครั้ง ทาง รพ.สต.ได้เสนอ     - เสนอให้มีการ รพสต.ตำบลตะลุโบะเจาะเลือด ๒ ครั้ง ก่อน และปลายโครงการ     - เสนอให้มีการทำงานร่วมกับเด็กนักศึกษาฝึกงานจาก รพสต.เพื่อการดูแลงานต่อยอดของกิจกรรม     - พยายาม โน้มน้าวทุกครั้งเพื่อให้เด็กกินอาหารเช้าและอาหารกลางวันจากบ้านและศูนย์     - พยามเน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างแรงพลันดันความสนใจต่อเด็กและผู้ปกครอง วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง ติดตามแผนการจัดการประเมินตาดีกา
ประธานฯ ชี้แจง ขอติดตามการจัดหรือเตรียมการด้านเอกสารและกิจกรรมตาดีกา เป็นอย่างไร เห็นควรอนุมัติงบเพิ่มเติมหรือไม่เพื่อให้ตาดีกามีความพร้อมในการประเมิน จาก สช. ในระดับต่อไป นายวัลอัสรี จาหลง ตัวแทนผู้บริหารศูนย์ ชี้แจ้งว่า ศูนย์ตาดีกาขออนุมัติงบเติมถ้างบจากการบริหารศูนย์ ไม่พอจ่าย เพื่อการจัดเตรียมความพร้อมเพื่อรอการประเมินจาก สช. ที่ประชุมเห็นชอบ และให้เสนอขออนุติจัดทำต่อไป วาระที่ 4  เรื่องอื่น ๆ
  - ไม่มี -
เลิกประชุม เวลา 12.30 น.
                ..................................................
(นายอัสรี  มะยี)

 

  1. เด็กแกนนำ 20 คน และตัวแทนคณะทำงาน มาร่วมจัดกิจกรรมร่วมกัน
  2. เกิดชุดอาหารที่ผู้ปกครองทำให้เด็กกินที่บ้าน และอาหารกลางวันตามชุดผักและผลไม้และร่วมรับประทานกับผู้ปกครอง 3.เด็กมีความกระตือรือร้นในการคิดแบบเพื่อสร้างชุดอาหารชุดผักและผลไม้ที่ทุกคนอยากกินร่วมกับครูและผู้ปกครอง ดดยมีการจัดอาหาร แฟนซีแล้ว คือ สลัดโร
  3. จากเด็กที่มีเปอร์เซ็นต์การกินไม่ผักในศูนย์ตาดีกา ร้อยละ 48.2 หรือมี 54 คน ทีไม่กินผักผลไม้ กลับมีการบริโภคผักเพิ่มขึั้นอย่างน้อย ร้อยละ 20 (จากแบบสอบถาม ถามด้วยปากเปล่าและจาก กูเกิลฟอร์ม)

 

ปลูกผักเพื่อlสุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 1 10 มิ.ย. 2566 23 ส.ค. 2566

 

กลุ่ม พมจ.อำเภอ เกษตรอำเภอ ผู้นำหมูบ้านในพื้นที่ยุวเกษตรร่วมกันส่งเสริมการปลูกพันธ์ผลไม้ถิ่นและผัก

 

ทำให้มีการปลูกต้นไม้ผลและผักของกลุ่ม พมจ.อำเภอ เกษตรอำเภอ ผู้นำหมูบ้านในพื้นที่ยุวเกษตรร่วมกัน

 

ปั้มตรายางโครงการ 11 มิ.ย. 2566 3 ก.ค. 2566

 

ออกแบบปั้มตรายางและรหัสโครงการ

 

ปั้มตรายางโครงการ

 

สำรวจข้อมูลโภชนาการของนักเรียนในโรงเรียนก่อนโครงการ 11 มิ.ย. 2566 11 มิ.ย. 2566

 

สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการกินหรือรับประทาน ผักและผลไม้หรือไม่  ตรวจค่าน้ำหนักและความสูงของนักเรียนเพื่อประเมินค่าด้านเกณฑ์น้ำหนักและส่วนสูงของเด็กนักเรียน โดยการสอบถาม

 

มีเด็กนักเรียนมาร่วมกิจกรรมจำนวน 120 คน จากจำนวนเด็กทั้งหมด 120 คน เท่ากับ  100 % ด็กนักเรียนมีความผิดปกติ หรือมีเกณฑ์ทีเสี่ยงจากร่างกายไม่ค่อยแข็งแรงจากการสังเกตด้วยตาเปล่า ประมาณ 64 คน เท่ากับ 53 % ไม่ชอบกินผักและผลไม้

 

กิจกรรมอบรมใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ 11 มิ.ย. 2566 24 มิ.ย. 2566

 

กิจกรรมอบรมใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ  โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดอบรมแก่คณะกรรมการโครงการ ครู ผู้ปกครอง เด็กตาดีกา เยาวชนและยุวเกษตร ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 162 คน
กำหนดการ
กิจกรรม อบรมใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 3 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ภายใต้โครงการ การบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการแก่เด็กตาดีกาดารุลนาอีมแบรอแว
หมู่ที่ 3 ตำบลตะลุโบะ วันที่          พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)ดารุลนาอีมแบรอแว

๐๘.๐๐ - ๐๘.๔๐ น.       ลงทะเบียน
๐๘.๔๐ - ๐๙.๐๐ น. พิธีเปิด โครงการ/กิจกรรมอบรมใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. การบรรยาย หัวข้อ “.การบริโภคให้ถูกหลักโภชนาการและสุขลักษณะ ห่างไกลจากมลพิษ” วิทยากร
น.ส.สุดา  บาโง ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ

๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาดซุฮรี

๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. ปฏิบัติการ เทคนิคการส่งเสริมบริโภคและรายได้ในวงจำกัด วิทยากร ๑,น.ส.สุดา บาโง ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.ตะลุโบะ ๒,นายอาดินันท์  ดูมีแด ตำแหน่ง ครู/ฝ่ายวิชาการชมรมตาดีกาอำเภอยะรัง

๑๔.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. นำเสนอผลงานสรุปและมอบหมายงาน ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. ปิดการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น.     รับประทานอาหารกลางวัน ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.     กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมย่อย ใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ (ภายใต้งาน สสส.และ อบจ.ปน.) จำนวน 165  คน เห็นถึงความสำคัญต่อการดูแลด้านโภชนาการในเด็กๆและลูกๆ ดังนี้ 1.ทราบถึงความสำคัญในการบริโภคให้ถูกหลักโภชนาการที่ถูกสุขลักษณะห่างไกลจากมลพิษ 2.มีความตระหนักพฤติกรรมแก่ครูผู้สอน เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ในการบริโภคผักและผลไม้ ร่วมทั้งการใช้พื้นที่ปฏิบัติการจริงเสริมรายได้ในวงจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.ผลัดดันการจัดทำข้อตกลงร่วมกันในการส่งเสริมอาหารกลางวันแก่เด็กตาดีกาแบรอแวที่มีความเหมาะสมทางโภชนาการเสริมผักผลไม้แก่เด็กตาดีกา 4. ลัดดันการทำความเข้าใจกับผู้ปกครองและชุมชนในการดูแลการบริโภคประจำวันของเด็กในความปกครอง

 

ปลูกสุขภาพด้วยมือเรา 17 มิ.ย. 2566 30 ก.ค. 2566

 

ในกิจกรรมปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเรา  โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อทำกิจกรรมกับกลุ่มแกนนำนักเรียนอาสมัครจิตอาสาปลูกผักเพื่อสุขภาพ (ภายใต้งาน สสส.และ อบจ.ปน.) โดยมีวัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบถึงความสำคัญในการปลูกผักกินเองหรือเลือกผักและผลไม้ที่ปลอดภัยได้ 2. เพื่อสร้างความตระหนักพฤติกรรมแก่ครูผู้สอน เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ในการบริโภคผักและผลไม้ ร่วมทั้งการใช้พื้นที่ปฏิบัติการจริงเสริมรายได้ในวงจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้

กำหนดการ

กิจกรรม ปลูกสุขภาพด้วยมือเรา หมู่ที่ 3 ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ภายใต้โครงการ การบริโภคผักและผลไม้เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กในตาดีกาดารุลนาอีมแบรอแว
หมู่ที่ 3 ตำบลตะลุโบะ วันที่                              ๒๕๖๖ ณ ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)ดารุลนาอีมแบรอแว

๐๘.๐๐ - ๐๘.๔๐ น.       ลงทะเบียน
๐๘.๔๐ - ๐๙.๐๐ น. พิธีเปิด โครงการ/กิจกรรมอบรมใส่ใจน้องใส่ใจสุขภาพ ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. การบรรยาย หัวข้อ “.การปลูกสุขภาพง่ายๆโดยมือเรา” วิทยากร นายอดินันท์ ดูมีแด ตำแหน่ง ครูโรงเรียนอนุบาลแสงสันติ ปอซัน และครูจิตอาสายะรัง

๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาดซุฮรี

๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. ปฏิบัติการ เทคนิคการส่งเสริมบริโภคและรายได้ในวงจำกัด วิทยากร ๑.นายอดินันท์ ดูมีแด ตำแหน่ง ครูโรงเรียนอนุบาลแสงสันติ ปอซัน
และครูจิตอาสายะรัง ๒,นายรอมซี  ยามิน ตำแหน่ง ประธานศูนย์ยุวเกษตร

๑๔.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. นำเสนอผลงานสรุปและมอบหมายงาน ๑๕.๐๐ น. ปิดการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น.     รับประทานอาหารกลางวัน ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.     กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 

รายละเอียดกิจกรรม เป็นกิจกรรมปลูกผัก ยกแคร่ และผักสวนครัวอื่นๆ การดูแลรักษาก่อนการนำไปบริโภคในแนวทางกึ่งอินทรีย์ 1 ประชุมคณะทำงานร่วมกับคนปรุงอาหาร (แม่ครัว ผู้ปกครอง) เพื่อจัดทำรายการอาหารกลางวันทุกเดือน เน้นการจัดอาหารลดหวาน มัน เค็ม อาหารที่มีรสจัด เพิ่มสัดส่วนผัก ผลไม้เพียงพอตามหลักโภชนากา กลุ่มเป้าหมายของกิจกรรมนี้  คือ
(1) คณะกรรมการดำเนินงาน (2) คนปรุงอาหาร (แม่ครัว ผู้ปกครอง) (3) แกนนำนักเรียน

 

สีเขียวช่วยโลก 24 มิ.ย. 2566 13 ม.ค. 2567

 

1.แจ้งกระบวนการติดตาม 2.ติดตามการจัดกิจกรรม 3.แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 4.รับฟังข้อเสนอแนะ

 

1.แจ้งกระบวนการติดตาม 2.ติดตามการจัดกิจกรรม 3.แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 4.รับฟังข้อเสนอแนะ 13

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 2 1 ก.ค. 2566 1 ก.ค. 2566

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอด

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอด

 

ติดตามกิจกรรมคณะทำงาน/ชุดอาหารแฟนซี ครั้งที่ 4 1 ก.ค. 2566 21 ต.ค. 2566

 

เป็นกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงตามเวลาที่กำหนด ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย เด็กตาดีกา 112 คนร่วมกับอาสาสมัครจิตอาสา  20  คน

 

1.เกิดกิจกรรมการทำอาหารรวมกันระหว่างเด็ก ตามข้อตกลง นำเสนออาหารท้องถิ่นคือ ข้าวยำแฟนซี 2.เป็นอาหารที่เด็กอยากรับประทานกันตามแนวคิดเด็กเอง
3.มีแกนนำเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา)และผู้ปกครองมาทำอาหารร่วมกัน 4.กำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัครกำหนดตามสัดส่วนผลลิตจากศูนย์ยุวเกษตรเนื่องจากไข่ไก่และผักสวนควรอื่นเช่น พริก  ผักบุ้ง ผักกาด ใบกระถิ่น

 

การติดตามประเมินผลการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที่ 4 5 ก.ค. 2566 23 ก.ย. 2566

 

ชี้แจงกิจกรรมแก่คณะกรรมการโครงการและคณะกรรมการชุมชน ยุว  ณ ศูนย์ตาดีกาและศูนย์ยุวเกษตร
เพื่อชีแจงกิจกรรมติดตามตัวแทนเด็กและผู้ปกครองสามารถช่วยทำชุดอาหาร
เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง คณะทำงาน เด็กและเยาวชน สำรวจเลือกตัวแทนแกนนำเด็กตาดีกาและตัวแทนยุวเกษตร จำนวน 20 คน
โดยให้แกนนำมารับผักฝึกการเพาะพันธุ์ ร่วมถึงการต่อยอดกิจกรรมแก่เด็กตาดีกาบ้านแบรอแวและประชุมชี้แจ้งกิจกรรม ณ ศูนย์ตาดีกาและศูนย์ยุวเกษตร
เพื่อชีแจงกิจกรรมกิจกรรมตัวแทนเด็กนักเรียนอาสา รับอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ุผักไปปลูกที่บ้านเพื่อต่อยอดกิจกรรม

 

  1. เด็กแกนนำ 20 คน และตัวแทนคณะทำงาน มาร่วมจัดกิจกรรมร่วมกัน
  2. เกิดชุดอาหารที่ผู้ปกครองทำให้เด็กกินที่บ้าน และอาหารกลางวันตามชุดผักและผลไม้และร่วมรับประทานกับผู้ปกครอง 3.เด็กมีคิดแบบเพื่อสร้างชุดอาหารชุดผักและผลไม้ที่ทุกคนอยากกินร่วมกับครูและผู้ปกครอง โดยมีการจัดอาหาร แฟนซีแล้ว คือ สลัดผลไม้
  3. เด็กที่มีเปอร์เซ็นต์การกินไม่ผักในศูนย์ตาดีกา 54 คน ทีไม่กินผักผลไม้ กลับมีการบริโภคผักเพิ่มขึั้นอย่างน้อย ร้อยละ 20 และอนามัยมาตรวจวัดค่าเลือดตำ่ไม่ถึงเกณฑ์ จำนวน 3 คน และเสี่ยง อีก 8 คน
  4. ชี้แจ้งกิจกรรมแก่คณะกรรมการโครงการและคณะกรรมการชุมชน ยุว  ณ ศูนย์ตาดีกาและศูนย์ยุวเกษตร เพื่อชีแจ้งกิจกรรม
  5. ตัวแทนเด็กนักเรียนอาสารับอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ผักไปปลูกที่บ้านด้วยตนเองโดยครูผู้สอนและยุวเกษตรเป็นพี่เลี้ยง

 

กิจกรรมตรวจสุขภาพเลือดแก่เด็ก 15 ก.ค. 2566 15 ก.ค. 2566

 

ตรวจค่ามาตราฐานของเลือด ดูคุณภาพเลือดในเบื้องต้น

 

มีเด็กนักเรียน 2-5คนมีค่าคุณภาพเลือดต่ำ หรือเป็นภาวะเลือดซีด ทาง รพสต.ได้ให้ยาเสริมบำรุงร่างกาย และให้ติดตามดูแลต่อไป

 

ติดตามกิจกรรมคณะทำงาน/ชุดอาหารแฟนซี ครั้งที่ 5 15 ก.ค. 2566 25 พ.ย. 2566

 

เป็นกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี เพื่อชีแจ้งกิจกรรมติดตามตัวแทนเด็กและผู้ปกครองสามารถช่วยทำชุดอาหาร เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง คณะทำงาน เด็กและเยาวชน โดยยึดหลักสิ่งที่ได้จากผลผลิตจากท้องถิ่น(ศูนย์ยุวเกษตร)คือ ไข่ ผักกวางตุ้งฮ่องเต่ ผักบุ้ง พริก คะน้าและผักกาดขาว
โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงตามเวลาที่กำหนด ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย เด็กตาดีกา 112 คนร่วมกับอาสาสมัครจิตอาสา  20  คน

 

  1. เกิดกิจกรรมการทำอาหารรวมกันระหว่างเด็ก ตามข้อตกลง เด็กแกนนำ 20 คน และตัวแทนคณะทำงาน มาร่วมจัดกิจกรรมร่วมกัน
  2. เกิดชุดอาหารที่ผู้ปกครองทำให้เด็กกินที่บ้าน และอาหารกลางวันตามชุดผักและผลไม้และร่วมรับประทานกับผู้ปกครอง 3.เด็กกำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัครกำหนดตามสัดส่วนผลลิตจากศูนย์ยุวเกษตรเนื่องจากไข่ไก่และผักสวนควรอื่นเช่น พริก ผักบุ้ง ผักกาด ใบกระถิ่น ร่วมกับครูและผู้ปกครอง โดยมีการจัดอาหาร แฟนซีแล้ว คือ แสนวิซผักผลไม้ ข้าวเที่ยงเด็กข้าวยำสมุนไพร
  3. เด็กที่มีเปอร์เซ็นต์การกินไม่ผักในศูนย์ตาดีกา 54 คน ทีไม่กินผักผลไม้ กลับมีการบริโภคผักเพิ่มขึั้นอย่างน้อย ร้อยละ 20 และอนามัยมาตรวจวัดค่าเลือดตำ่ไม่ถึงเกณฑ์ จำนวน 3 คน และเสี่ยง อีก 8 คนมีรับยาบำรุงเลืองและยาถ่ายพยาธิด้วยทั้ง 3 คน

 

การติดตามประเมินผลการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที 5 19 ก.ค. 2566 28 ต.ค. 2566

 

เป็นกิจกรรมทำอาหารเฉพาะกลุ่มแกนนำจิตอาสา ประมาณ 20 คนรวมกับครูผู้สอน และแจกอุปกรณืเพาะผักสวนครัวในส่วนแกนนำที่ต้องการปลูกผักที่บ้านเพื่อการบริโภค กิจกรรมตัวแทนเด็กนักเรียนอาสา รับอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ุผักไปปลูกที่บ้านเพื่อต่อยอดกิจกรรม 1. เด็กแกนนำ 20 คน และตัวแทนคณะทำงาน มาร่วมจัดกิจกรรมร่วมกัน
2. เกิดชุดอาหารที่ผู้ปกครองทำให้เด็กกินที่บ้าน และอาหารกลางวันตามชุดผักและผลไม้และร่วมรับประทานกับผู้ปกครอง 3.เด็กมีคิดแบบเพื่อสร้างชุดอาหารชุดผักและผลไม้ที่ทุกคนอยากกินร่วมกับครูและผู้ปกครอง โดยมีการจัดอาหาร แฟนซีแล้ว
4. ติดตามเด็กที่มีเปอร์เซ็นต์การกินไม่ผักในศูนย์ตาดีกา 54 คน ทีไม่กินผักผลไม้ กลับมีการบริโภคผักเพิ่มขึั้นอย่างน้อย ร้อยละ 20 และอนามัยมาตรวจวัดค่าเลือดตำ่ไม่ถึงเกณฑ์ จำนวน 3 คน และเสี่ยง อีก 8 คนมีรับยาบำรุงเลืองและยาถ่ายพยาธิด้วยทั้ง 3 คน

 

1.กลุ่มแกนนำจิตอาสา ประมาณ 20 คนฝึกทำกิจกรรมทำอาหาร(ในชุดอาหารแฟนซี)รวมกับครูผู้สอน
2.ปลูกผัก ณ ศูนย์ตาดีกา แจกอุปกรณืเพาะผักสวนครัวในส่วนแกนนำบางส่วนที่ต้องการปลูกผักที่บ้านเพื่อการบริโภค 3.เด็กที่รับยาสามารถกินยาและมีอาการตามการสังเกตด้วยตาเปล่าดีขึ้น

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 3 20 ก.ค. 2566 20 ก.ค. 2566

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอดความรู้แก่เด็กๆในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอดความรู้แก่เด็กๆในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

 

ติดตามกิจกรรมคณะทำงาน/ชุดอาหารแฟนซี ครั้งที่ 6 29 ก.ค. 2566 15 ธ.ค. 2566

 

เป็นกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี เพื่อชีแจ้งกิจกรรมติดตามตัวแทนเด็กและผู้ปกครองสามารถช่วยทำชุดอาหาร เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง คณะทำงาน เด็กและเยาวชน โดยยึดหลักสิ่งที่ได้จากผลผลิตจากท้องถิ่น(ศูนย์ยุวเกษตร)คือ ไข่ ผักกาดขาว และผักสลัดเช่นกรีนโอด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงตามเวลาที่กำหนด ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย เด็กตาดีกา 112 คนร่วมกับอาสาสมัครจิตอาสา  20  คน

 

  1. เกิดกิจกรรมการทำอาหารรวมกันระหว่างเด็ก ตามข้อตกลง เด็กแกนนำ 20 คน และตัวแทนคณะทำงาน มาร่วมจัดกิจกรรมร่วมกัน
  2. เกิดชุดอาหารที่ผู้ปกครองทำให้เด็กกินที่บ้าน และอาหารกลางวันตามชุดผักและผลไม้และร่วมรับประทานกับผู้ปกครอง 3.เด็กกำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัครกำหนดตามสัดส่วนผลลิตจากศูนย์ยุวเกษตรมี ผักกาดขาวและผักสลัด มาจัดทำร่วมกับครูโดยมีการจัดอาหาร แฟนซีแล้ว คือ สลัดโร สลัดผักผลไม้ร่วม

 

การติดตามประเมินผลการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน/คณะทำงานครั้งที 6 31 ก.ค. 2566 25 พ.ย. 2566

 

เป็นกิจกรรมทำความเข้าใจร่วมกัน ให้กลุ่มแกนนำและตัวแทนคณะทำงาน  20 คนที่ต้องการปลูกผักที่บ้านเพื่อการบริโภค กิจกรรมตัวแทนเด็กนักเรียนอาสา รับอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์ุผักไปปลูกที่บ้านเพื่อต่อยอดกิจกรรม
- ทำความเข้าใจกับแกนนำจิตอาสา - รู้ถึงชนิดเมนูองค์ประกอบในการทำ   และคุณค่าและวิธีการนำและนำเสนอ - ร่วมกันกินกับเพื่อนๆนักเรียนและคณะกรรมการผู้ติดตาม - กิจกรรมทำอาหารแฟนซีเสริมอาหารกลางวัน(แซนวิสผักๆปูอัดและข้าวยำสมุนไพร) -ทำความเข้าใจกิจกรรมปลูกผักหน้าศูนย์เพื่อต่อยอดกิจกรรมในช่วงบ่ายเย็น

 

  1. กลุ่มเด็กจิตอาสา สามารถเข้าใจและปฎิบัติได้จริง
  2. เด็กนักเรียนร่วมกันกินและทำร่วมกันโดยมีแกนนำจิตอาสาเป็นแกนนำ
  3. แกนนำจิตอาสาสามารถรู้เทคนิคการปลูกผักและการดูแลในเบื้องต้น

 

ติดตามกิจกรรมคณะทำงาน/ชุดอาหารแฟนซี ครั้งที่ 7 5 ส.ค. 2566 6 ม.ค. 2567

 

เป็นกิจกรรม เสริมอาหารกลางวันแก่เด็กศูนย์ฯ ชุดอาหารผักแฟนซี เพื่อชีแจ้งกิจกรรมติดตามตัวแทนเด็กและผู้ปกครองสามารถช่วยทำชุดอาหาร เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง คณะทำงาน เด็กและเยาวชน โดยยึดหลักสิ่งที่ได้จากผลผลิตจากท้องถิ่น(ศูนย์ยุวเกษตร)คือ ไข่ ผักกาดขาว ข้าวโพด แตงกวา ถั่วฝักยาวและผักสลัดเช่นกรีนโอด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำและติดตามการทำอาหารเสริมผักผลไม้ในชุดอาหารผักแฟนซีกับเด็กอาสาสมัคร(จิตอาสาศูนย์ตาดีกา) และเด็กตาดีกา และเพื่อสร้างสรรค์เมนูอาหารตามที่เด็กได้เสนอมาเกี่ยวกับเมนูด้านอาหารการกินเสริมผักผลไม้ ตามข้อตกลงตามเวลาที่กำหนด ณ ศูนย์ตาดีกาบ้านแบรอแว กลุ่มเป้าหมาย เด็กตาดีกา 112 คนร่วมกับ อาสาสมัครจิตอาสา  20  คน

 

  1. เกิดกิจกรรมการทำอาหารรวมกันระหว่างเด็ก ตามข้อตกลง เด็กแกนนำ 20 คน และตัวแทนคณะทำงาน มาร่วมจัดกิจกรรมร่วมกัน
  2. เกิดชุดอาหารที่ผู้ปกครองทำให้เด็กกินที่บ้าน และอาหารกลางวันตามชุดผักและผลไม้และร่วมรับประทานกับผู้ปกครอง 3.เด็กกำหนดเมนูอาหารแฟนซีตามเด็กอาสาสมัครกำหนดตามสัดส่วนผลลิตจากศูนย์ยุวเกษตรมี ไข่ไก่ แตกวา ข้าวโพด และผักสลัด
    4.จัดทำร่วมกับครูและผู้ปกครอง โดยมีการจัดอาหาร แฟนซีแล้ว คือ แสนวิซ สลัดโรและสลัดผักผลไม้

 

การติดตามประเมินผลการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที 7 8 ส.ค. 2566 23 ธ.ค. 2566

 

เป็นกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนชี้แจ้งกิจกรรมแก่คณะกรรมการโครงการและคณะกรรมการชุมชน ยุว  ณ ศูนย์ตาดีกา
เพื่อติดตามตัวแทนเด็กและผู้ปกครองสามารถช่วยทำชุดอาหารตามข้อตกลง ลดการกินที่มิพึ่งประสงค์
เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง คณะทำงาน เด็กและเยาวชน ทั้งจำนวน 20 คน ฝึกให้แกนนำมารับผักฝึกการเพาะพันธุ์เน้นผักมีมูลค่าและมีคุณค่าทางอาหารสูง โดยกิจกรรมที่เด็กตาดีกาบ้านแบรอแวเด็กที่ต้องการปลูกที่บ้าน โดยใช้หลักการ 1.แจ้งกระบวนการติดตาม 2.ติดตามการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพื้นที่ปลูก 3.แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 4.รับฟังข้อเสนอแนะ

 

1.เด็กแกนนำขออนุญาตปลูกผักที่ศูนยตาดีกาและศูนย์ยุวเกษตรแต่สามารถเพิ่มแปลงผักได้ เพิ่มขึ้น 1 แปลงจากแปลงเกษตร ม.๙ จากเด็กชายอิควาน  มะยีและมีนายอัสรี มะยีเป็นผู้ดูแลแลให้คำปรึกษา 2.การจัดกิจกรรม เด็กจัดทำอาหารแฟนซี คือ แสนวิสผัก สลัดโร สลัดผักผลไม้ร่วม  และอื่นๆกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจการกินผักของเด็กได้ 3.แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นร่วมกับเด็กและคณะทำงานตาดีกาเสนออยากให้มีการต่อยอดกิจกรรมในทุกๆปี

 

ปลูกผักเพื่อlสุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 4 14 ส.ค. 2566 14 ส.ค. 2566

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอดความรู้แก่เด็กๆในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอดความรู้แก่เด็กๆในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

 

ปลูกผักเพื่อlสุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 5 13 ก.ย. 2566 2 ก.ย. 2566

 

ผู้ปกครอง ครูผู้สอน และนักเรียนผู้ปกครองมารับผักที่ทางโครงการสนับสนุนร่วมกับกลุ่มยุวเกษตร กลับไปทำอาหารและส่งภาพประกอบอาหารที่ทำให้เด็กและผู้ปกครองรับประทานด้วยกัน

 

ผู้ปกครอง ครูผู้สอน และนักเรียนผู้ปกครองรับผักที่ทางโครงการสนับสนุนร่วมกับกลุ่มยุวเกษตร กลับไปทำอาหารและส่งภาพอาหารที่ทำให้เด็กและผู้ปกครองรับประทานด้วยกัน

 

การติดตามประเมินกิจกรรมคณะทำงานร่วมจาก สสส. 15 ก.ย. 2566 15 ก.ย. 2566

 

เป็นกิจกรรมเพื่อติดตามและชี้แจ้งกิจกรรมร่วมกัน ระหว่าง สสส. อบจ.และศูนย์ตาดีกา ครั้งที่ 1

 

ติดตาม ชี้แจ้งกิจจกรรมต่างๆต่อตัวแทนแก่ผู้รับทุน โดยมี กลุ่มคณะกรรมการกิจกรรมในพื้นที่และคณะกรรมการจากตัวแทน ของ สสส. และ อบจ. ร่วมรับฟัง

 

อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 25 ก.ย. 2566 25 ก.ย. 2566

 

กำหนดการอบรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 25 กันยายน ๒๕๖6
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ……………………………… วันที่  25 กันยายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.0๐ - 09.30 น. เวทีเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยตัวแทนจากประเด็นกลุ่มย่อยของโครงการย่อย โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และนายมุคตาร  วายา  ผู้ช่วยวิทยากร ๐๙.3๐ - 10.00 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 โดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการบริหารแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) กล่าวรายงาน โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข 10.00 - ๑0.3๐ น. ช่วงที่ 1 ในหัวข้อ "ทบทวนการดำเนินงานแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา
ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 10.3๐ - ๑๐.40 น. รับประทานอาหารว่าง 10.40 – 12.00 น. ช่วงที่ 2 “ประเมินผลการดำเนินงาน 3 มิติ”           2.1 แบ่งกลุ่ม ตามโครงการย่อย เพื่อประเมินผลการดำเนินงานใน 3 มิติ
                  ได้แก่ 1.กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน 2. กลไกพี่เลี้ยง                   3. ผลลัพธ์โครงการย่อย             2.2  นำเสนอผลการประเมินตนเองของโครงการย่อย (วงใหญ่  40 นาที) โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
                  กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
                  กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ                   กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ                   กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง                   กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา                   กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช                   กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร                   กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค                   กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต                   กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ                   กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง                   กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
                  กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ                   กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี /รับประทาน... - 2 -

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 15.00 น. ช่วงที่ 3 ประเด็นโครงการย่อยกับผลลัพธ์สุด WOW !!!           3.1 แบ่งกลุ่มตามโครงการย่อยเพื่อทบทวนการดำเนินงานในประเด็นดังนี้
              - ประเด็นการดำเนินงาน (จำนวน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย)               - ผลลัพธ์ (Outcome) ในแต่ละประเด็น               - ความคืบหน้าโครงการย่อยตามบันไดผลลัพธ์กลาง               - สรุปปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ไม่
                ควรเกิดขึ้นพร้อมค้นหาความเสี่ยงต่อการล้มเหลวของ
                โครงการย่อย และข้อเสนอแนะ 3.2 กิจกรรม World Café แลกเปลี่ยนวงใหญ่ (โครงละ 5 นาที) โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
                  กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
                  กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ                   กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ                   กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง                   กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา                   กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช                   กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร                   กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค                   กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต                   กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ                   กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง                   กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
                  กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ                   กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี 15.00 – 15.10 น. รับประทานอาหารว่าง 15.10 - 17.20 น. ช่วงที่ 4  ผู้เข้าร่วมอบรมร่วมแลกเปลี่ยนในวงใหญ่ และสรุปความเชื่อมโยง (กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน/กลไกพี่เลี้ยง/โครงการย่อย) โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร

 <br />



หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

 

สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 เพื่อให้ผู้รับทุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค และผลลัพธ์การดำเนินงานที่ผ่านมา ตลอดจนเพื่อให้แผนงานร่วมทุนฯ นำสิ่งที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปปรับปรุงการดำเนินงานในช่วงระยะเวลา ที่เหลือ และนำประเด็นที่เป็นปัญหาอุปสรรค หาแนวทางแก้ไขต่อไป

 

สุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 6 10 พ.ย. 2566 11 มิ.ย. 2566

 

ว่างแผนก่อนดำเนินงาน

 

คณะทำงานรู้หน้าที่ในช่วงระยะการทำงานของตนเอง เด็กนักเรียนมีความผิดปกติ หรือมีเกณฑ์ที่มีค่าเลือดต่ำ  ประมาณ 20 % เท่ากับ 24 คน ในจำนวนเด็กทั้งหมด 120 คน และแใน 24 คน มีเด็กมี ภาวะเลือดซีด จำนวน 3 คน

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราและการต่อยอด ครั้งที่ 7 20 ธ.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอดความรู้แก่เด็กๆในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

 

ปลูกผักเพื่อสุขภาพด้วยมือเราเป็นการต่อยอดความรู้แก่เด็กๆในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

 

การติดตามประเมินผลการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน/คณะทำงาน ครั้งที 8 23 ธ.ค. 2566 6 ม.ค. 2567

 

1.แจ้งกิจกรรมติดตามแก่คณะกรรมการโครงการและคณะกรรมการชุมชน ยุว  ณ ศูนย์ตาดีกาและศูนย์ยุวเกษตร เพื่อชีแจ้งกิจกรรมติดตามตัวแทนเด็กและผู้ปกครองสามารถช่วยทำชุดอาหาร เพื่อกระตุ้นจิตใจเพื่อสร้างแรงจูงใจในการกินผักร่วมกับผู้ปกครอง คณะทำงาน เด็กและเยาวชน มีตัวแทนแกนนำเด็กตาดีกาและตัวแทนยุวเกษตร จำนวน 20 คน โดยแกนนำมารับผักฝึกการเพาะพันธุ์เน้นผักมีมูลค่าและมีคุณค่าทางอาหารสูง คื ผักกวางตุ้งฮ่องเต่ ผักบุ้ง พริก แลคะน้าและผักกาดขาว ร่วมถึงการต่อยอดกิจกรรมแก่เด็กตาดีกาบ้านแบรอแวและสอบถามเด็กที่ต้องการปลูกที่บ้าน

 

1.แจ้งกระบวนการติดตามนั้นผู้ปกคองได้นำเนอ ผลดีที่ได้จากโครงการ 2.ครูมีการจัดเมนูอาหารได้อย่างต่อเนื่อง 3.แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นว่าควรมีชุมชนมาร่วมทำงานให้มากกว่านี้ 4.รับฟังข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นว่าควรมีชุมชนมาร่วมทำงานให้มากกว่านี้แต่มีผลที่ร้านอาหารฟาสฟู๊ดลดลงกว่าู 60 เปอร์เซ็นต์

 

สร้างสุขภาพ สร้างเราและการต่อยอด 14 ม.ค. 2567 23 ธ.ค. 2566

 

ติดตามการจัดกิจกรรมดำเนินการจัดกิจกรรม  สร้างสุขภาพ สร้างเรา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ออบรมสรุปประเด็นกิจกรรมเพื่อการต่อยอดในอนาคตแก่เด็กตาดีกา ครู ผู้ปกครอง ยุวและอาสาสมัคร แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น จัดซ้มแสดงกิจกรรมแก่เด็กตาดีกา เยาวชน ครูผู้สอน ผู้ปกครองและอาสมัครจิตอาสาปลูกผักเพื่อสุขภาพ

 

1.รู้คุณค่าด้านสุขภาพ 2.ติดตามการจัดการตัวเองและสังคมร่วมกัน 3.แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น 4.รับฟังข้อเสนอแนะ

 

อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2/2566 15 ม.ค. 2567 15 ม.ค. 2567

 

นำเสนอผลงานพร้อมคณะทำงาน 8 คน

 

นำเสนอผลงานในโครงการพร้อมคณะทำงานจำนวน 8 คน

 

ประชุมเตรียมความพร้อมปิดโครงการย่อยแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี 17 ม.ค. 2567 16 ม.ค. 2567

 

เดินทางเพื่อแก้ไข้ปรึกษาหารือเรื่องการจัดทำเอกสาร ณ ห้องประชุมสาธารณสุข อบจ.ปัตตานี

 

ปรึกษาหารือเรื่องการจัดทำเอกสาร

 

ค่าจัดทำรายงานและอินเตอร์เน็ต 31 ม.ค. 2567 1 พ.ค. 2566

 

iรวบร่วบข้อมูลกิจกกรรมเพื่อสรุปและจัดทำรายงานเป็นเอกสาร และสรุปรูปเล่ม

 

เอกสารรูปเล่มส่งในกิจกรรม

 

ตรวจสอบเอกสารงานโครงการ 5 ก.พ. 2567 5 ก.พ. 2567

 

ตรวจสอบเอกสารงานโครงการกับเจ้าหน้าที่โคงการและพี่เลี้ยง

 

ได้เอกสารงานโครงการกับเจ้าหน้าที่โคงการและพี่เลี้ยง