directions_run

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มโรคเบาหวานในวัยทํางาน อายุ 35–59 ปี บ้านเกาะนางทอง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการทำงาน คณะทำงานที่มีความรู้ในการลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงาน 15 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่รพ.สต.เกาะนางคำ จำนวน 3 คน กำนัน สมาชิกสภาเทศบาล 1 คน กลุ่มเป้าหมาย 2 คน และ อสม. 8 คน 2. เกิดแผนการดำเนินงานและกลไกติดตามผลการดำเนินงาน 3. เกิดชุดเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลและการใช้เครื่องมือในการบันทึกข้อมูล

 

2 เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้และความตระหนักเพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงาน และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง โดยวัดจากคะแนนผลการทำสอบก่อนและหลังการอบรม 2. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรม 3. กลุ่มเป้าหมายมีข้อตกลงร่วมกันในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4. กลุ่มเป้าหมายสามารถวางแผนการปรับพฤติกรรมของตนเองได้ ร้อยละ 80 5. เกิดต้นแบบการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 5 คน

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้ประกอบการร้านขายอาหารและเครื่องดื่มเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 2. เกิดกติกาชุมชน 3. เกิดร้านค้าอาหารปลอดภัยในชุมชน อย่างน้อย 1 ร้าน 4. เกิดตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าในชุมชน

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มเป้าหมายมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานลดลง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรม 2. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 70 มีสุขภาพดีขึ้น โดยวัดจากข้อมูลสุขภาพ (ผลระดับน้ำตาลในเลือด DTX BMI) 3. กลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 10

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 1.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด ร้อยละ 100 2.สามารถจัดส่งรายงานต่าง ๆ ได้ตามกำหนด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการทำงาน คณะทำงานที่มีความรู้ในการลดภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้และความตระหนักเพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และกลุ่มเป้าหมายมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานลดลง (5) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน 5 ครั้ง จำนวน 15 คน (3) กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ แก่ผู้ประกอบการร้านขายอาหาร และร้านขายเครื่องดื่มในชุมชน พร้อมจัดทำกติการ่วมกันระหว่างร้านค้าและชุมชน (5) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้คณะทำงานในการจัดทำข้อมูลและการบันทึกบอร์ดสุขภาพ จำนวน 15 คน (6) กิจกรรมที่ 3  อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย และคณะทำงานเรื่องโรคเรื้อรัง การดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง และการรับประทานอาหารให้เหมาะสม และ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ การชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คำนวณค่า BMI และการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลื (7) กิจกรรมที่ 4  ประชุม ติดตามผลของโครงการ (ARE ครั้งที่ 1) (8) ชื่อกิจกรรมที่ 7  ถอดบทเรียนคืนข้อมูลสู่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh