directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในชุมชนบ้านตรัง

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในชุมชนบ้านตรัง ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชน จำนวน 92 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เกิดคณะทำงานและกลไกการติดตามกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน 2.เกิดความรู้และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย 3.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง ผลการดำเนินงานพบว่า เกิดคณะทำงาน จำนวน 15 คน ประกอบด้วย อสม. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน บัณฑิตตำบล เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ตรัง และเจ้าหน้าที่ อบต. มีข้อตกลงการทำงานของคณะทำงานที่ชัดเจน คือ การจัดเวรประจำวันในการเปิดคลิปวิดีโอนำเต้นแอโรบิค และการติดตามผลการปฏิบัติตามกติกาชุมชน มีแผนการดำเนินงานของคณะทำงาน มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อมูลสถานการณ์การบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย ก่อน – หลังการดำเนินโครงการ กลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน (คิดเป็นร้อยละ 92 ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 92 คน) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย มีข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ได้จากการติดตามกลุ่มเป้าหมายโดยคณะทำงาน เกิดกติกาข้อตกลงร่วมของชุมชนในการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย จำนวน 6 ข้อ มีสถานที่รวมกลุ่มออกกำลังกาย 2 แห่ง คือ สถานที่กลางแจ้งของชุมชน 1 แห่ง และมีสถานที่ร่มรองรับ 1 แห่ง กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ ทำให้มีอาหารสุขภาพ 1 เมนู 1 ครอบครัว มีรูปแบบการออกกำลังที่เหมาะสมตามช่วงวัย เช่น การเต้นแอโรบิค การปั่นจักรยาน การเดินวิ่ง มีบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 12 คน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คน (คิดเป็นร้อยละ 87 ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 92 คน) มีการออกกำลังกาย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 71 คน (คิดเป็นร้อยละ 77 ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 92 คน) มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

หากฝนตก ทำให้บางวันต้องงดกิจกรรมการออกกำลังกาย เนื่องจากกลุ่มเสี่ยงไม่สามารถเดินทางมาออกกำลังกายได้

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ