directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสียงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.1 คนวัยทำงานมีความรู้และตระหนักความสำคัญของปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 1.2 มีแผนงานการดูแลสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงที่เหมาะสมวัยทำงานของตนเองอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
80.00

 

 

 

2 เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนงานเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดคณะทำงานทุกภาคส่วน 20 คนที่สามารถขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 มีกติกา/ข้อตกลงของชุมชนที่ได้รับการยอมรับ 2.3 มีข้อมูลและแผนการทำงานการส่งเสริมสุขภาพ อย่างน้อย 1 แผนงาน
20.00

 

 

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 3.1 เกิดกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ อย่างน้อย 2 กลุ่ม 3.2 เกิดตลาดสุขภาพ อย่างน้อย 1 แห่ง 3.3 เกิดแม่ครัวต้นแบบ อย่างน้อย 1 กลุ่ม
1.00

 

 

 

4 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 4.1 กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ได้ ร้อยละ 80 4.2 จำนวนบุคคลต้นแบบ อย่างน้อย 10 คน
80.00

 

 

 

5 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิตมีแนวโน้มลดลง
ตัวชี้วัด : 5.1 จำนวนกลุ่มเป้าหมายความดันโลหิตลดลง ร้อยละ 80
80.00