ชื่อโครงการ | สานสัมพันธ์คนสามวัยสืบสานตำรับสมุนไพรพื้นบ้าน |
ภายใต้โครงการ | โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ |
รหัสโครงการ | 55-01822 |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 |
งบประมาณ | 164,080.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอำนวย สุขหวาน |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านไกรไทย หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช |
ละติจูด-ลองจิจูด | 8.2345962458905,99.775543436313place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2555 | 4 มี.ค. 2556 | 1 ต.ค. 2555 | 4 มี.ค. 2556 | 0.00 | |
2 | 5 มี.ค. 2556 | 30 ต.ค. 2556 | 5 มี.ค. 2556 | 30 ต.ค. 2556 | 0.00 | |
รวมงบประมาณ | 0.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (164,080.00 บาท)
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมและความสามัคคีของชาวบ้าน จากวิธีการคือช่วยกันฟื้นฟูภูมิปัญญาสมุนไพรท้องถิ่นให้ชาวบ้านในหมู่ที่ 4 บ้านไกรไทย ได้เรียนรู้และนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์เกิดความรัก หวงแหน สมุนไพรหายากในท้องถิ่น 1.1 มีแปลงปลูกสมุนไพรร้อยละ 30 ของครัวเรือน 1.2 มีแปลงสมุนไพรสำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้หรือสืบทอดภูมิปัญญาชาวบ้าน ปลูกสมุนไพร 50 ชนิด |
||
2 | เพื่อให้ชาวบ้านสามารถบอกต่อการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์โดยถ่ายทอดความรู้จากปราชญ์ชาวบ้านสู่แกนนำครอบครัว แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชนและคณะทำงาน สามารถสร้างเส้นทางสมุนไพรในชุมชนให้เกิดตำรับสมุนไพรได้ 3 ตำรับ 2.1 มีตำรับสมุนไพรบ้านไกรไทย 3 ตำรับ ได้แก่ลูกประคบสมุนไพร ชุดอบสมุนไพร ยาต้มสมุนไพร บำรุงเลือด 2.2มีปราชญ์ชุมชนด้านสมุนไพร 3 ตำรับ ตำรับละ 2 คน สามารถถ่ายทอดตำรับสมุนไพรให้ลูกหลานได้ |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
- ประชุมคณะทำงานก่อนและหลังทำกิจกรรมเป็นประจำทุกเดือน
- ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงกิจกรรมตามโครงการ และระดมสมองจัดทำเส้นทางสมุนไพร โดยเชิญปราชญ์ชุมชน แกนนำชุมชน
- ประชุมครั้งที่ 2 ประชุมเพื่อจัดทำคุ่มือสรรพคุณสมุนไพร
- ประชุมครั้งที่ 3 จัดกิจกรรมและเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกพืชสมุนไพร และแบ่งกลุ่มปลูกสมุนไพร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสมุนไพร
- ประชุมครั้งที่ 4 จัดประชุมวิเคราะห์การใช้สมุนไพรชุมชน การพัฒนาแปลงสมุนไพรสาธิตในชุมชนและถ่ายทอดความรุู้เกี่ยวกับสมุนไพรสู่ประชาชน
- ประชุมครั้งที่ 5 ปราชญ์ชุมชนสอนแนะการแปรรูปสมุนไพร การทำลูกประคบ
- ประชุมครั้งที่ 6 ปราชญ์ชุมชนสอนแนะการจัดทำชุดอบสมุนไพร
- ประชุมครั้งที่ 7 จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับความรู้ สรรพคุณ โทษ ประโยชน์ และการแปรรูปสมุนไพร และสรุปผลการดำเนินกิจกรรม
- จัดกิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับฐานสมุนไพรในชุมชน
- สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2555 13:55 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ