directions_run

โครงการแหล่งเรียนรู้อยู่ในสวนสมุนไพร ชุมชนบ้านหัวช้าง หมู่ที่ 2 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแหล่งเรียนรู้อยู่ในสวนสมุนไพร ชุมชนบ้านหัวช้าง หมู่ที่ 2 ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 54-01576
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2554 - 30 มิถุนายน 2555
งบประมาณ 204,580.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจตุพล ฝายเส็ม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 2 ตำบล ตะโหมด อำเภอ ตะโหมด จังหวัด พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.296406,100.049place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมหมู่บ้านเพื่อสรรหาคณะทำงานและเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินงานตามโครงการ
  2. กิจกรรมการรับสมัครเยาวชนเข้าร่วมโครงการ “รักษ์พืชสมุนไพร” จำนวน 30 คนโดยต้องสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมตลอดโครงการ  และให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการพืชสมุนไพรให้ยั่งยืน
  3. กิจกรรมทัวร์สมุนไพร  เดินป่าในพื้นที่ป่าต้นน้ำเขาหัวช้างเพื่อสำรวจ จัดทำแผนที่พืชสมุนไพรและถ่ายทอดความรู้แก่กลุ่มเยาวชนโดยมีแพทย์พื้นบ้านร่วมกับคณะทำงานและกลุ่มเยาวชนเป็นแกนนำในการสำรวจ
  4. กิจกรรมการจัดทำแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรชุมชน           - จัดทำแปลงรวบรวมพันธ์เพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน           - เพาะ ขยายพันธ์กล้าไม้ที่รวบรวมจากป่า และบางส่วนนำปลูกคืนสู่ป่าตามสถานการณ์ต่อไป
              - แสวงหาต้นกล้าพันธุ์สมุนไพรที่สูญพันธ์ไปแล้วในพื้นที่และไม้หายากใกล้สูญพันธุ์จากนอกพื้นที่มาปลูกและขยายพันธุ์เพิ่มในแหล่งเรียนรู้และคืนสู่ป่า 50 ชนิด
    • จัดทำหนังสือคู่มือ/เอกสารพืชสมุนไพรประจำแหล่งเรียนรู้และเอกสารเผยแผร่
    • จัดทะเบียนและป้ายชื่อพืชสมุนไพรแต่ละชนิดในแหล่งเรียนรู้
  5. กิจกรรมถ่ายทอดความรู้และคืนข้อมูลสู่ชุมชนโดยหมอใหญ่ในชุมชนจำนวน 50 คน 6  ครั้ง
  6. กิจกรรม “วันสมุนไพรคืนป่า” โดยมีเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์สมุนไพรในจังหวัดพัทลุงระหว่างนักวิชาการแพทย์แผนไทย หมอพื้นบ้าน ตัวแทนชุมชนและตัวแทนกลุ่มเยาวชน นิทรรศการการดำเนินงานตามโครงการ และกิจกรรมร่วมกันปลูกสมุนไพรในพื้นที่ป่าต้นน้ำเขาหัวช้าง
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ส.ค. 2554 15:59 น.