task_alt

ส่งเสริมการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเพื่อความยั่งยืนของชุมชน

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัยเพื่อความยั่งยืนของชุมชน

ชุมชน อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ M-017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2567

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน พฤศจิกายน 2566 ถึงเดือน มกราคม 2567

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำข้อมูล Baseline Before-After ของพื้นที่ตามตัวชี้วัดโครงการ

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้ทำการศึกษาการ “การเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาวะของชาวประมงพื้นบ้านที่เข้าร่วมโครงการภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่ชุมชนประมงพื้นบ้าน 5 จังหวัดชายฝั่งทะเล” การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมด้านสุขภาวะและศึกษาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชาวประมงพื้นบ้านที่เมื่อได้เข้าร่วมโครงการแล้ว ซึ่งตอบโดยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน สุ่มจากสมาชิกร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช โดยทางคณะผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการศึกษาออกเป็น 5 ส่วน ตามลำดับ ดังนี้ ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเล ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในครัวเรือน
ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องสุขภาพ ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาวะของชาวประมงพื้นบ้าน โครงการภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะได้ทำการศึกษาการ “การเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาวะของชาวประมงพื้นบ้านที่เข้าร่วมโครงการภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่ชุมชนประมงพื้นบ้าน 5 จังหวัดชายฝั่งทะเล” การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมด้านสุขภาวะและศึกษาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชาวประมงพื้นบ้านที่เมื่อได้เข้าร่วมโครงการแล้ว ซึ่งตอบโดยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน สุ่มจากสมาชิกร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช โดยทางคณะผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการศึกษาออกเป็น 5 ส่วน ตามลำดับ ดังนี้ ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเล ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในครัวเรือน
ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องสุขภาพ ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช
ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จากจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่กำหนด จำนวน  50 ตัวอย่าง ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล กลับมาได้ 50 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
ข้อมูลทั่วไป จำนวน (ร้อยละ) เพศ หญิง 34 (68) ชาย 16 (32) อายุ 15-20 ปี 0 (0) 21-25 ปี 2 (4) 21-25 ปี 1 (2) 26-30 ปี 5 (10) 31-35 ปี 3 (6) 36-40 ปี 3 (6) 41-45 ปี 4 (8) 46-50 ปี 8 (16) 50 ปีขึ้นไป 24 (48) อาชีพ ชาวประมงพื้นบ้าน 20 (40) ลูกจ้างเรือประมง 1 (2) ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 12 (24) รับจ้างทั่วไป 13 (26) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่มีรายได้ 3 (6) น้อยกว่า 10,000 บาท 16 (32) 10,001 – 15,000 บาท 17 (34) 15,001 – 20,000 บาท 8 (16) 20,001 – 25,000 บาท 6 (4) มากกว่า 25,000 บาท 1 (2) จังหวัดที่พักอาศัย นครศรีธรรมราช 50 (100) ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเล พฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเล จำนวน (ร้อยละ) การบริโภคอาหารทะเลที่จับได้เอง หรืออาหารทะเลที่ผลผลิตในหมู่บ้าน ปานกลาง 2 (4) มาก 17 (34) มากที่สุด 31 (62)

การบริโภคอาหารทะเลที่จับได้เอง หรืออาหารทะเลที่เป็นผลผลิตของคนในหมู่บ้าน 1 – 2 มื้อต่อสัปดาห์ 2 (4) 3 – 4 มื้อต่อสัปดาห์ 15 (30) มากกว่า 4 มื้อต่อสัปดาห์ 33 (66)

ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในครัวเรือน
การเลือกซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในครัวเรือน จำนวน (ร้อยละ) แหล่งขายวัตถุดิบที่ไปบ่อยที่สุดในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา Mekcro () Big C () TOPS () Lotus () ตลาดสดใกล้บ้าน () ร้านขายของชำ () ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการเลือกซื้อวัตถุดิบ ใกล้บ้าน () ที่จอดรถสะดวกสบาย () ความทันสมัยและความหลากหลายของสินค้า () สินค้าราคาถูก () สินค้าสดใหม่ สะอาด ปลอดภัย () สินค้าปลอดสารพิษ () มีการจัดโปรโมชั่นลดราคาบ่อย () มีอาหารแช่แข็งเก็บไว้ได้นาน ()

ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องสุขภาพ ทัศนคติเรื่องสุขภาพ จำนวน (ร้อยละ) ความห่วงใยในสุขภาพ น้อยที่สุด 0 (0) น้อย 0 (0) ปานกลาง 3 (6) มาก 12 (24) มากที่สุด 35 (70) ด้านความห่วงใยในสุขภาพ การออกกำลังกาย () การเลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ () การรับประทานอาหารเสริม () การเล่นกีฬา () การตรวจสุขภาพประจำปี () การเลือกบริโภคอาหารที่ลดหวาน มัน เค็ม () การนวดแพทย์แผนไทย นวดฝ่าเท้า () การพบแพทย์ทางเลือก () การหลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีควันบุหรี่ () โรคประจำตัว ไม่มี 34 (68) มี 16 (32) สูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่ 42 (84) สูบบุหรี่ (1-2 ครั้ง/วัน) 2 (4) สูบบุหรี่ (3-4 ครั้ง/วัน) 4 (8) สูบบุหรี่ (มากกว่า 4 ครั้ง/วัน) 2 (4) การประกอบอาหารเพื่อรับประทานเอง ทุกวัน 28 (56) 1-2 วัน/ครั้ง 14 (28) มากกว่า 3-4 วัน/ครั้ง 8 (16) การใช้ผงชูรสหรือรสดีในการประกอบอาหารเพื่อรับประทานในครอบครัว ใช้ 13 (26) ไม่ใช่ 37 (74) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่คำนึงถึงในการประกอบอาหารเพื่อรับประทานเอง ปัจจัย ระดับความสำคัญ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด รสชาติถูกปาก / ปรุงรสได้ตามใจชอบ 0 (0) 1(2) 8(16) 17(34) 24(48) สะอาด / ปลอดภัยในกระบวนการผลิต 0 (0) 0 (0) 1(2) 25(50) 24(48) อาหารคุ้มค่ากับราคา 0 (0) 0 (0) 4(8) 24(48) 22(44) คุณค่าทางโภชนาการ 0 (0) 0 (0) 2(4) 15(30) 33(66) ใช้วัตถุที่ปราศจากสิ่งเจือปน 0 (0) 2(4) 2(4) 20(40) 26(52) ไม่ใช่สารปรุงแต่งที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย 6(12) 2(4) 6(12) 12(24) 24(48) ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช ปัจจัย จำนวน (ร้อยละ) สมาชิกร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช เป็น 50 (100) ไม่เป็น 0 (0) สัตว์น้ำที่จับได้ขายให้กับร้านคนจับปลานครศรีธรรมราช ขาย 44 (88) ไม่ขาย 6 (12) พอใจในการบริหารจัดการของคนจับปลานครศรีธรรมราช พอใจ 50 (100) ไม่พอใจ 0 (0) การนำกำไรไปใช้ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร เห็นด้วย 50 (100) ไม่เห็นด้วย 0 (0) ร้านคนจับปลานครศรีธรรมราชต้องมีเป่าหมายในอนาคตด้านการตลาด การเพิ่มกลุ่มเป้าหมายในการเลือกซื้อสินค้า การเพิ่มยอดขายออนไลน์ เพื่อที่จะนำกำไรไปใช้ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร

 

0 0

2. ประชุมคณะทำงานดำเนินโครงการ และสมาชิก

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ความสำเร็จของกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ
  2. กลุ่มเป้าหมายของโครงการได้รับสิทธ์ประโยชน์ในการทำกิจกรรม เช่น การการ  เทคนิดออนไลน์เป็นต้น
  3. ได้คุณภาพของสัตว์น้ำที่ผ่านการรับรองจาก มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในเรื่องของคุณค่าทางโภชนาการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รายละเอียดกิจกรรม 1. ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนเรื่องอาหารทะเลปลอดภัย
2.ชี้แจงวัตถุประสงค์แผนงานในการจัดทำโครงการ 3. รายงานความก้าวหน้าของโครงการที่ได้ดำเนินการ 4. รายงานความสำเร็จของโครงการ 5. ปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข 3. หารือและกำหนดรายละเอียดแผนงานการดำเนินในระยะต่อไป

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 11 6                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 102,250.00 28,262.00                  
คุณภาพกิจกรรม 24                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางสาวตีเมาะ อิสอ
ผู้รับผิดชอบโครงการ