directions_run

ยกระดับการผลิตผักปลอดภัยในครัวเรือนตำบลบันนังสตา

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษรกรให้เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลุ่มเข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น ร้อยละ50 หรือไม่ต่ำกว่า 10 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีข้อมูล พื้นที่การปลูกของสมาชิกและการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีข้อตกลง กติกากลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.4 เกิดแผนการดำเนินงานของ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.5 สมาชิกกลุ่มมีความรู้ ทักษะ การผลิต และมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.6 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 1 ผลลัพธ์ที่ 2 มีพื้นที่ปลูกผักเป็นที่ต้องการของตลาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีแผนการผลิต/ปลูกผักปลอดภัยรายแปลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 จำนวนพื้นที่ปลูกผักเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 แปลง/ชนิดผักปลอดภัยที่ปลูกเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ที่ 3 มีแปลง/ผัก ที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีจำนวนแปลงผักที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 2)

 

 

 

2 เพื่อให้ครัวเรือนสมาชิกกลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ่นจากการจำหน่ายผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 4 มีระบบกลไกสนับสนุนการผลิตและการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 มีการติดตามตรวจแปลงรับรองผักปลอดภัยเป็นระยะ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 มีแผนการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีจุดกระจ่ายสินค้าอย่างน้อย 1 จุด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดคนต้นแบบการผลิตผักปลอดภัย ผลลัพธ์ที่ 5 เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าการขายผักปลอดภัยที่ผ่านมาตรฐาน GAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 สมาชิกโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัยอย่าน้อย 400 กรัม/วัน/คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.3 มีการติดตาม ประเมินผล กับพี่เลี้ยง(ARE ครั้งที่ 3 )