directions_run

โครงการฟื้นเลเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรชุมชนบ้านปากคลอง

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดทำข้อมูล Baseline Before-After ของแต่ละพื้นที่ให้เหมาะสมกับโครงการ 10 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานบ้านปากคลอง 11 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

จัดทำป้ายโลโก้ สสส. ลดละเลิก เหล้า บุหรี่ 17 ส.ค. 2566 17 ส.ค. 2566

 

ออกแบบ  จัดทำป้ายกิจกรรม

 

มีป้ายกิจกรรมโครงการฟื้นเลเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรชุมชนบ้านปากคลอง

 

ประชุมจัดทำกติกาชุมชน 25 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวทีพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและอาสาสมัครเฝ้าระวังทางทะเล 31 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมถอดบทเรียนการจัดการทรัพยากรโดยชุมชน 26 ต.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับกติกาชุมชน 20 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

เวทีประชุมสรุปผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) 20 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

ทำป้ายเขต แสดง พื้นที่อาณาเขตอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 5 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเสวนาแลกเปลี่ยนความรู้การทำบ้านปลา ด้วยถูมิปัญญาท้องถิ่น 7 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

จัดทำบ้านปลา 30 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมสรุปสรุปผลและถอดบทเรียนร่วมกับชุมชน (เวทีปิดโครงการ) 1 มี.ค. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่1 11 ส.ค. 2566 11 ส.ค. 2566

 

1.  ประสานงานคณะทำงานกลุ่มประมงพื้นบ้านปากคลอง  เพื่อประชุม  ชี้แจง  ทำความเข้าใจโครงการ  และออกแบบวางแผนการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และสถานการณ์เป็นช่วง

 

-  เกิดกลไกลคณะทำงานขับเคลื่อนงานอนุรักษ์  ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลบ้านปากคลอง -  เกิดแผนงานและการติดตาม  ประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่องโดยการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  ประชาชนบ้านปากคลอง -  เกิดการกำหนดทิศทาง  การวางแผนการทำงานที่เหมาะสมกับช่วงเวลา

 

เวทีพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและอาสาสมัครเฝ้าระวังทางทะเล 20 ส.ค. 2566 20 ส.ค. 2566

 

-  ประชุมทีมคณะทำงานและอาสาสมัครเฝ้าระวังทางทะเล  รวม 15 คน
-  จัดทำแผนการดำเนินงานตามโครงการ -  ออกแบบกิจกรรมและแผนการดำเนินงานตามลำดับขั้นตอน
-  มอบหมายหน้าที่การรับผิดชอบแก่ประมงอาสา
-  แลกเปลี่ยนเรียนรู้  เสนอแนะปัญหา  ความต้องการของผู้เข้าร่วมประชุม

 

เกิดอาสาสมัครเฝ้าระวังทรัพยากรทางทะเล 5 คน - เกิดแผนงานการดำเนินโครงการตามลำดับขั้นตอน ออกแบบกิจกรรมและการแบ่งบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ - เกิดประมงอาสาที่มีประสิทธิภาพในพื้นที่ชุมชนบ้านปากคลอง จำนวน 5 คน - เกิดข้อมูลด้านทรัพยากร ทำให้ทราบปัญหา ความต้องการของคนในชุมชน

 

ประชุมจัดทำกติกาชุมชน 25 ส.ค. 2566 25 ส.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงาน ประมงอาสา ประชาชนบ้านปากคลอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดทำกติกาชุมชน เพื่อออกแบบกติการ่วมกัน

 

-  เกิดกติกาชุมชนที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งบ้านปากคลองที่เกิดจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย -  เกิดการประกาศ  ประชาสัมพันธ์กติกาชุมชนในพื้นที่บ้านปากคลอง

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่2 8 ก.ย. 2566 8 ก.ย. 2566

 

จัดการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ  รวมถึงมีการทบทวนกติกาชุมชน

 

-  เกิดการแบ่งบทบาทหน้าที่การขับเคลื่อนของแต่คนตามความเหมาะสม -  เกิดการทบทวนกติกาชุมชน

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่3 18 ก.ย. 2566 18 ก.ย. 2566

 

1.ประสานงาน 2. จัดประชุมคณะกรรมการกลุ่มประมงบ้านปากคลอง  เพื่อออกแบบวางแผนการการดำเนินกิจกรรมตามความเหมาะสม 3.. สรุปรายงานการประชุม

 

-เกิดการวางแผนงานในระยะต่อไป -เกิดการถอดบทเรียนการดำเนินงานที่ผ่านมา -เกิดการประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

 

ประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับกติกาชุมชน 13 ต.ค. 2566 13 ต.ค. 2566

 

  1. ประสานงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อเข้าร่วมการประชุม
  2. ดำเนินการจัดประชุมโดยมีคณะทำงานประมงพื้นบ้านปากคลองเป็นแกนหลัก 3.  แลกเปลี่ยน  เสนอแนะ  ความคิดเห็นเกี่ยวกับกติกาชุมชน
  3. สรุปรายงานการประชุม

 

-เกิดกติกาชุมชนที่มาจากหลายภาคส่วน  เป็นยอมรับ  รับรู้ของคนในชุมชนบ้านปากคลอง

 

จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเสวนาแลกเปลี่ยนความรู้การทำบ้านปลา ด้วยถูมิปัญญาท้องถิ่น 20 พ.ย. 2566 20 พ.ย. 2566

 

  1. ประชุมคณะทำงานเตรียมจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และวางบ้านปลา
  2. ประสานงานผู้เข้าร่วมกิจกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเสวนาแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดองค์ความรู้การทำบ้านปลา ด้วยถูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรม

 

ด-  เกิการแลกเปลี่ยนความรู้การอนุรักษ์  ฟื้นฟูทรัพยากร  ให้อุดมสมบูรณ์  ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
-  เกิดการประชาสัมพันธ์  ปลูกฝังให้คนในชุมชนหันมาใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างถูกต้อง
-  เกิดการส่งเสริมให้คนในชุมชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

 

ประชุมถอดบทเรียนการจัดการทรัพยากรโดยชุมชน 13 ธ.ค. 2566 8 ก.ย. 2566

 

-ประสานงาน -จัดประชุมคณะกรรมการกลุ่มประมงหาดยาวบ้านปากคลอง -สรุปรายงานการประชุม

 

-  เกิดการทำงานเป็นทีมในการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ -  เกิดการแลกเปลี่ยน  เรียนรู้  วิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้านปากคลอง -  เกิดการกำหนดแผนการดำเนินงาน  ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-  คนในชุมชนบ้านเจ้าไหมมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร