task_alt

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ม.3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ม.3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

ชุมชน จังหวัดปัตตานี

รหัสโครงการ 65-P1-0068-023 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มกราคม 2567 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2567

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำข้อมูลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุครั้งที่ 2

วันที่ 6 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลสุขภาพจิตผู้สูงอายุบ้านดอนรัก ครั้งที่2 (เก็บข้อมูลหลังดำเนินโครงการ) พบว่า ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลสุขภาวะทางกาย ร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางกายที่ดี โดยใช้เครื่องมือวัดระดับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ Barthel ใช้ ADLIndex
2. ข้อมูลสุขภาวะทางจิต ร้อยละ  90 ของผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางจิตที่ดี โดยใช้เครื่องมือวัดจาการประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ (9Q) จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 3. ข้อมูลสุขภาวะสังคม ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคมที่ดี โดยใช้เครื่องมือวัดจากความสัมพันธภาพในครอบครัวมีการปฏิบัติต่อกัน 4. ข้อมูลสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางจิตวิญญาณที่ดี โดยใช้เครื่องมือวัดการเห็นคุณค่าในตัวเอง
ดังนั้นจากการสำรวจระดับความสุขของผู้สูงอายุ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก จำนวน 30 คน  หลังดำเนินโครงการ พบว่า ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีความสุขในระดับ 10 จากเกณฑ์วัดระดับความสุข 1-10  โดยประเมินจากเครื่องมือแบบสำรวจสุขภาพจิต และประเมินHealth literacy ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หลังดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการกิจกรรม จัดทำข้อมูลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเมือง จังหวัดปัตตานีวันที่ 6 มกราคม 2567 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเมือง จังหวัดปัตตานี 09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม 09.30 – 10.00 น. ชี้แจงกำหนดการกิจกรรมและอธิบายวิธีการใช้เครื่องมือแบบสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
10.00 – 12.00 น. ดำเนินการเก็บข้อมูลสุขภาพจิตผู้สูงอายุหลังดำเนินโครงการ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเมือง จังหวัดปัตตานี 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น. ดำเนินการเก็บข้อมูลสุขภาพจิตผู้สูงอายุหลังดำเนินโครงการ (ต่อ) หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเมือง จังหวัดปัตตานี 16.00 – 16.30 น. สรุปผลการเก็บข้อมูลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ

 

50 0

2. ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 5 (ถอดบทเรียนโครงการ)

วันที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การประชุมถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ หมู่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนภาพรวมตลอดการดำเนินโครงการที่ผ่านมา พร้อมทั้งถอดบทเรียนที่ได้รับนำไปปรับใช้แก่กลุ่มเป้าหมายต่อไป * กิจกรรมถอดบทเรียน “รู้จักฉัน รู้จักชุมชน” 3.1 สะท้อนสิ่งที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ จากการสะท้อนของกลุ่มเป้าหมายหลัก แบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1. รู้สึกอย่างไร พบว่า กลุ่มเป้าหมายหลักมีความรู้สึกดีใจ มีความสุข มอบมิตรภาพที่ดีให้แก่กัน และได้ลงมือปฏิบัติโดยตรงตามสาขาที่กำลังศึกษา ตลอดจนได้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกับเพื่อน อาสาสมัคร และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. ประทับใจอะไร พบว่า มีความประทับใจที่ได้พบปะกับผู้สูงอายุ คณะการดำเนินงาน                มีการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นอาสาพาเพื่อนเยี่ยมเพื่อน การทำอาหารร่วมกัน              แปลงผักสร้างสุข อีกทั้งมีความประทับใจคนในชุมชนที่ให้ความร่วมมือในการจัดโรงการฯ ในครั้งนี้ 3. ได้เรียนรู้อะไร พบว่า ได้เรียนรู้พื้นที่ชุมชน วิถีชีวิตของคนในชุมชน กระบวนการคิดและการทำงานร่วมกัน มีความเข้าใจความต้องการของผู้สูงอายุมากขึ้น ตลอดจนได้เรียนรู้ความหลากหลายทั้งช่วงวัยและศาสนา 4. ได้ฝึกทักษะอะไร/ได้อะไรเพิ่มขึ้น พบว่า ได้ฝึกทักษะการเยี่ยมบ้าน ทักษะการสื่อสารกับผู้สูงอายุ ทักษะการลงพื้นที่ ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษธการฟังอย่างตั้งใจ ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และทักษะด้านภาษาท้องถิ่น 5. นำไปใช้อย่างไร พบว่า สามารถนำกระบวนการ แนวคิด อีกทั้งนำความรู้ที่ได้รับจากการอบอรมเชิงปฏิบัติการมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ รวมไปถึงทักษะการเยี่ยมบ้าน การสื่อสารกับผู้สูงอายุไปใช้ในการลงพื้นที่ครั้งต่อไป 3.2 สะท้อนสิ่งที่ผู้สูงอายุและชุมชนได้รับ 1. บริบท/สถานการณ์ ก่อนเริ่มโครงการ พบว่า ผู้สูงอายุอยู่แต่ในบ้าน ติดบ้าน ไม่ออกไปไหน ไม่มีการรวมตัวกัน ชุมชนไม่มีความร่วมมือ และคนในชุมชนต่างคนต่างอยู่ 2. การดำเนินงานเบื้องหน้า พบว่า มีการร่วมกันติดตาม ดูแลผู้สูงอายุทั้งการดำเนินชีวิตประจำวันและเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนการประเมินสภาพจิตใจของผู้สูงอายุโดยการสังเกตเป็นระยะ ๆ อีกทั้งมอบสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อเป็นแรงจูงใจแก่ผู้สูงอายุ 3. การดำเนินงานเบื้องหลัง พบว่า มีการประชาสัมพันธ์ตามบ้านของผู้สูงอายุ ประสานงานร่วมกันภายในชมรมวอลันเทียร์ในการเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง อีกทั้งเตรียมอุกรณ์ต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมทำอาหารร่วมกัน เพื่อสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกที่ดีและใส่ใจต่อกิจกรรมมากขึ้น 4. ผลที่เกิดขึ้น ปรากฏชัดเจน พบว่า ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น มีความสุขมากขึ้น เพลิดเพลินไปกับกิจกรรม ยิ้มแย้มแจ่มใส ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่คณะดำเนินโครงการได้เตรียมไว้ อีกทั้งผู้สูงอายุมีการมารวมตัวกันและให้ความร่วมมือทุก ๆ กิจกรรมที่ได้จัดตั้งขึ้น 5. วางแผนหลังจบโครงการ พบว่า สามารถนำทักษะต่าง ๆ ที่ได้รับจากโครงการฯ ไปพัฒนาคนในชุมชนได้ รวมไปถึงติดตาม เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุอยู๋บ่อยครั้ง
* นำเสนอผลการถอดบทเรียน ตัวแทนจากอาสาสมัครและนักศึกษากล่าวถึงผลการถอดทบเรียนในครั้งนี้ โดยผ่านกิจกรรมที่มีชื่อว่า หน้าต่างความสำเร็จ พบว่า มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้ และจะนำความร็ต่าง ๆ ที่ได้รับจากโครงการฯ ในครั้งนี้ไปใช้ในอนาคตต่อไป * สรุปผลการดำเนินงานและปิดโครงการฯ การดำเนินโครงการฯ ในครั้งนี้ ทางคณะดำเนินโครงการฯ /ทีมงาน ขอขอบคุณผู้ที่มีความเกี่ยวข้องที่ร่วมขับเคลื่อนงานจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้เห็นถึงพลังใจของคนในชุมชนที่พร้อมจะให้ชุมชนและผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการประชุมถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานีวันศุกร์ ที่ 12 มกราคม 2567 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ร้าน Owly Café & Co. 09.00 – 09.15น. ลงทะเบียนเข้าร่วมการประชุม 09.15 – 09.30 น. ประธานเปิดการประชุมและแจ้งวัตถุประสงค์การประชุม 09.30 - 10.00 น. นำเสนอภาพรวมการดำเนินโครงการฯที่ผ่านมา
10.00 – 12.00 น.กิจกรรมถอดบทเรียน “รู้จักฉัน รู้จักชุมชน” โดยคุณนูร์ฮีดายู บินสาฮะ บัณฑิตอาสา ม.อ.รุ่นที่ 19 12.00 – 13.30 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.30 – 15.30 น.นำเสนอผลการถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ม.3 บ้านดอนรัก ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี 15.30 – 16.30 น.สรุปผลการดำเนินงานและปิดโครงการฯ

 

30 0

3. เวทีอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย AREครั้งที่2/2567

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานโครงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ARE ครั้งที่2/2566 โดยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินโครงการ และให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและสิ่งที่จะไปต่อยอดต่อไป คือมีกิจกรรมที่สามารถที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้สูงอายุในพื้นที่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานโครงการได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน ติดตามผลลัพธ์โครงการย่อยและร่วมจัดนิทรรศการ

 

3 0

4. ค่าจัดทำไวนิล x-stand

วันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ไวนิล x-stand โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สรุปบันไดผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

 

0 0

5. ประชุมเตรียมความพร้อมปิดโครงการย่อยฯ

วันที่ 16 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารกิจกรรม  เข้าใจระบบการเงิน การบันทึกรายละเอียดลงในใบเสร็จรับเงิน อีกทั้งเข้าใจการบันทึกข้อมูลกิจกรรมลงระบบ โดบันทึกรายละเอียดกิจกรรมที่ละเอียดและมีความเข้าใจมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานโครงการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และ บันทึกกิจกรรมลงระบบ

 

2 0

6. ค่าเดินทางไปถอนเงินธนาคาร ครั้งที่ 4

วันที่ 16 มกราคม 2567 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เงินจำนวน 12,000 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนเงินเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรม โดยเดินทางไปถอนเงิน ณ บิ๊กซีซุปเปอร์เซ็นเตอร์ปัตตานี ในวันที่ 16 ม.ค. 66 ตั้งเวลา 10.00 - 15.00 น. มีคณะทำงานเดินทางจำนวน 2 คน

 

2 0

7. ค่าเดินทางพบปะพี่เลี้ยงครั้งที่ 2

วันที่ 29 มกราคม 2567 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เอกสารการเงินเรียบร้อยขึ้น และความเข้าใจการบันทึกข้อมูลการจัดกิจกรรมลงระบบละเอียดมากขึ้น อีกทั้งยังเข้าใจการจัดการเอกสารการเงินของแต่ละกิจกรรม โดยให้มีการเพิ่มรายละเอียดในเอกสารการเงินเพิ่มเติม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานโครงการเดินทางเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และ บันทึกกิจกรรมลงระบบ

 

2 0

8. ค่าเดินทางพบพี่เลี้ยงครั้งที่ 3

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเงิน การจัดการเงินสนับสนุนกิจกรรม และเข้าใจการบันทึกรายละเอียดลงระบบ เพื่อดำเนินการจัดทำรายงาน ง.1และง.2ต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานโครงการเดินทางเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และบันทึกกิจกรรมลงระบบ

 

2 0

9. ค่าเดินทางพบพพี่เลี้ยง ครั้งที่ 4

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานโครงการได้เข้าใจการจัดทำรายงานในระบบ การจัดทำกิจกรรมให้สอดคล้องกับงบประมาณต่าง ๆ และการบันทึกรายละเอียดของงบสนับสนุนที่ยังคงขาดเพิ่มเติมเพื่อให้มีความสมบูรณ์และถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานโครงการเดินทางเข้าพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และ บันทึกกิจกรรมลงระบบ

 

2 0

10. ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานโครงการคืนดอกเบี้ยแผนร่วมทุน จำนวนเงิน 86.70 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ จำนวนเงิน 86.70 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 30 30                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 98,300.00 98,886.70                    
คุณภาพกิจกรรม 120                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
อิสมาแอ มาหะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ