directions_run

อนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งเพื่อเพิ่มปริมาณพันธุ์สัตว์น้ำบ้านบ่อแดง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (1.)สร้างความรู้ความตระหนักร่วมกันฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่ง และเกิดกลไกการทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาสถานการณ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในทะเลชายฝั่งในปัจจุบัน 2. ได้ข้อมูลได้ชนิดพันธุ์และจำนวนสัตว์น้ำและเครื่องมือการจับสัตว์น้ำบริเวณพื้นที่ทะเลชายฝั่ง 3. ได้แผนการดำเนินงานของชุมชนและประมงอาสา 4. เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนงานโครงการไม่ต่ำกว่า 10 คน และเกิดประมงอาสาดูแลเขตฯ (ซั้งกอ) ไม่ต่ำกว่า 10 คน 5. เกิดกติกาข้อตกลงในการจับสัตว์น้ำและดูแลเขตฯ ของชุมชนและชุมชนใกล้เคียง
0.00 15.00

แกนนำในกลไกการขับเคลื่อนของชุมชนมีศักยภาพในการทำงานด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการรักษาเขตอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพและความร่วมมือจากชุมชนและชุมชนใกล้เคียง

2 2.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟู
ตัวชี้วัด : 1. เกิดประมงอาสาดูแลเขตฯ (ซั้งกอ) ไม่ต่ำกว่า 10 คน 2. เกิดกติกาข้อตกลงในการจับสัตว์น้ำและดูแลเขตฯ ของชุมชนและชุมชนใกล้เคียง 3.เกิดซั้งกอ
10.00

สมาชิกในชุมชนและคณะกรรมการควรจะมีการปรับรูปแบบการทำงานโดยการวางแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในพื้นที่ รวมถึงการประสานภาคีที่เกี่ยวข้องให้มีความหลากหลายขึ้น โดยมุ่งเน้นคนในชุมชนและขยายไปยังชุมชนใกล้เคียง

3 เกิดกลไกติดตามการทำงานร่วมกัน
ตัวชี้วัด : 1.เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนงานโครงการไม่ต่ำกว่า 10 คน 2.มีการประชุมคณะทำงาน 2 เดือน 1 ครั้ง 3. ได้ข้อมูลผลการดำเนินงาน
15.00

แกนนำในกลไกการขับเคลื่อนของชุมชนมีศักยภาพในการทำงานด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการรักษาเขตอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพและความร่วมมือจากชุมชนและชุมชนใกล้เคียง

4 นิเวศทะเลชายฝั่งมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์
ตัวชี้วัด : 1. ปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 3 ชนิด เช่น ปูม้า กุ้งแชบ๊วย ปลาอินทรีย์ ปลากุเลา
40.00

มีการจับปริมาณสัตว์น้ำเศรษฐกิจสำคัญๆได้มากขึ้น รวมทั้งขนาดและน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน ไม่ใช่สัตว์น้ำวัยอ่อน

5 เพื่อหนุนเสริมให้มีการบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.โครงการย่อยสามารถทำงานได้ตามที่กำหนดไว้ในแผน 2.โครงการย่อยสามารถรายงานผลในระบบออนไลน์ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 3.โครงการย่อยสามารถเดินทางร่วมกิจกรรมที่ทางคณะบริหารแผนงานกำหนด
60.00

ต้องเพิ่มคณะทำงานที่มีความสนใจ ศักยภาพ มารับผิดชอบในการจัดทำรายงานผ่านเว็บไซต์และการเคลียร์เอกสารการเงินตามหมวดการใช้งบประมาณของ สสส. ซึ่งต้องมีพี่เลี้ยงให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
สมาชิกกลุ่มอนุรักษ์ชายฝั่งบ้านบ่อแดง 40
สมาชิกในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (1.)สร้างความรู้ความตระหนักร่วมกันฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่ง และเกิดกลไกการทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล (2) 2.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟู (3) เกิดกลไกติดตามการทำงานร่วมกัน (4) นิเวศทะเลชายฝั่งมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์ (5) เพื่อหนุนเสริมให้มีการบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาสถานการณ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในทะเลชายฝั่งในปัจจุบัน (เวทีเปิดโครงการ) (2) จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำในชุมชนหมู่ 4 บ้านบ่อแดงและชุมชนใกล้เคียงที่ร่วมโครงการ (3) จัดทำและวางซั้งกอในพื้นที่เขตอนุรักษ์ (4) เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (5) เวทีสรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 4 เดือน/ครั้ง (ARE) (6) เวทีจัดตั้งกติกาเขตอนุรักษ์และรับสมัครประมงอาสา (7) เวทีนำเสนอข้อมูลชุมชน (8) การบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ กับ สสส. (9) เก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์สัตว์น้ำก่อน-หลัง การมีเขตฯ (10) ทำป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงของเขตอนุรักษ์และกติกาการจับสัตว์น้ำ (11) ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (12) เวทีปิดโครงการ (13) เวทีปฐมนิเทศโครงการ (14) จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ สสส. (15) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (16) เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาสถานการณ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในทะเลชายฝั่งในปัจจุบัน (เวทีเปิดโครงการ) (17) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (18) ประชุมทำความเข้าใจวิธีการจัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำและเครื่องมือประมงที่ใช้ในการจับ (19) กิจกรรมเก็บข้อมูลสัตว์น้ำก่อนมีเขตอนุรักษ์ (20) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (21) เวทีประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ครั้งที่ 1 ระดับพื้นที่ (22) เวทีประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ระดับรวมโครงการจังหวัดสงขลา (23) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (24) เวทีจัดตั้งกติกาเขตอนุรักษ์และรับสมัครประมงอาสา (25) เวทีประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) รวม 30 โครงการ (26) ทำป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงของเขตอนุรักษ์และกติกาการจับสัตว์น้ำ (27) วางซั้งกอในเขตอนุรักษ์บ้านบ่อแดง (28) ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำในเขตอนุรักษ์หลังวางซั้งกอ (29) เวทีปิดโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh