directions_run

พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม ”

บ้านกะโสมเหนือ บ้านผู้ใหญ่ นายวิรัตน์ ใจกระจ่าง เลขที่ประจำตัวประชาชน 3800900394916 ที่อยู่ 26 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80310 โทรศัพท์ 083-1825046 80310

หัวหน้าโครงการ
นายสัจจา พิพัฒน์ผล

ชื่อโครงการ พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม

ที่อยู่ บ้านกะโสมเหนือ บ้านผู้ใหญ่ นายวิรัตน์ ใจกระจ่าง เลขที่ประจำตัวประชาชน 3800900394916 ที่อยู่ 26 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80310 โทรศัพท์ 083-1825046 80310 จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 55-01868 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0955

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านกะโสมเหนือ บ้านผู้ใหญ่ นายวิรัตน์ ใจกระจ่าง เลขที่ประจำตัวประชาชน 3800900394916 ที่อยู่ 26 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80310 โทรศัพท์ 083-1825046 80310

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านกะโสมเหนือ บ้านผู้ใหญ่ นายวิรัตน์ ใจกระจ่าง เลขที่ประจำตัวประชาชน 3800900394916 ที่อยู่ 26 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80310 โทรศัพท์ 083-1825046 80310 รหัสโครงการ 55-01868 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 128,160.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. .เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานทรัพยากรของชุมชน
  2. เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มจากการทำบัญชีครัวเรือน และเกษตรผสมผสาน เกิดอาหารปลอดภัยที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมชี้แจงดำเนินการนำร่องโครงการ

    วันที่ 5 ตุลาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้งรายละเอียดของโครงการ ทำความเข้าใจ และมอบหมายงานให้ทีมกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการมีความเข้าใจ  และรับมอบหมายหน้าที่ตามมติที่ประชุม  คณะกรรมการรับเอกสารของโครงการไปศึกษาทำความเข้าใจเพิ่มเติม  และเตรียมไว้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานของโครงการตลอดระยะเวลา  1 ปี  คณะกรรมการที่เป็นคณะกรรมการขององค์กรเกษตรผสมผสานจะรับหน้าที่เป็นวิทยากรในกิจกรรมต่างๆ

     

    0 0

    2. มาปฐมนิเทศผู้เข้าร่วมโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้ร่วมโครงการ 3 คน มาร่วมประชุม กับ ตัวแทน สสส. ในเรื่องการบริหารโครงการ เป็นที่เข้าใจ และสามารถนำมาปฏิบัติได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมเสร็จตามกำหนดการประชุม

     

    0 0

    3. มาปฐมนิเทศผู้เข้าร่วมโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้ร่วมโครงการ  3 คน มาร่วมประชุม กับ ตัวแทน สสส. ในเรื่องการบริหารโครงการ เป็นที่เข้าใจ และสามารถนำมาปฏิบัติได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมเสร็จตามกำหนดการประชุม

     

    0 0

    4. จัดเวทีชี้แจงโครงการแก่ชุมชน.

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานโครงการ คือ นายสัจจา พิพัฒน์ผล เข้าร่วมประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน แจ้งวาระการประชุมต่อประธานในที่ประชุม คือ นายวิรัตน์ ใจกระจ่าง เพื่อขอเวลาแจ้งรายละเอียดของโครงการฯ เวลา 14.30 น. ได้แจ้งรายละเอียดกับตัวแทนครัวเรือน 126 คน และประกาศรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 126 คน ที่เข้าร่วมประชุมรับทราบโครงการพัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม ซึ่งมีนายสัจจา พิพัฒน์ผล เป็นประธานโครงการฯ มีชาวบ้านหลายคนให้ความสนใจ และแจ้งความประสงค์จะสมัครร่วมโครงการ

     

    20 20

    5. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการจำนวน 15 คน ได้ประชุมร่วมกับคณะกรรมการองค์กรเกษตรผสมผสาน โดยมีนายสัจจา พิพัฒน์ผล เป็นประธานในที่ประชุม ได้แจ้งวาระการประชุม ในเรื่องการสรุปกิจกรรมจัดเวทีชี้แจงโครงการแก่ชุมชน คณะกรรมการช่วยกันออกแบบใบสมัครและช่วยกันกำหนดวิธีการ โดยในช่วงที่มีการหาเสียงของการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลตำบลกะปางจนเลือกตั้งเสร็จ ให้คณะกรรมการช่วยกันรับสมัครชาวบ้านที่สนใจในเขตบ้านของตนเอง และให้นำมารวมกันในวันที่ 19 ธ.ค.2555

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้ช่วยกันสรุปกิจกรรมในวันที่ 16 พ.ย.2555 การจัดเวทีชี้แจงโครงการชาวบ้านเข้าร่วม 126 คน มีหลายคนสนใจ โครงการน่าจะดำเนินไปได้ คณะกรรมการได้ออกแบบใบสมัครและมอบหมายให้คณะกรรมการไปรับสมัครชาวบ้านในเขตบ้านของตนเอง

     

    15 30

    6. ประคณะกรรมการดำเนินโครงการ

    วันที่ 19 ธันวาคม 2555 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการจำนวน 15 คนได้มาประชุม มีนายสัจจา พิพัฒน์ผล ประธานในที่ประชุม ได้คุยเรื่องการรวบรวมใบสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ และการวางแผนการทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน คณะกรรมการแต่ละคนได้นำใบสมัครผู้เข้าร่วมโครงการมารวบรวมได้ 30 ครัวเรือน และที่ประชุมมีมติว่า ควรจะเปิดให้ผู้สนใจสมัครเพิ่มได้อีกจนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการช่วยกันรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการได้จำนวน 30 ครัวเรือน และกำหนดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือนในวันที่ 27 มกราคม 2556 ทางโครงการได้เชิญวิทยากรจากองค์กรเกษตรผสมผสาน 3 ท่าน และประสานงานกับ ธกส.สาขาที่วัง อำเภอทุ่งสง เรื่องขอสนับสนุนสมุดบัญชีครัวเรือน

     

    0 0

    7. ประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 19 มกราคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาจารย์พี่เลี้ยงแนะนำการรายงานผลการดำเนินงานทั้งทางอินเตอร์เนตและรายงานเอกสารทางการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการมีความเข้าใจการส่งรายงานผลการดำเนินโครงการ

     

    0 0

    8. รายงานความก้าวหน้าของโครงการกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 20 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนโครงการ  3  คนเข้าพบพี้เลี้ยงโครงการ ที่ห้องประชุมชั้น 2 ตึกอุบัติเหตุ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช รายงานการทำกิจกรรมที่ผ่านมา การเก็บหลักฐานทางการเงิน และ ปรับเปลี่ยนปฏิทินให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อ.กำไล ,อ.อภิวัฒน์ และอ.สุดา ช่วยตรวจความเรียบร้อยของเอกสารและแนะนำการรายงานผลการทำกิจกรรมของกลุ่มให้ทำให้เสร็จทันตามงบประมาณ และเวลาที่กำหนด ตัวแทนโครงการมีความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น

     

    0 0

    9. ปรชุมคณะกรรมการโครงการ

    วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการ 15 คน ร่วมประชุมที่ ทำการโครงการ มีนายสัจจา  พิพัฒน์ผลเป็นประธาน ประชุมเรื่องการเตรียมความพร้อมในการทำบัญชีครัวเรือน  เรื่องวิทยากร เรียบร้อยดี  การจักหาสมุดบัญชีครัวเรือน นายพยนต์  จันทร์มาศ ไปขอ ธกส. สาขาที่วัง มาได้  30  เล่ม คระกรรมกราได้รับแจกก่อนหน้านี้  8  เล่ม รวมจะมีสมุดที่สมาชิกได้ใช้  38  เล่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กำหนดวันที่ 27  มกราคม 2556 ทำกิจกรรม ใช้สถานที่ ที่ทำการโครงการ จัดเตรียมสถานที่  เตรียมสมุดบัญชีครัวเรือนไว้แจกผู้เข้าร่วมโครงการ  38  เล่ม  และมีการทำกิจกรรมอื่นๆอีก คือ สาธิตการทำน้ำยาล้างจานแจกสมาชิก  และการทำหุ้นหมูหลุม ซึ่งคณะกรรมการได้ทดลองเลี้ยงไว้ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้บริโภคหมูที่ปลอดภัย

     

    0 0

    10. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 27 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกทำบัญชีครัวเรือน ณ ที่ทำการโครงการ  โดยมีวิทยากรจากองค์กรเกษตรผสมผสานเป็นผู้ร่วมแลกเปลี่ยน โครงการได้ขอสนับสนุนสมุดบัญชีครัวเรือนจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์สาขาที่วัง อำเภอทุ่งสง จำนวน 38 เล่ม วิทยากรแนะนำการลงรายการในสมุดสมาชิกชักถามการลงรายการที่ไม่แน่ใจจะลงอย่างไร  การจัดกิจกรรมมีการกำหนดติดตามความก้าวหน้าของการทำบัญชืโดยการให้สมาชิกนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันทุกวันที่ 27 ของเดือน  และทางโครงการมีการส่งเสริมให้สมาชิกทำบัญชีกันในทุกครัวเรือน โดยการจัดให้มีรางวัลสำหรับสามชิกที่ทำบัญชีครัวเรือนอย่างสม่ำเสมอแม่ใกล้จะสิ้นสุดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกรับแจกสมุดบัญชีไปทำบัญชีครัวเรือนของตนเองเริ่มวันที่  1 มีนาคม  2556 การประสานงานกับธกส. เป็นผลจากธกส.จะเลือกหมู่ที่ 4 เป็นหมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง และจะประสานงานให้เกิดธนาคารต้นไม้ในหมู่ที่4 ของตำบลกะปาง เพราะในสมาชิกขององค์เกษตรผสมผสานที่ร่วมกิจกรรมกับโครงการพัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานมีการปลูกไม้ใช้สอย และไม่ยืนต้นที่สามารถขึ้นทะเบียนเป็นธนาคารต้นไม้ไว้แล้วหลายพันต้น

     

    50 60

    11. ประชุมคณะกรรมการโครงการ

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมณ ที่ทำการองค์กรเกษตรผสมผสานมีนายสัจจาเป๋็นประธาน  คณะกรรมการฃ่วยกันสรุปผลจากการกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำบัญชชีครัวเรือน และกำหนดให้คณะกรรมการแบ่งหน้าที่ในการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ผลสรุปการทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการจะมีการติดตามผลกันทุกวันที่ 27 ของเดือน มีการกำหนดรางวัลผู้ทำบัญชีครัวเรือนดีเด่น และกำหนดให้ นายสัจจา รับผิดชอบเรื่องการทำปุ๋ยน้ำจากขยะในครัวเรือน  นายจรินรับผิดชอบการทำน้ำหมักสำหรับหยอดขี้ยาง  นาปรีชารับผิดชอบการทำปุ๋ยน้ำจากพืชผัก

     

    0 0

    12. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำป๋ยน้ำ

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกเข้าให้ความสนใจร่วมเรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยน้ำสูตรต่างๆ ได้แก่ สูตรหมักจากเศษอาหารในครัวเรือน  สูตรหมักจากพืชผัก สูตรหมักจากส้มชนิดต่างๆ(สูตรน้ำส้มหยอดขี้ยาง) สมาชิกฝึกทำปุ๋ยน้ำ ฝึกเตรียมวัตถุดิบ เตรียมกากน้ำตาล เตรียมพด.2(เชื้อจุลินทรีย์ช่วยย่อยสลาย ได้รับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ติน)วิทยากรจากองค์กรเกษตรผสมผสานร่วมแลกเปลี่ยนกับสมาชิก  สมาชิกลงมือฝึกปฏิบัติทำปุ๋ยน้ำ  โครการแจกกากน้ำตาล และ พด.2 ให้สมาชิกไปฝึกทำที่บ้านของตนเอง มีตัวแทนจาก กศน.อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มาประสานงานกับโครงการเรื่องการปลูกผักและพืชพื้นบ้าน  จะให้งบประมาณสนับสนุนการทำกิจกรรมการขยายพันธุ์พืชของโครงการ คณะกรรมการโครงการจึงเชิญให้ชี้แจงรายละเอียดให้สมาชิกรับทราบด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจการทำปุ๋ยน้ำ มีทั้งสมาชิกในหมู่ที่ 4 และหมู่ท่ี 6 ซึ่งเป็นหมู่บ้านติดต่อกันเข้าร่วมกิจกรรมด้วย  สมาชิกให้ความสนใจการทำปุ๋ยน้ำที่ใช้ใส่ต้นยางและปุ๋ยน้ำสูตรน้ำส้มหยอดขี้ยาง  เพราะสามารถนำไปใช้ประโยชน์กับอาชีพของตนเองได้ โดยเฉพาะสูตรหยอดขี้ยางสมาชิกที่กรีดยางทำขี้ยางจะให้ความสนใจมาก  สนใจฝึกและรับแจกกากน้ำตาล และพด.2 ไปทำที่บ้านตนเองเมื่อทดลองทำแล้วไม่ยุ่งยาก
    สมาชิกได้ร่วมแลกเปลี่ยนกันในเรื่องประโยชน์ของปุ๋ยน้ำ มีสมาชิกได้ทดลองใช้ปุ๋ยน้ำแล้ว กรีดยางได้น้ำยางมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ใส่ปุ๋ยน้ำ สมาชิกอีกหลายๆคนสนใจจะใช้ปุ๋ยน้ำด้วย ผลจากการเข้ามาประสานงานของ กศน.อำเภอทุ่งสง เข้าร่วมเวทีชี้แจงโครงการที่ลงสู่ฃุมฃนให้ผู้ที่สนใจปลูกผักพื้นบ้าน  ก.ศ.น.จะทำให้โครงการได้รับงบประมาณสนับสนุนซิ้อพันธ์ผักพื้นบ้าน จำนวน 9,100 บาท โครงการสามารถแจกพันธุ์เขลียงให้แก่สมาชิกจำนวน 30 ครัวเรือนในกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชพืนบ้าน สมุนไพร และไม้ใช้สอย

     

    50 70

    13. ประชุมคณะกรรมการโครงการ

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการจำนวน 15 คนร่วประชุม มีนายสัจจา พิพัฒน์ผลเป็นประธานในที่ประชุมได้แจ้งวาระการประชุมเรื่องการสรุปการจัดกิจกรรมแลกเปลียนเรียนรู้เรี่องการทำปุ๋ยน้ำ และวางแผนงานการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมักและการขยายพันธุ์พืชพื้นบ้านพืชสมุนไพรและไม้ใช้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการช่วยกันสรุปการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยน้ำ ได้ผลสรุปคือ การทำปุ๋ยน้ำมีสมาชืกสนใจเข้าร่วมกิจกรรมทั้งคนในหมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 6 อาจมีผลมาจากผู้สนใจได้ทราบถึงประโยชน์ของการนำปุ๋ยน้ำไปใช้ ซึ่งสามารถทำสูตรบำรุงส่วนต่างๆของพืช และสามารถใช้แทนน้ำกรดหรือน้ำส้มฆ่ายางที่ชาวบ้านใช้ในการทำให้ยางแข็งตัว  ผู้สนใจนั้นได้เรียนรู้ปุ๋ยน้ำสูตรหมักจากพืช หมักจากเศษอาหารในครัวเรือน และสูตรหมักน้ำส้มหยอดขี้ยาง(ได้รับควมสนใจมาก) มีสมาชิกและผู้สนใจรับแจกกากน้ำตาลและ พด2 ไปทดลองทำที่บ้านของตนเอง ในวันนั้นและมีผู้สนใจเข้ามาขอความรู้เพิ่มหลังการทำกิจกรรม การวางแผนการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนดรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก กำหนด  วันที่  25 กุมภาพันธ์ 2556 สถานที่ คือ ที่ทำการกองทุนปุ๋นหมักชุมชนหมู่ที่ 4  โครงการจะประสานงานกับคณะกรรมการของกองทุนปุ๋ยฯ ให้เตรียมวิทยากรและวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักตามงบประมาณที่โครงการมีให้
    การวางแผนการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และไม้ใช้สอยนั้น กำหนดวนที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 คณะกรรมการ โครงการจะประสานงานกับคณะกรรมการกล่มพันธุ์กรรมพืชจัดเตรียมวิทยากรและวัสดุอุปกรณ์

     

    0 0

    14. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชพื้นบ้าน สมุนไพร และไม้ใฃ้สอย

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชผักพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และไม้ใช้สอย  สมาชิกได้ฝึกขยายพันธุ์พืชพื้นบ้านคือ ต้นเขลียง ด้วยวิธีการตอน ฝึกเตรียมถุงขุยมะพร้าว เชือกสำหรับผูกกิ่งตอน  ฝึกทำมีดสำหรับใช้ตอนกิ่ง
    การปลูกพืชพื้นบ้านสมาชิกส่วนใหญ่ต้องการปลูกต้นเขลียง เพราะสามารถปลูกแซมในสวนยางได้ ดูแลง่ายไม่ต้องใช้สารเคมี  ทางโครงการจะจัดหากิ่งพันธุ์เขลียงแจกให้สมาชิกเอง  เพราะการทำกิจกรรมนี้ทางโครงการได้รับความร่วมมือจาก กศน.ทุ่งสง สนับสนุนงบประมาณ จำนวน 9100 บาท ทางโครงการจึงกำหนดจะใช้งบประมารดังกล่าวซื้อกิ่งพันธุ์เขลียง  โดยจะซื้อจากสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการขยายพันธุ์กับโครงการ  สมาชิกที่ฝึกตอนกิ่งพันธุ์เขลียงในพื้นที่ตนเองต้งใช้เวลา 2-3 เดือนจึงจะสามารถให้กับโครงการได้ การปลูกผักสวนโครงการส่งเสริมให้สมาชิกปลูกผักสวนครัว สมาชิกได้รับแจกพันธุ์พริก และมะเขือไปปลูกในกระถาง ซึ่งกระถางนั้นสมาชิกมีมติให้จัดซื้อด้วยงบประมาณค่าอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกผุู้้เข้าร่วมโครงการสนใจการตอนกิ่งเขลียง ซึ่งการตอนนั้นสามารถปรับใช้ในการตอนพืชชนิดอื่นได้  สมาชิกมีการรวมกลุ่มกันลงแขกหรือหมุนเวียนกันช่วยตอนกิ่งเขลียงในพื้นที่ของตนเองและหมุนเวียนกัน จำนวน 10 คน ซึ่งกิ่งพันธุ์ที่ได้จากการตอนดังกล่าวจะนำมาจำหน่ายคืนให้กับโครงการบางส่วนและส่วนที่เหลือจะจำหน่ายผ่านกลุ่มพันธุ์กรรมพืช สมาชืกรับแจกถุงขุยมะพร้าวไปฝึกตอนที่บ้านตนเอง การปลูกพืชผักสวนครัวรับแจกพันธุ์มะเขือและพริกคนละ 15 ต้น กระถางคนละ 10 ใบ (เดิมจะแจกคนละ 15 ใบ แต่เนื่องจากมีผู้สนใจเพิ่มเติมจึงลดปริมาณเพื่อกระจายให้ได้คนปลูกจำนวนมากขึ้น)

     

    60 60

    15. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาฃิกเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำปูุุ๋ยหมัก  ฝึกทำปุ๋ยหมัก โดยมีวิทยากรจากกองทุนปุ๋ยหมักคอยให้คำแนะนำ มีการเรียนรู้สูตรปุ๋ยหมัก การเตรียมวัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก สมาชิกได้ทดลองทำปุ๋ยหมักโดยใช้วัตถุดิบต่างๆ ได้แก่  มูลสัตว์(มูลวัว มูลไก่ มูลหมู มูลค้างคาว )รำข้าว  ผักตบชวา แกลบ  น้ำหมักชีวภาพ และ พด.1  สมาชิกได้ช่วยกันฝึกกองปุ๋ยหมักเป็นชั้นๆ ตามที่วิทยากรแนะนำ ซึ่งปุ๋ยกองนี้เมื่อหมักสำเร็จจะได้นำมาแจกให้สมาชิกไปทดลองใช้ที่บ้านตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก  ฝึกทำปุ๋ยหมักได้ 1 กอง จะใช้เวลาหมักประมาณ 3 เดือน เมื่อเสร็จจะแบ่งกันไปใช้ที่บ้าน สมาชืกได้ใช้ปุ๋ยหมักที่กองทุนปุ๋ยหมักผลิตไว้แล้ว มาผสมกับดินเพื่อใส่กระถางปลูกพริกและมะขือที่โครงการแจกให้ สมาชิกของโครงการบางคนเป็นสมาชิกของกองทุนปุ๋ยหมักชุมชนหมู่ที่ 4 ได้ทดลองใช้ปุ๋ยตั้งแต่ ปี 2551 ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ มีการช่วยกันทำทุกปี ซึ่งจะทำกันช่วงปิดกรีด หรือหน้าแล้งเพราะว่างจากการทำสวนยาง เป็นระยะเวลาปิดกรีด และเป็นการเตรียมปุ๋ยไว้ใส่สวนยางก่อนจะเปิดกรีด แต่ละปีผลิตได้ไม่น้อยกว่า 30 ตัน

     

    50 50

    16. รายงานความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 13 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนโครงการคือ นายสัจจา  พิพัฒน์ผลไปนำเสนอการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตัวแทนนำเสนอการดำเนินโครงการ

     

    0 0

    17. ประชุมกรรมการ

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการที่ทำการโครงการมีคณะกรรมการเข้าร่วมสรุปงานและวางแผนงานที่จะทำในวันที่ 10 มิถุนายน 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปงานการทำกิจกรรมหลัก  4 กิจกรรมและกำหนดวันที่10 มิถุนายน  เพื่อทำหัตถกรรมจากสาคู

     

    0 0

    18. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำหัตถกรรมจากสาคู

    วันที่ 10 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกร่วมเรียนรู้การทำไม้กวาดจากชั้ง การสานชะลอมจากทางสาคู การทำกลดักแมลงจากทางมะพร้าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกที่เข้าทำไม้กวาดได้บางคน และได้ไมักวาดกลับไปใช้ที่บ้าน รู้วิธีการทำชะลอม การทำกลดักแมลง

     

    50 50

    19. ไปรายงานความก้าวหน้าที่ มอ.

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนโครงการเดินทางไปรายงานผล 1 คน คือ นางพวงน้อย  พิพัฒน์ผลได้นำส่งรายงานการเงินแบบไม่สมบูรณ์เนื่องจากการทำกิจกรรมยังไม่เสร็จสิ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่โครงการได้ทำรายงานให้ทางโครงการนนี้ทำกิจกรรมใฟห้เสร็จภายในเดือนกันยายน  2556

     

    0 0

    20. ประชุมกรรมการดำเนินงาน

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการ  ร่วมประชุมณ ที่ทำการโครงการโดยมีนายสัจจา พิพัฒน์ผลเป็นประธาน สรุปว่า การทำหัตถกรรมที่สมาชิกให้ความสนใจมากที่สุดคือการทำไม้กวาดดอกหญ้า เพราะสามารถผลิตแล้วนำไปใช้ได้ในครัวเรือน  และกำหนดทำกิจกรรมการทำแป้งสาคูในวันที่ 6 สิงหาคม 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้ช่วยกันสรุปการทำหัตถกรรมและวางแผนงานกำหนดวันที่6 สิงหาคมทำแป้งสาคู  ณ ที่ทำการกลุ่มอนุรักษ์และแปรรูปสาคูบ้านกะโสม

     

    0 0

    21. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมประชุม ณ ท่ีทำการโครงการ มีนายสัจจา พิพัฒน์ผล เป็นประธาน เพื่อปรับแผนการทำกิจกรรมการทำแป้งสาคูจากวันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 22 สิงหาคม และกำหนดการทำกิจกรรมการปลูกพืชพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และไม้ใช้สอย เป็นวันที่ 23 สิหาคม 2556 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการกำหนดวันที่ 22 สิงหาคมทำกิกกรรมทำแป้งสาคูและขนมจากแป้งสาคู ทำกิจกรรม ณ ที่ทำการกลุ่มอนุรักษ์และแปรรูปสาคูบ้านกะโสม  และกำหนดวันที่ 23 สิงหาคม ทำกิจกรรมการปลูกพืชพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และไม้ใช้สอย  ณ ที่ทำการองค์กรเกษตรผสมผสาน 

     

    0 0

    22. กิจกรรมการทำแป้งสาคูและขนมจากแป้งสาคู

    วันที่ 22 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการและคณะกรรมผู้ชายช่วยกันคัดเลือกต้นสาคูที่เหมาะสำหรับทำแป้ง ช่วยกันโค่นตัดเป็นท่อนๆ และขนท่อนสาคูมาทำแป้งที่กลุ่มอนุรักษ์และแปรรูปสาคู  การทำแป้งสาคูมีวิทยากรของกลุ่มอนุรักษ์ฯ ช่วยแนะนำกรรมวิธีการทำแป้งสาคู ซึ่งเริ่มจาก การคัดเลือกต้นสาคูที่เหมาะสม การโค่น การตัดเป็นท่อนๆ การปอกเปลือก การผ่าสาคูเป็นชิ้นๆให้เหมาะสำหรับการขูด  การขูดสาคูให้เป็นผงคล้ายการขูดมะพร้าว การปั้นเอาแป้งออกจากกากสาคู  การตกตะกอนแป้ง การล้างแป้ง  การตากและการร่อนแป้งเป็นเม็ดสาคู  สมาชิกให้ความสนใจและร่วมกันเรียนรู้  ส่วนการทำขนมจากแป้งสาคู  วิทยากรนำเสนอขนม  3  ชนิด ได้แก่ ขนมจาก ขนมกวน และขนมทองพับ  สมาชิกผู้หญิงจะให้ความสนใจเป็นพิเศษ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกให้ความสนใจและเล็งเห็นถึงความสำคัญของสาคูที่มีทั้งในด้านมูลค่าและการสืบทอดการใช้ประโยชน์ของสาคูจากรุ่นสู่รุ่น

     

    60 60

    23. จัดกิจกรรมการปลูกพืชผักพื้นบ้าน สมุนไพร และไม้ใฃ้สอย

    วันที่ 23 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกข้าร่วมแลกเลี่ยนเรียนรู้การปลูกพืชพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และไม้ใชสอยกับวิทยากร 3 ท่าน  เรื่องการปลูกพืชพื้นบ้าน วิทยากรได้นำเสนอพืชพื้นบ้านหลายชนิดเช่น  ผักเขลียง  ผักกูด ผักหวานช้างโขลง ส้มเม่า ตาหมัด ขี้พร้าแม่หมก ฯ  แนะนำการปลูก การใส่ปุ๋ยให้ใช้ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก  การดุแลไม่ยุ่งยาก ไม่มีโรคและแมลงมารบกวน  สมาชิกสามารถปลูกไว้เป็นอาหารที่ปลอดภัยของครอบครัว เรื่องพืชสมุนไพร วิทยากรได้แลกเปลี่ยนเรื่องชนิดของสมุนไพร  การนำมาใช้ประโยขน์ เช่น ยาตาล แก้ตาลทรางในเด็กเล็ก  ว่านหางจรเข้ ทารักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก  สเลดพังพอน ทาแก้พิษจากสัตว์ เช่น ตะขาบ งู แมลงมีพิษต่างๆ  กระวาน  ใช้ประกอบอาหาร รับประทานเพื่อแก้ท้องอืดท้องเพ้อ  ฟ้าทะลายโจร ช่วยแก้หวัด  ขมิ้นอ้อย รักษาเกี่ยวกับระบบเลือด  ชะมวง ช่วยละลายไขมันในเลือด ฯ
    เรื่องการปลูกไม้ใช้สอย  วิทยากรร่วมและเปลี่ยนกับสมาชิกโดยการแจกแบบสำรวจพันธุ์ไม้ต่างๆที่อยู่รอบบ้าน และในสวนของสมาชิก ซึ่งประกอบด้วย พันธุ์ไม้ผล ไม้ใฃ้สอย และผักพื้นบ้าน/พืชสมุนไพร  ซึ่งขอมูลที่ได้จากการสำรวจสมารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปลูกไม้ผลของสมาชิกในโอกาสต่อไป  การปลูกไม้ใช้สอยของสมาชิกบางคนปลูกมาหลายปีแล้ว และมีหลากหลายชนิด วิทยากรได้นำราเสนอรายละเอียดการปลูไม้ใช้หนี้ การปลูกไม้เพื่อออมเงินกับธกส. ในโครงการธนาคารต้นไม้  สมาชิกให้ความสนใจและอยากร่วมหลายคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกให้ความสนใจในทุกกิจกรรม เพราะการปลูกพืชผักพื้นบ้านนั้นสามารถสร้างรายได้ และได้บริโภคผักปลอดสารพิษ  การใช้สมุนไพรรักษา/บำบัดโรคก็สามารถหาได้ใกล้ตัว ส่วนการปลูกไม้ใช้สอยช่วยลดโลกร้อน มีไม้ไว้ใช้ยามจำเป็น ถ้าเข้าร่วมโรงการธนาคารต้นไม้ สามารถใช้หนี้และออมเงินกับธกส.ได้ สมาชิกร่วมสมัครเข้าร่วมโครงการแล้ว 12 คน

     

    60 60

    24. ประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 26 สิงหาคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการประชุมร่วมกันณ ที่ทำการโครงการ มีนายสัจจา  พิพัฒน์ผล เป็นประธาน ช่วยกันสรุปกิจกรรการทำแป้งสาคู  ขนมจากแป้งสาคู  และกิจกรรมการปลูกพืชพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และไม้ใช้สอย และคัดเลือกสมาชิกที่ทำกิจกรรมได้ดีใน 4 กิจกรรมคือการทำบัญชีครัวเรือน การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยน้ำ กาเตรียมดินและการปลูกผัก  เพื่อรับรางวัล เรื่องละ3 รางวัล  ยกย่องการทำดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการช่วยกันสรุปกิจกรรมได้ และคัดเลือกสมาขิกจำนวน  12  คน เพื่อรับรางวัล

     

    0 0

    25. การจัดเวทีสรุปการทำกิจกรรมของโครงการ

    วันที่ 27 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดเวทีสรุปกิจกรรมสมาชิกที่เข้าร่วมได้ช่วยกันนำเสนอกิจกรรมที่ตนเองได้ไปทำต่อที่บ้าน และกิจกรรมทีี่ชอบและคาดว่าจะทำต่อไป สมาชิกที่สนใจเข้าร่วมชิงรางวัลการทำกิจกรรมดีเด่นใน 4 กิจกรรมที่กำหนดได้รับทราบผลการคัดเลือกและรับรางวัลคือ  การทำบัญชีครัวเรือน ได้แก่  นายจรูญ  เจริญมณี  นางสุพัด  อุดมรัตนา
    การทำปุ๋ยหมัก ได้แก่  นายปลื้ม  สงเอียด  นายพยนต์  จันทรมาศ  การทำปุ๋ยน้ำ ได้แก่ นายชม  พริกเอียด  นางสาวปรารถนา  พิพัฒน์ผล และนางอรชร  สงเอียด    การเตรียมดินและการปลูกผักในกระถาง ได้แก่ นางถาวร  นกน้อย  นางขจร  หนูในนา  และนางสาลินี  อุุดมรัตนา  ส่วนอีก 2  รางวัลมอบให้แก่ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมดีดเด่น ร่วมทุกกิจกรรม สนใจ ใฝ่รู้ในกิจกรรมที่จัดขึ้น  อีก 2 รางวัล คือ  นาย สุธี  เพ็งสังข์  และนางละมุล เกิดศรี    คณะกรรมการได้ให้สมาชิกร่วมแสดความคิดเห็นต่อการทำโครงการในด้านต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การสรุปการทำกิจกรรมของโครงการได้ยกย่องผู้ร่วมกิจกรรมดีเด่นใน 4 เรื่อง สมาชิกผู้ได้รางวัลมีความภาคภูมิใจ สนใจจะทำกิจกรรมต่อไป การทำกิจกรรมต่างๆ ช่วยให้สมาชิกตระหนักถึงการรวมกลุ่มเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการประกอบอาชีพของตนเอง  เล็งเห็นคุณค่าของทรัพยากรที่ตนเองมีอยู่ เล็งเห็นแนวทางในการสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัว และการสร้างอาหารที่ปลอดภัยให้คนในครอบครัวได้บริโภค

     

    0 0

    26. ประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการช่วยกันสรุปกิจกรรมการสรุปผลการดำเนินกิจกรรม การมอบรางวัลคนทำดี 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสมาชิกที่ทำกิจกรรมดีเด่น 12 ท่าน บางคนทำแต่ไม่ได่้ส่งชื่อร่วมชิงรางวัล หลายคนสามารถนำไปสร้างรายได้ นำไปลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างอาหารที่ปลอดภัยไว้บริโภคในครัวเรือนเช่น ผักเขลียง ผักกูด ชะอม ผักหวาน ส้มเม่า  พริก  มะเขือ ฯ

     

    0 0

    27. กิจกรรมการถอดบทเรียนจากการดำเนินโครงการ

    วันที่ 4 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการ 15 คน ร่วมกับตัวแทนครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการร่วกันถ่ายทอดการทำกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ฃ้อมูลการทำกิจกรรมต่างของโครงการ ได้แก่การทำบัญชีครัวเรือน การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยน้ำ  การขยายพันธุ์พืชและการปลูกพืชพื้นบ้าน พืชสมุนไพร  และไม้ใช้สอย  การทำหัถตถกรรมจากสาคู ต้นชั้ง ใบมะพร้าม ไม้ไผ่ และ  การทำแป้งสาคูและขนมจากแป้งสาคู   

     

    100 100

    28. จัดทำเอกสารสรุปการดำเนินโครงการ

    วันที่ 8 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการทำเอกสารสรุปการทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เอกสารสรุปการทำโครงการพัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม

     

    0 0

    29. ร่วมงานของสสส.ที่หาดใหญ่

    วันที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนโครงการ 2 คน เข้าร่วกิจกรรมที่ทางสสส.จัดขึ้นที่หาดใหญ่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกได้รับความรู้ใหม่ๆ มีแนวคิดในการดำรงชึวิตให้มีสุขภาพที่ดี  อยู่อย่างมีความสุข 

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 .เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานทรัพยากรของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.1 ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 20 1.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำเกษตรผสมผสานกันทุกเดือน ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มจากการทำบัญชีครัวเรือน และเกษตรผสมผสาน เกิดอาหารปลอดภัยที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2.1 มีปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืช และดินปลูกใช้ และจำหน่าย ร้อยละ 20 ของครัวเรือนในหมู่บ้านทั้งหมด 2.2 มีผลิตภัณฑ์จากแป้งสาคูและหัตกรรมจากสาคู ไว้กิน ใช้ และจำหน่าย ร้อยละ 20 ของครัวเรือนในหมู่บ้านทั้งหมด 2.3 มีการปลูกผักพื้นบ้าน พืชสมุนไพร และพืชใช้สอย ใช้กิน และจำหน่าย ร้อยละ 20 ของครัวเรือนในหมู่บ้านทั้งหมด 2.3 มีการรวมกลุ่มเกษตรผสมผสานดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 2 กลุ่ม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานทรัพยากรของชุมชน (2) เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มจากการทำบัญชีครัวเรือน และเกษตรผสมผสาน เกิดอาหารปลอดภัยที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม

    รหัสโครงการ 55-01868 รหัสสัญญา 55-00-0955 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การผลิตน้ำส้มหยอดขี้ยาง และ สารเร่งราก

     

    ถ่ายทอดความรู้/จำหน่ายสู่ชุมชนอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    น้ำส้มหยอดขี้ยาง  และสารเร่งราก

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เกิดการรวกล่ม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กล่มเกษตรผสมผสาน บ้านกะโสม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    การทำกิจกรรมตามแนวทาง ศก.พอเพียง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    แป้งสาคู ปลอดสารพิษ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ไม่มีเวลาว่าง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    นำวิธีการทำแป้งสาคูมาใช้ทำขนมที่มาจากแป้งสาคู

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ป่าสาคูได้รับการดูแล สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์โรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    การแก้ปัญหาชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 55-01868

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสัจจา พิพัฒน์ผล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด