directions_run

สร้างพลังใจเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยซึมเศร้า ตําบลหารเทา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.เกิดคณะทำงานเครือข่ายด้านกิจกรรมเยาวชน 20 คน ประกอบด้วย ตัวแทนสภาองค์กรชุมชน 1 คน,ผู้นำ ชุมชน 2 คน, เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 คน,ตัวแทน สภาสตรี 1 คน,ตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ 10 คน ผู้ปกครอง3คน และ ผอ.โรงเรียน2 คน 2.มีเครื่องมือประเมินแบบคัดกรอง แบบทดสอบ EQ,ประเมินชุดประเมินผล(นอนหลับดี,-กินได้ ความสัมพันธ์ในครอบครัว) 3.มีการกำหนดโครงสร้าง บทบาทหน้าที่และกติกา การทำงานแผนการดำเนินงาน

 

2 เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสามารถนำไปปฏิบัต
ตัวชี้วัด : 1.เกิดชุดข้อมูลด้านสุขภาพใจของกลุ่มเป้าหมาย 100 เปอร์เซ็น 2.กลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย ร้อยละ80 มีความรู้และผ่าน การทดสอบการเข้าสังคม โดยการประเมินก่อน-หลัง

 

3 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายใจ
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพจิต สุขภาพทางกายร้อยละ60 2. กลุ่มเป้าหมาย 40 คน คือ เยาวชนในชุมชนช่วงอายุ 10 - 17 ปี เข้าร่วมกิจกรรม”ห้องสมุดมีชีวิต”

 

4 เพื่อให้กลุ่มเยาวชนมีที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตดีที่เข้าถึงได้
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมาย 40 คน คือ 2. กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพจิตดีขึ้นร้อยละ 60 ประเมินชุดประเมินผล -นอนหลับดี -กินได้ -ความสัมพันธ์ในครอบครัว 3.มีกลุ่มจิตอาสาให้คำปรึกษาแก่เยาวชนผ่านทางกลุ่ม “เพื่อนเคียงข้างใจ”

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชุมชน 0
ผู้ปกครอง 0
เยาวชน อายุ 10-19 ปี 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานที่เข้มแข็ง (2) เพื่อให้คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสามารถนำไปปฏิบัต (3) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายใจ (4) เพื่อให้กลุ่มเยาวชนมีที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตดีที่เข้าถึงได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (5 ครั้งตลอดโครงการ) (2) ค่ายอบรมให้ความรู้คณะทำงาน 20 คน และกลุ่มเป้าหมาย 40 คน (3) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนหลักสูตรการปฐมนิเทศก่อนการดำเนินโครงการ (4) จัดการประชุมติดตามผล AREครั้งที่1 (5) ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เด็กได้เข้าร่วมกิจกรรม(จัดกิจกรรม 4 ครั้ง) (6) เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงานตามโครงการ(ARE2) (7) ค่ายอบรม (8) เงินสมทบ (9) สร้างความเข้าใจบทบาทหน้าที่และคณะทำงาน (10) ประชุมติดตามผล (11) ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ (12) 4.1.กิจกรรมนอกห้องเรียน (13) 4.2.กิจกรรม “เพื่อนเยี่ยมเพื่อน” (14) 4.3.ส่งเสริมลานกิจกรรม (15) เวทีถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh