directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนที่มีน้ําหนักเกินในโรงเรียนบ้านควนแหวง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดคณะทำงานร่วมในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงานในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียนจำนวน 15 คน ที่มา ร.ร. ท้องถิ่น สถานีอนามัยเฉลิม พระเกียรติฯ บ้านควนปอม ชุมชน และมีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างขัดเจน 2. เกิดกองทุนอาหารเช้าในโรงเรียน

 

2 เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ครู และแม่ครัว มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการของเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน 2. มีแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย 3. มีแผนโภชนาการในโรงเรียน

 

3 เพื่อเกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับพฤติกรรมสุขภาพของเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. มีแปลงผักปลอดภัยในโรงเรียน จำนวน 1 แปลง 2. มีบ่อเลี้ยงปลาในโรงเรียน จำนวน 2 บ่อ 3. มีการทำข้อตกลงร่วมกันเรื่องอาหารและการปรับพฤติกรรมร่วมกัน ระหว่างชุมชนกับโรงเรียน 4. มีการบูรณาการกิจกรรมทางกายร่วมกับการเรียนการสอนของโรงเรียน

 

4 เพื่อเกิดกลไกการติดตามประเมินผลการปรับพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1. มีการติดตามและประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียน อย่างน้อย 2 ครั้ง

 

5 เพื่อเด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. สัดส่วนน้ำหนักลดลง อย่างน้อยไม่เกินร้อยละ10 2. มีพฤติกรรมการกินและการออกกำลังกายดีขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 80

 

6 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : 1.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด ร้อยละ 100 2.สามารถจัดส่งรายงานต่างๆ ได้ตามกำหนด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 183
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู และแม่ครัว โรงเรียนบ้านควนแหวง 13
นักเรียนโรงเรียนบ้านควนแหวง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3- 50
ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก โรงเรียนบ้านควนแหวง 120

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดคณะทำงานร่วมในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการนักเรียน (2) เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ครู และแม่ครัว มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการของเด็ก (3) เพื่อเกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับพฤติกรรมสุขภาพของเด็ก (4) เพื่อเกิดกลไกการติดตามประเมินผลการปรับพฤติกรรม (5) เพื่อเด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น (6) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์และค้นหาคณะทำงาน (2) ปฐมนิเทศน์โครงการ (3) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (4) พัฒนาศักยภาพผู้รับทุน (5) ประชุมคณะทำงานวางแผนออกแบบกิจกรรมการจัดตั้งกลุ่มกิจกรรมทางกายตามความถนัดของกลุ่มเป้าหมาย (6) เปิดโครงการ (7) ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายโรงเรียน (8) ลงพื้นที่เก็บข้อมูลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเป้าหมายในครอบครัว (9) ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (10) ประชุมคณะทำงานวางแผนในการออกแบบกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมาย (11) การปลูกผักปลอดสารพิษและการทำปุ๋ยหมักในโรงเรียน (12) สาธิตการเลี้ยงปลาดุกและทำอาหารปลาในบ่อซีเมนต์ (13) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (14) ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1 (15) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 (16) กิจกรรมติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาระดับแผนงานร่วมทุน ครั้งที่ 1 (17) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (18) ประเมินพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน (19) ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 2 (20) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (21) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 (22) กิจกรรมติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาระดับแผนงานร่วมทุน ครั้งที่ 2 (23) ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 3 (24) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 (25) ประกวดผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh