แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ ”

บ้านเกาะบุโหลน ม. 1 ต. ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปรีดา โสรมณ์

ชื่อโครงการ โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ

ที่อยู่ บ้านเกาะบุโหลน ม. 1 ต. ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 55-01883 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0980

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านเกาะบุโหลน ม. 1 ต. ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านเกาะบุโหลน ม. 1 ต. ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล รหัสโครงการ 55-01883 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 186,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเกิดแกนนำของชุมชนในการจัดการขยะ 2. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปฏิบ้ัติการจัดการขยะ 3. เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการจัดการขยะที่ถูกต้องของประชาชนในชุมชนและสนับสนุนกลไกชุมชน เครือข่ายในการจัดการขยะอย่างครบวงจร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เรียนรู้ทำความเข้าใจกระบวนการในเรื่องการทำเว๊บไซตของโครงการและฝึกปฏิบัติการรายงานกิจกรรมผ่านเว๊บไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจรายละเอียดในการทำโครงการ สามารถรายงานการปฏิบัติงานของโครงการทางเว๊บไซตได้

     

    0 0

    2. ปฐมนิเทศ

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อให้สมาชิกในทีมสามารถใช้เวป และลงบันทึกข้อมูลเพื่อการรายงานโครงการได้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ทีมงานจำนวน สองคน สามารถเปิดเข้าไปใช้งานในเวบได้ สมัครเข้าเป็นสมาชิกและทดสอบการรายงานผ่านหน้าเวบได้ถูกต้อง 2.ทีมงานจำนวน 2 คนมีความมั่นใจในการรายงานผลงานของโครงการผ่านหน้าเวป และมีการนัดแนะกันเพื่อจะไปบอกต่อๆให้สมาชิกในทีมคนอื่นมีความเข้าใจ
    3.สมาชิกในทีมได้มีการวางแผนในการทำงานในพื้้นที่เพื่อการรายงาน ได้แก่ การตกลงกันว่าจะใช้คอมพิวเตอร์ของใคร จะรายงานที่ไหน และมีคนช่วยกันจำนวนกี่คน

     

    0 0

    3. สื่อสารประชาสัมพันธ์(กิจกรรมย่อย ประชาสัมพันธ์โครงการ )

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แกนนำจำนวน 5 คน ได้มีการประชาสัมพันธ์ตามแผนโดยการเดินบอกปากเปล่าและติดป้ายตาม่จุดที่ได้วางไว้
    2. แก่นนำโครงการได้มีการแจ้งวัตถุประสงค์ ลักษณะกิจกรรมของโครงการพร้อมนัดวันที่เปิดโครงการเพื่อให้ชาวบ้านมาร่วมมากๆ
    3. ผู้ใหญ่บ้านมีการประชาสัมพันธ์โครงการตลอดที่มีการประชุมและทุกครั้งที่มีนักท่องเที่ยวหรือหน่วยงานราชการมาติดต่อเพื่อดำเนินงานต่างๆบนเกาะบุโหลน เช่น นักศึกษาจากคณะพยาบาลมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. แกนนำได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในหมู่บ้านเข้าใจและเข้าร่วมโครงการได้อย่างสมัครใจจำนวนชาวบ้านที่รับทราบโครงการให้ความสนใจและบอกว่าจะมาร่วมในวันเปิดโครงการ จำนวนประมาณ 80 คน โดยมีทั้งชาวบ้าน ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว
    2. แกนนำสนุกสนาน กับการประชาสัมพันธ์มีเด็กๆบนเกาะมาช่วยติดป้ายประชาสัมพันธ์ และช่วยเดินบอกต่อให้
    3. ผู้ใหญ่บ้านมีสีหน้าสดชื่นและแสดงความชื่นชอบในการทำงานของแกนนำ

     

    0 0

    4. ประชุมแกนนำโครงการ

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมแกนนำจำนวน 6 คนที่บ้านนางปรีดา โสรมณ์ โดยมีนางปรีดาโสรมณ์เป็นประธานและนางสาวภัทริกา องศาราเป็นเลขา จำนวนสมาชิกเข้าร่วมจำนวน 6 คน
    2. หารือวันเปิดโครงการ ได้เป็นวันที่ 28-29 พฤศจิกายน โดยเริ่มงานตอนเย็นและอบรมตอนเช้าของวันที่ 29 พฤศจิกายน ลักษณะกิจกรรมให้มีการแสดงในวันที่ 28 ตอนกลางคืนเพื่อให้มีคนมาร่วมจำนวนมาก
    3. หารือมาตรการจัดการขยะ และแยกขยะโดยทุกคนเห็นด้วยการการจัดทำธนาคารขยะและช่วยกันคิดหาทีมงานให้ให้ครบถ้วนหาดต่างๆบนเกาะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เกิดแกนนำในการขับเคลื่อนเรื่องการจัดการขยะในชุมชนเกาะบุโหลนเล
    2. มีการกำหนดวันที่ 28-29 พฤศจิกายน เป็นวันเปิดโครงการและจัดอบรมให้ความรู้เรื่องขยะการจัดการขยะของเกาะ
    3. แกนนำมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการดำเนินงาน

     

    0 0

    5. 1 เปิดเวทีเตรียมความพร้อม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. กิจกรรมที่เกิดได้แก่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 เริ่มงาน เวลา 17.00-22.00 น.มีชาวบ้านเข้าร่วมจำนวน 112 คน มีกิจกรรมการแสดงโดยวิทยากรจากวง ครัวราบารา ได้มีการประชาสัมพันธ์โครงการและเชิญตัวแทนจากสสส.ได้แก่ พี่เลี้ยงคุณนภาภรณ์ แก้วเหมือน มากล่าวที่มาของโครงการและร่วมร้องเพลงสุนกสนานกับชาวบ้าน หลังจากนั้นมีการแสดงรอเง็งของสมาชิกแม่บ้านซึ่งเป็นชาวเลบนเกาะและได้มีการแจกรางวัลโดยการสนับสนุนรางวัลของพี่เลี้ยงจากสสส. และมีการให้ชาวบ้านนักท่องเที่ยวรับประทานอาหารร่วมกัน และร่วมแสดงความคิดเห้นเกี่ยวกับโครงการ
    2. กิจกรรมในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 เริ่มงานเวลา 9.00 น- 15.00 น.มีชาวบ้านมาเข้าร่วมจำนวน 120 คน กำหนดการได้แก่
        -  เปิดงานโดยตัวแทนจากสจรส. มอ. กล่าวเปิดงานให้โอวาส   -  พี่เลี้ยงโครงการกล่าวถึงที่มาของโครงการ แนะนำสมาชิกโครงการและจำนวนงบประมาณที่ได้รับ การตรวจสอบงบประมาณผ่านหน้าเว็ป
        -  ตัวแทนแกนนำ กล่าวถึงการดำเนินงานของโครงการแนะนำสมาชิก   -  อบรมให้ความรู้เรืองประเภทของขยะ ทีมาของขยะ และการจัดการขยะวิธีการต่าง รวมถึงการนำขยะกลับมาใช้ใหม่โดยวิธีต่างๆ เช่น การขาย การทำปุ๋ยหมัก การดัดแปลงทำเป็นอุปกรณ์นำกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น   -  เปิดเวทีสะท้อนข้อมูลของขยะบนเกาะโดยแกนนำ และการขอความร่วมมือในการดำเนินงาน   -  กิจกรรมสร้่างแรงบันดาลใจ โดยวงครัวราบารา เปิดวีดีโอ ชุดอัลเลาะโน เพื่อให้มิติทางศาสนาในการเหนี่ยวนำให้ทำความดีมีแรงบันดาลใจ
        -  ประชาชนที่มาร่วมงานแสดงความคิดเห็น และกล่าวความรู้สึกต่อทีมงาน   -  กล่าวคำสัญญาในการดำเนินโครงการ จัดมือร่วมกันและให้มีการลงชื่อครัวเรือนที่เข้าร่วมดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนเข้าร่วมโครงการจำนวนมากกว่าที่ตั้งเป้าไว้
    2. เกิดแกนนำจำนวน 3 กลุ่ม
    3. ประชาชนทุกกลุ่มเข้าร่วม ได้แก่ ชาวบ้านทั่วไป ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยวและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการ คือ อุทยานแห่งชาติ  ครู นักเรียน หน่วยงานสาธารณสุข
    4. ประชาชนบนเกาะรับทราบโครงการกันอย่างทั่วถึงทุกอ่าว
    5. มีการเดินสำรวจรอบเกาะโดยแกนนำร่วมกับทีมวิทยากร พี่เลี้ยง เพื่อประเมินก่อนดำเนินโครงการ เรื่องจำนวนขยะ พบว่ามีขยะตามชายหาดมากพอสมควร ผู้ประกอบการไม่มีการแยกขยะ ครัวเรือนต่างๆบนเกาะไม่มีการแยกขยะ และชุมชนบนเกาะแบ่งตามหาด ได้แก่ หาดบังกาน้อย บังกาใหญ่ อ่าวม่วง อ่าวโรงเรียน จึงมีคำแนะนำจากพี่เลี้ยงให้มีการจัดหาแกนนำให้ได้ครบทุกหาด

     

    0 0

    6. การจัดตั้งกองทุนขยะเพื่อพัฒนาสวัสดิการชุมชน(กิจกรรมย่อย จัดทำธนาคารขยะ)

    วันที่ 2 ธันวาคม 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการสร้างโรงเรือนธนาคารขยะโดยกลุ่มแกนนำจำนวน 5 คน และจ้างวานผู้ที่มีความชำนาญมาช่วยอีก 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีโรงเรือนธนาคารขยะในุมชนและมีการรับซื้อขยะจากชาวบ้านที่นำมาขายกับธนาคารขยะ

     

    0 0

    7. พัฒนาสวัการจัดตั้งกองทุนขยะเพื่อพัฒนาสวัสดิการชุมชน(กิจกรรมย่อย รับซื้อขยะชุมชน)

    วันที่ 14 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีชาวบ้านนำขยะมาขาย จำนวน 8 คน และรีสอร์ทต่างๆจำนวน 7 แห่ง
    2. จำนวนขยะที่รับซื้อมีดังนี้ ขวดแก้ว 157 กิโลกรัม ขวดพลาสติก 150 กิโลกรัม กระดาษลัง 100 กิโลกรัม กระป๋องนม 48 กิโลกรัม กระป๋องน้ำอัดลม 23 กิโลกรัม ได้นำไปขายบนฝั่งได้เงินมาจำนวน 3176 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านและตัวแทนจากร้านอาหารให้ความร่วมมือดี
    2. แกนนำติดภาระกิจบ้างและมีการส่งตัวแทนมาช่วยงานบางส่วน
    3. การรับซื้อและกิจกรรมหยุดชงักเพราะมีวฝนตกต้องให้ชาวบ้านนำขยะมาขายในวันต่อมา

     

    0 0

    8. การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ขยะชุมชน(กิจกรรมย่อย )

    วันที่ 17 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. กำหนดการวันที่ 17 ธันวาคม 2555 เริ่มงาน 18.00 น
      • เปิดงานแบบสนุกสนานโดยทีมวิทยากรวงครัวราบารา
      • การแสดงของแกนนำ 1 ชุด
      • การแสดงกลุ่มเยาวชน กลุ่มตาวิเศษของเกาะ 1 ชุด
      • กิจกรรมสันทนาการ จับรางวัล ครอบครัวอบอุ่น
      • กิจกรรมตอบปัญหา เช่น ชนิดของขยะ การทำลายขยะ รับรางวัล
      • จับรางวัลผู้ลงทะเบียนร่วมงาน โดยรางวัลทุกชิ้นได้รับการสนับสนุนจากทีมพี่เลี้ยงโครงการ
      • ทีมแกนนำจากอ่าวต่างๆ ได้แก่ อ่างบังกาน้อย อ่าวบังกาใหญ่ อ่าวโรงเรียน อ่าวม่วง กล่าวถึงการดำเนินงานแต่ละอ่าวและแสดงความรู้สึกต่อการดำเนินโครงการ
      • สันทนาการสลับกับการจับรางวัล
      • ปิดงานเวลา 22.30 น และประชาสัมพันธ์เรืองการจัดอบรมในวันรุ่งขึ้น เป็นการอบรบแกนนำและกลุ่มเยาวชนแกนนำ
    2. ประเมินเสีียงตอบรับโครงการจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและลงทะเบียนในงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนบนเกาะมาร่วมงานจำนวนมากทั่วทุกอ่าวบนเกาะ
    2. บรรยากาศในงานสนุกสนาน มีเสียงหัวเราะรอยยิ้ม และคนร่วมงานจนถึงงานเลิกเวลา 22.30 น.
    3. ผลประเมินตอบรับโครงการดีมาก ประชาชนให้ความร่วมมืออยากให้มีโครวการต่อเนื่องแบบนี้นานๆ

     

    0 0

    9. การจัดตั้งกองทุนขยะเพื่อพัฒนาสวัสดิกการชุมชน(กิจกรรมย่อย)

    วันที่ 18 ธันวาคม 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดอบรมเยาวาชนแม่บ้านแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อกันระหว่างเยาวชนแม่บ้านและวิทยากรและแกนนำ
    2. มีรายชื่อแกนนำแต่ละอ่าวพร้อมทั้งผู้นำของแต่ละอ่าวและตัวแทนเยาวชนในการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านตกลงจะให้ความร่วมมือในการกำจัดขยะบริเวณที่ตนอยู่ช่วยกันดูแลความสะอาด

     

    0 0

    10. การจัดตั้งกองทุนขยะเพื่อพัฒนาสวัสดิการชุมชน(กิจกรรมย่อยรับซื้อขยะชุมชน)

    วันที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีชาวบ้านนำขยะมาขายเป็นจำนวนมากกว่าเดิม่ และมีผู้ประกอบการร้านอาหาร รีสอร์ทต่างๆเพิ่มมากขึ้น
    2. จำนวนขยะที่รับซื้อทั้งหมดมีปริมาณมากกว่าเดือนก่อน
    3. แกนนำนำขยะทั้งหมดไปขายบนฝั่งได้เงินมาจำนวน 4,419 บาทและจัดให้กับสมาชิกที่ได้มาขาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านนำขยะมาขายโดยแยกขยะได้อย่างถูกต้อง รีสอร์ทร้านค้าต่างๆมีการคัดแยกขยะและนำขยะมาขายมากขึ้น
    2. ชาวบ้านเริ่มกระจายข่าวกันมากขึ้นและมีการพูดกันปากต่อปากในการับซื้อขยะของชุมชนทุกเดือน เริ่มมีการพูดคุยถึงการดำเนินการที่สะดวกขึ้น เช่น ให้มีการขนขยะให้สะดวกโดยอาจเป็นรถเข็นหรือแกนนำช่วยกันขน และพูดคุยถึงราคาขยะรับซื้อ เลือกชนิดขยะที่ดี เป็นต้น

     

    0 0

    11. สื่อสาประชาสัมพันธ์(กิจกรรมย่อย เปิดเสียงตามสายเชิญชวนให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมจัดตั้งกองทุนธนาคารขยะชุมชน)

    วันที่ 19 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำโครงการเปิดเสียงตามสายที่มัสยิดบ้านเกาะบูโหลน โดยเชิญชวนให้ชาวบ้านมาร่วมการจัดตั้งกองทุนธนาคารขยะชุมชนในวันที่ 23 มกราคม 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านและเยาวชนบ้านเกาะบูโหลนให้ความสนใจ และตอบรับในการเข้าร่วม

     

    0 0

    12. ประชุมแกนนำโครงการ

    วันที่ 22 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำโครงการร่วมกันปรึกษาหารือและแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน มีคณะแกนนำมาประชุม 8 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำโครงการเกิดความเข้าใจในโครงการและร่วมกันปรึกษาหารือแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน 

     

    0 0

    13. จัดตั้งกองทุนขยะเพื่อสวัสดิการชุมชน

    วันที่ 23 มกราคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีการประชุมประชาชนและแกนนำตามเวลาที่กำหนดเพื่อร่วมกันหารือแนวทางการจัดตั้งกองทุนและดำเนินงานของชุมชน
    2. มีการคัดเลือสมาชิกในการดำเนินงานของกองทุน
    3. มีการจัดตั้งกองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การจัดตั้งกองทุนเกิดจากความร่วมมือของประชาชนในพื้นที่
    2. สมาชิกกองทุนได้รับการคัดเลือกจากประชาชนในพื้นที่
    3. ทุกคนที่เข้าร่วมประชุมมาด้วยความสมัครใจ
    4. บรรยากาศในที่ประชุมเป็นไปด้วยดีมีความเห็นร่วมกัน

     

    0 0

    14. ปรับพื่นที่ให้สะอาด

    วันที่ 24 มกราคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำร่วมกับเยาวชนทำความสะอาดตามอ่าวบริเวนชายหาด โดยมีแกนนำ เยาวชน และนักท่องเที่ยว รวมกัน จำนวน 25 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการปรับพื้นที่บริเวณชายหาด โดยมีแกนนำ เยาวชนและนักท่องเที่ยวร่วมกันทำความสะอาดทำให้บริเวณชายหาดสะอาดยิ่งขึ้น

     

    0 0

    15. ปรับพื้นที่ให้สะอาด

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แกนนำร่วมกับเยาวชนกำหนดพื้นที่ในการทำความสะอาดได้แก่อ่าวบริเวนชายหาดพังกาน้อย
    2. ร่วมกันคัดแยกให้กับกองทุนขยะและกำจัดโดยการเผา
    3. แกนนำกล่าวขอบคุณในการสละเวลาและสรรเสริญความดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. บริเวณชายหาดพังกาน้อยสะอาดไม่มีขยะให้เห็น
    2. แกนนำและเยาวชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการพูดคุยสนุกสนานและนัดแนะกันในการมาช่วยกันเก็บขยะในอีกเดือนต่อไป
    3. เกิดตัวแทนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน

     

    0 0

    16. การจัดตั้งกองทุนขยะเพื่อพัฒนาสวัสดิการชุมชน(กิจกรรมย่อย รับซื้อขยะชุมชน)

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีชาวบ้านนำขยะมาขาย
    2. มีการแยกขยะ ชั่งน้ำหนักขยะและลงบันชีขยะของแต่ละคน หรือร้านค้า รีสอร์ท
    3. มีการคัดแยกขยะพักในโรงเรือนอย่างเป็นระเบียบ สวยงาม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านและผู้ประกอบการให้ความร่วมมือมากขึ้นและแยกขยะได้อย่างถูกต้อง
    2. มีการรับทราบอย่างทั่วถึงทั้งเกาะในเรื่องธนาคารขยะและกองทุนขยะของเกาะ
    3. นักท่องเที่ยวมาสมทบและผู้ใหญ่บ้านขอคำแนะนำจากแกนนำและอยากให้มีโครงการนี้บนเกาะบุโหลนดอนซึ่งเป็นเกาะที่ใกล้เคียงกัน

     

    0 0

    17. ส่งเสริมความรู้สู่ชุมชน

    วันที่ 16 มีนาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีทีมงาน เยาวชน และอสม. ร่วมกันจัดบอร์ด โดยมีทีมงาน 2คน เยาวชน 2-3 คน ช่วยกันดูแลและหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมงาน เยาวชน และอสม. ร่วมกันจัดบอร์ด ทำให้ชุมชนมีความรู้ในการจัดการขยะมากขึ้น

     

    0 0

    18. ปรับพื้นที่ให้สะอาด

    วันที่ 24 มีนาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สะอาดได้แก่อ่าวบริเวนชายหาด 2. ร่วมกันคัดแยกให้กับกองทุนขยะ 3. แกนนำกล่าวขอบคุณในการสละเวลาแก่ชาวบ้านและเยาวชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. บริเวณชายหาดสะอาดไม่มีขยะให้เห็น
    2. แกนนำและเยาวชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

     

    0 0

    19. ประขุมแกนนำโครงการ

    วันที่ 19 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมแกนนำจำนวน 6 คนที่บ้านนางปรีดา โสรมณ์ โดยมีนางปรีดาโสรมณ์เป็นประธานและครูโรงเรียนบ้านเกาะบูโหลนเป็นเลขา จำนวนสมาชิกเข้าร่วม 4 คน
    2. หารือเกี่ยวกับการประกวดบ้านสะอาด 3.หารือเกี่ยวกับการถอดบทเรียนในนวันที่ 2 พฤษภาคม 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีการกำหนดวันที่ 30 เมษายน เป็นวันประกวดบ้านสะอาดและ 2 พฤษภาคม เป็นวันถอดบทเรียนเส้นทางขยะ
    2. 1แกนนำมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการดำเนินงาน

     

    0 0

    20. สื่อสารประชาสัมพันธ์ (กิจกรรมย่อย รับสมัครบ้าน และรีสอร์ท ที่สะอาดและจัดแยกขยะเรียบร้อย)

    วันที่ 20 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เชิญชวนให้ชาวบ้าน และผู้ประกอบการ มาสมัครแข่งขันบ้านและรีสอร์ทสะอาดและแยกขยะเรียบร้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีชาวบ้านและผู้ประกอบการมาสมัคร
    2. ชาวบ้านยินดีและสนใจสมัคร

     

    0 0

    21. ประเมิลผล/ถอดบทเรียน (กิจกรรมย่อย มอบเกียรติบัติแก่บ้านที่สะอาด)

    วันที่ 30 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการสำรวจความสะอาดของแต่ละบ้านและรีสอร์ทในชุมชนบ้านเกาะบูโหลน 2. มีการจัดงานเลี้ยงตอนกลางคืน เพื่อมอบเกียรติบัตรแก่บ้านที่สะอาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนบนเกาะมาร่วมงานจำนวนมาก
    2. บรรยากาศในงานสนุกสนาน มีเสียงหัวเราะรอยยิ้ม และคนร่วมงานจนถึงงานเลิกเวลา
    3. ชาวบ้านเกาะบูโหลนรู้สึกภูมิใจที่ได้รับรางวัลและเกียรติบัตร

     

    0 0

    22. ปรับพื้นที่ให้สะอาด

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชาวบ้านและเยาวชนร่วมกันเก็บขยะที่ลอยมาจากทะเล
    2. ชาวบ้านและเยาวชนร่วมกันคัดแยกขยะ
    3. แกนนำกล่าวขอบคุณชาวบ้านและเยาวชนที่สละเวลามาทำความสะอาดชายหาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. บริเวณชายหาดสะอาดขึ้นกว่าเดิม
    2. แกนนำและเยาวชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

     

    0 0

    23. ประเมินผล/ถอดบทเรียนเส้นทางขยะ

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีประชาชน เยวชนและวิทยากร เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 85 คนกสนาน 2.  ประชาชน เยาวชน และวิทยากร ร่วมกันประเมินผลด้วยความสามัคคี
    2. มีการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มความสนุกสนาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีประชาชน เยวชนและวิทยากร เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 85 คนกสนาน 2.  ประชาชน เยาวชน และวิทยากร ร่วมกันประเมินผลด้วยความสามัคคี
    2. มีการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มความสนุกสนาน

     

    0 0

    24. การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ขยะของชุมชน ( กิจกรรมย่อย เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน)

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนข้อมูลให้กับชุมชนโดยการชี้แจงให้เห็นถึงผลที่ได้จัดการขยะให้ถูกวิธี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านทุกคน เยาวชนเข้าใจ และยินดีที่จะสนับสนุนโครงการบุโหลนปลอดขยะ

     

    0 0

    25. ส่งเสริมความรู้สู่ชุมชน (กิจกรรมย่อย ส่งเสริมจัดบอร์ดความรู้เรื่องการจัดการขยะ)

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีแกนนำ 2 ชาวบ้าน 1 เยาวชน 2 ร่วมกันจัดบอร์ดความรู้กี่ยวกับการจัดการขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแกนนำ ชาวบ้าน และเยาวชนร่วมกันจัดบอร์ดความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ด้วยความเต็มใจ

     

    0 0

    26. สื่อสารประชาสัมพันธ์(กิจกรรมย่อย ติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่างๆ)

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ร่วมกันจัดบอร์ด ทำไวนิล 2.ทำกิจกรรมกลุ่มกับแกนนำและนักเรียน 3.ร่วมกันเก็บขยะริมหาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1แกนนำเข้าร่วมทั้งหมด 7 คน 2.นักเรียนเข้าร่วมทั้งหมด 30
    3.มีกิจกรรมตามที่ได้ระบุ คือจัดบอร์ด 2 บอร์ด ไวนิล 5 ชิ้น 4.เก็บขยะหน้าหาด อ่าวพังน้อยและอ่าวหน้าโรงเรียน

     

    10 40

    27. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน

    วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบเอกสารแก้ใขถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจสอบเอกสารการเงิน

     

    10 5

    28. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน

    วันที่ 23 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบเอกสารให้ตรงและถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เอกสารเรียบร้อย ถูกต้อง

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเกิดแกนนำของชุมชนในการจัดการขยะ 2. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปฏิบ้ัติการจัดการขยะ 3. เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการจัดการขยะที่ถูกต้องของประชาชนในชุมชนและสนับสนุนกลไกชุมชน เครือข่ายในการจัดการขยะอย่างครบวงจร
    ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนร้อยละ 80 เข้าร่วมโครงการ 2. จำนวนแกนนำในการขับเคลื่อนเกิดขึ้นทุกอ่าว ได้แก่ อ่าวพังกาน้อย อ่าวพังกาใหญ่ อ่าวม่วงและอ่าวหน้าโรงเรียน 3. จำนวนหน่วยงานเข้าร่วมโครงการหลายภาคส่วน ได้แก่ โรงเรียน อุทยานแห่งชาติ อบต. รพสต.บ่อเจ็ดลูก 4. เกิดมาตรการจัดการขยะในชุมชน 1 มาตรการ 5. เกิดกองทุนขยะ 1 กองทุน 6. ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะในบ้านเรือน 7. เจ้าของรีสอร์ทในพื้นที่มีการคัดแยกขยะ 8. เกิดแกนนำใหม่ในการดำเนินงาน ได้แก่ โรงเรียน กลุ่มแม่บ้าน และเอกชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเกิดแกนนำของชุมชนในการจัดการขยะ 2. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปฏิบ้ัติการจัดการขยะ 3. เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการจัดการขยะที่ถูกต้องของประชาชนในชุมชนและสนับสนุนกลไกชุมชน เครือข่ายในการจัดการขยะอย่างครบวงจร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ

    รหัสโครงการ 55-01883 รหัสสัญญา 55-00-0980 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชาวบ้าน และเยาวชนรู้คุณค่าและรู้จักการคัดแยกขยะ
    - ก่อนดำเนินโครงการไม่มีการจัดการขยะบนเกาะ และไม่การการรวมตัวกันของชาวบ้านเพื่อทำกิจกกรรมแก้ปัญหาของชุมชน - หลังดำเนินโครงการมีกลุ่มแกนนำในการดำเนินโครงการ โดยใช้ความรู้ในการจัดการขยะ

    รูปถ่าย , บอร์ดบนเกาะ 2 บอร์ด

    นำขยะมาแปรรูปเป็นสิ่งประดิษฐ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

    ประชุมและมีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มแกนนำชุมชนในการดำเนินงานโดยมีชาวบ้านทุกอ่านและหน่วยงานต่างๆเข้าร่วม เช่น อบต.  ครู อุทยาน ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว

    • คณะกรรมการการในการดำเนินงานประกอบด้วยทุกฝ่ายที่มีส่วนเกียวข้อง
    • การแบ่งโซนในการทำงาน
    • มีกติกาการทำงน เช่น ประชุมทุก 1-2 เดือน
    • สมุดบันทึกรายงานการประชุม

    ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการจัดตั้งโครงการบุโหลนเลปลอดขยะให้กับนักท่องเที่ยวได้รู้เพิ่มมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีแหล่งเรียนรู้ธนาคารขยะที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในการคัดแยกขยะของชุมชน

    • รูปถ่าย
    • คณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนขยะ
    • สมุดบันทึกรับซื้อขยะ

    อนาคตมีการเพิ่มจุดธนาคารขยะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ชาวบ้านรู้จักแยกแยะขยะ ทำให้บริเวณบ้าน และชุมชนสะอาด

    รูปถ่าย

    ปลูกฝังและให้รู้อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคในชุมชนลดน้อยลง

    รุปถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    ชาวบ้านและเยาวชนร่วมกันเก็บขยะ มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เชื่อมโยงในการออกกำลังกาย

    กลุ่มแกนนำเยาวชน  กลุ่มแกนนำทั้ง 5 อ่าว

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    ช่วยลดความเครียดในการลดค่าใช้จ่ายภายในบ้าน บริเวณบ้านสะอาดทำให้คนมีสุขภาพจิตดี

    แบบประเมินความพึงพอใจ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ชาวบ้านรู้จักคัดแยกขยะ ไม่ว่าเป็นขยะครัวเรือนหรือบริเวณบ้าน

    ครัวเรือนและรีสอร์ทที่เข้าร่วมโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ชาวบ้านสามารถคัดแยกขยะเปียก ขยะแห้งและขยะอันตราย

    รูปถ่ายและประกาศนียบัตร  บ้านและรีสอร์ทที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ทำให้ชาวบ้านมีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้โดยการเก็บขยะมาแลกเป็นเงิน

    สมุดบัญชีฝากธนาคารขยะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    -ให้นักท่องเที่ยวเก็บขยะจากเกาะคืนสู่ฝั่ง โดยการร่วมมือกับอุทยาน ผู้ประกอบการในพื้นที่ ชาวบ้าน ให้เขตเกาะบูโหลนเป็นเขตพื้นที่ปลอดขยะ - วันที่ 14 ของเดือนจะมีการรับซื้อขยะ

    รูปถ่าย  กติกาโดยติดป้ายประกาศบนเกาะ

    มีการจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์การทิ้งขยะตามจุดต่างๆ ให้ชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดมาตรการทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินงานของโครงการ โดยมีการประกาศเป็นเกาะบุโหลนไม้ไผ่ปลอดขยะ และจัดระบบให้นักท่องเที่ยวนำขยะขึ้นฝึ่ง และมีตู้บริจาคเพื่อซึ้อถุงขยะดำแจกให้กับนักท่องเที่ยวทุกคนที่เข้าไปเที่ยวบนเกาะ

    ประกาศมาตรการบนเกาะ  ตู้บริจาค

    การใช้มาตรการ การจัดการให้เกิดความร่วมมือในพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ชาวบ้าน ผู้ประกอบการ อุทยาน ครู นักเรียน นักท่องเที่ยว เกิดการเชื่อมโยงประสานงานกันในเรื่องของการจัดการขยะ

    รูปถ่าย คณะกรรมการดำเนินงาน รายงานการประชุม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    เริ่มแรกชาวบ้านไม่รู้จักการคัดแยกขยะ ทิ้งขยะไม่เป็นที่ทำให้เกิดปัญหา จึงทำให้เกิดการวางแผนในการแก้ปัญหา โดยการจัดทำโครงการบุโหลนเลปลอดขยะ

    รูปถ่าย  กลุ่มแกนนำชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการประชุมแกนนำ ครู เจ้าหน้าที่อุทยาน และผู้ประกอบการ ในการจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง

    บัญชีรายรับ จ่ายของการรับซื้อขยะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ชาวบ้าน ผู้ประกอบการ และเยาวชน มีความรู้ในการคัดแยกขยะมากขึ้น

    แบบประเมินความพึงพอใจ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    รู้สึกภาคภูมิใจที่ได้พัฒนาความเป็นอยู่ของคนเกาะบูโหลนให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

    รูปถ่าย  ตัวแทนกลุ่มแกนนำ บอร์ดประชาสัมพันธ์บนเกาะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ชาวบ้านรู้จักเสียสละเวลาส่วนตน เพื่อพัฒนาชุมชนของตนเองให้มากขึ้น

    รูปถ่าย  จำนวนชาวบ้านที่เข้ามาร่วมกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ช่วยให้ชาวบ้านมีความสามัคคีและช่วยเหลื่อซึ่งกันและกัน

    รูปถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการเกาะบุโหลนเลปลอดขยะ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 55-01883

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปรีดา โสรมณ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด