stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างกระบวนการเรียนรู้สู่ชีวิตที่ปลอดโรค
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01833
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556
งบประมาณ 149,160.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววันดี อักษรคง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านอู่แก้ว หมุ่ที่ 9 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.05519200876,100.11055405464place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2555 19 ม.ค. 2556 1 ต.ค. 2555 19 ม.ค. 2556 0.00
2 20 ม.ค. 2556 31 ต.ค. 2556 20 ม.ค. 2556 31 ต.ค. 2556 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (149,160.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้นำมาปฏิบัติตน เกิดวิธีคิดแบบเศรษฐกิจพอเพียง สู่ความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้

1.มีฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 4 ฐาน การทำน้ำหมักชีวภาพ การปลูกผักปลอดสารพิษ การทำข้าวกล้อง การทำน้ำยาเอนกประสงค์ สบู่ ยาสระผม

2.มีครัวเรือนต้นแบบในการลดการใช้สารเคมี  จาก 5 ครัว เพิ่มเป็น 30 ครัวเรือน ภายใน 1 ปี

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะกรรมการก่อนและหลังดำเนินกิจกรรมทุกเดือน
  2. ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงโครงการ ให้ความรู้เรื่องสารเคมี วิธีการลดสารพิษตกค้าง เจาะเลือดหาสารพิษตกค้างในกลุ่มเป้าหมาย
  3. ประชุมครั้งที่ 2 จัดกลุ่มเรียนรู้การปลูกผักโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ และดำเนินการปลูกที่บ้าน และจัดกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันที่ศาลาเอนกประสงค์
  4. ประชุมครั้งที่ 3 จัดกิจกรรมรื้อครัว ลดการใช้สารเคมี ปลูกผักกินเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
  5. ประชุมครั้งที่ 4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพ และสาธิตการทำน้ำหมัก  และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก 2 เดือนภายในกลุ่ม จัดฐานเรียนรู้ในชุมชน
  6. ประชุมครั้งที่ 5 จัดประชุมการเรียนรู้ การน้ำยาเอนกประสงค์ ยาสบู่ ยาสระผม และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้  จัดฐานเรียนรู้ในการถ่ายทอดความรู้
  7. ถอดบทเรียนการดำเนินงานตามโครงการ
  8. จัดทำเอกสาร เผยแพร่ผลการดำเนินงาน
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2555 14:05 น.