directions_run

การจัดการอุบัติเหตุทางถนนอย่างยั่งยืน ตำบลโกตาบารู

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็งยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลไก ศปถ.ตำบลและเกิดศูนย์เรียนรู้ความปลอดภัยทางถนน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 คณะอนุกรรมการ ศปถ.ตำบล มีการประชุมอย่างต่อเนื่องกิจกรรมที่ 8 1.2 .เกิดคณะกรรมการ ศปถ.ตำบลตามบทบาทหน้าที่(ตามระเบียบที่กำหนดไว้) กิจกรรมที่ 1 1.3.มีแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนความร่วมมือและการบูรณาการ กิจกรรมที่ 1 1.4. เกิดโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนมีการประสานงานกับเครือข่ายกิจกรรมที่ 1 1.5. มีข้อมูลพื้นที่จุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุกิจกรรมที่ 5 8 1.6. เกิดศูนย์เรียนรู้ความปลอดภัยทางถนนกิจกรรมที่ 3 ผลลัพธ์ที่2 เกิดกลไกขับเคลื่อนงานตามแผน(หมู่บ้าน/ตำบล) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1.เกิดวาระตำบล/กติกาชุมชนและการบังคับใช้กติกากิจกรรมที่ 1 2.2.เกิดการเชื่อมประสานกับกลไกระดับตำบลกิจกรรมที่ 1 2.3.เกิดกลไกลการป้องกันการเกิดเหตุอย่างต่อเนื่องของชุมชนกิจกรรมที่ 1 3 4 5 6 2.4.มีการติดตามการดำเนินงานตามแผนและคืนข้อมูลของศปถ.ตำบลและสื่อสารอย่างต่อเนื่องกิจกรรมที่ 1 6 8
30.00

 

 

 

2 เพื่ออุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง
ตัวชี้วัด : พฤติกรรมเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไขร้อยละ 60กิจกรรมที่ 1 2 5 7 2.จุดเสี่ยงได้รับส่งต่อร้อยละ 100กิจกรรมที่ 1 2 5 7 3.พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไขร้อยละ70 กิจกรรมที่ 1 2 5 7 4.ผู้ขับขี่หน่วยงานราชการมีการสวมหมวกนิรภัยร้อยละ70 กิจกรรมที่ 1 2 7 ผลลัพธ์ที่ 4 อุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ร้อยละ 50 2 อัตราการบาดเจ็บลดลง ร้อยละ 50 3 อัตราการตายลดลงร้อยละ50
30.00

 

 

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
ตัวชี้วัด : คณะทำงานมีศักยภาพบริหารจัดการโครงการ
5.00