แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 55-01887
สัญญาเลขที่ 55-00-1041

ชื่อโครงการ พลิกฟื้นเกษตรอินทรีย์ ชีวียั่งยืนกลับคืนวิถีชีวิต
รหัสโครงการ 55-01887 สัญญาเลขที่ 55-00-1041
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 30 กันยายน 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 ...นฤมล อุโหยบ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 มีนาคม 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 มีนาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นายนิติภูมิ หลงเก ...56 ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล ...086-9699309.
2 นายรุสลาม มะแซ ...149/1 ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล ...086-9607103

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  • เพื่อพลิกฟื้นการเกษตรอินทรีย์แทนการเกษตรเชิงเดี่ยว
  • เกษตรกรที่ทำการเกษตรเชิงเดี่ยวลด ละ มาทำการเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ทำเกษตรเชิงเดี่ยวทั้งหมด

2.

  • เพื่อให้เกษตรกรทำปุ๋ยอินทรีย์และนำมาใช้ประโยชน์ในการทำเกษตรอินทรีย์
  • เกษตรกรมีการทำปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ทำเกษตรเชิงเดี่ยวทั้งหมด

3.

  • เพื่อทำระบบตลาดแบบชุมชนโดยการเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน (ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์)
  • มีตลาดชุมชนเพื่อรองรับผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ภายในหมู่บ้านจำนวน 2 แห่ง (ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์)
  • เกิดกองทุนตลาดอินทรีย์ เพื่อเป็นสวัสดิการช่วยเหลือให้กับสมาชิก
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: ...ประชาสัมพันธ์โครงการi

...กลุ่มเกษตรอินทรีย์ เกษตรเชิงเดี่ยว เด็กเยาวชน กลุ่มเพื่อทำปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มบริหารจัดการตลาดนัด รวม 148 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

...ประชาสัมพันธ์โครงการให้ชาวบ้านกลุ่มต่างๆ รวม 148 คนรับทราบและรับสมัครสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ประชาชนรวม 78 คนมารับฟังการประชาสัมพันธ์ และมีผู้สมัครเข้ากลุ่มเกษตรอินทรีย์ 70 คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ประชาชนร่วมรับฟังอย่างตั้งใจ ให้ความสนใจว่ากลุ่มเกษตรอินทรีย์ที่จัดตั้งจะมีกิจกรรมอะไรบ้าง เสนอกิจกรรมต่างๆ เพิ่ม

กิจกรรมย่อย: ...อบรมทำปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพi

...กลุ่มเกษตรอินทรีย์ เด็กเยาวชน กลุ่มทำปุ๋ยอินทรีย์ และกลุ่มเกษตรเชิงเดี่ยว รวม 94 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ทักษะสามารถกลับไปทำใช้ในครัวเรือนได้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้เข้าอบรมจัดเป็น 2 รุ่น รวม 86 คน เข้ารับการอบรมและชมการสาธิตทำปุ่๋ยหมักชีวภาพ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ผู้เข้าอบรมให้ความสนใจ โดยบอกเหตุผลว่าเนื่องจากจะสามารถลดต้นทุนการผลิต และทำให้สุขภาพดีทั้งผู้ใช้และผู้บริโภคผลลิต
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
...นายเนติภูมิ หลงเก ....56 ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล
  • มีความรู้และประสบการณืด้านเกษตรอินทรีย์ ผ่านการลองผิดลองถูกในการทำปุ๋ยใช้เองจึงสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นนำไปใช้ได้จริง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
  • การประชาสัมพันธืไม่ทั่วถึง คนมาร่วมกิจกรรมต่างๆน้อย
  • การสำรวจผู้มาเข้าร่วมก่อนประชุม และทำการประชาสัมพันธืเพิ่มเติม
  • ให้มุ่งเน้นคุณภาพกิจกรรมควบคู่กับปริมาณผู้มาร่วมกิจกรรม
  • จากการติดตามยังไม่มีหลักฐานการลงทะเบียนผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์เพิ่มเติม แต่มีหลักฐานทางภาพถ่ายที่ขึ้นเวปแล้ว
  • การสั่งอาหารมีค่าใช้จ่ายเกินยอดผู้มาร่วมกิจกรรม
  • ไม่มี

-ชี้แจงการเบิกจ่ายค่าอาหารที่สามารถเบิกตามความเป็นจริงของการสั่งอาหารได้ แต่ควรมียอดผู้มาร่วมกิจกรรมไม่ต่างจากยอดสั่งอาหารเกิน 10 คน(เนื่องจากอาหารโครงการทำไว้หัวละ 100 บาท)

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

-แจ้งให้ปรับใบสำคัญรับเงินโดยให้มีชื่อเจ้าหน้าที่การเงินและผู้รับผิดชอบโครงการตั้งแต่ก่อนปิดงวด แต่ผู็รับผิดชอบโครงการไม่ได้นำมาให้ตรวจอีกจนกระทั่งนัดตรวจหลักฐานปิดงวดที่ สจรส. โครงการได้ไปคนละวันกับพี่เลี้ยงแต่ให้ข้อมูลว่าผ่านการตรวจโดยสจรส.แล้ว พี่เลี้ยงได้ตรวจซ้ำพบว่า มีรายชื่อเจ้าหน้าที่การเงินเป็นผู้รับเงินในบางใบ  และชื่อผู้รับผิดชอบโครงการไม่ตรงกันแต่ละกิจกรรม จึงได้เขียนชี้แจงและให้ผู้รับผิดชอบโครงการลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน  พี่เลี้ยงจะติดตามให้เรียบร้อยภายใน 30 เมษายน 2556 -ใบลงทะเบียนผู้ร่วมกิจกรรมแต่ละครั้งไม่ตรงกับยอดที่สรุปเบิกค่าใช้จ่าย  พี่เลี้ยงได้เขียนชี้แจงให้ผู็รับผิดชอบลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน และจะติดตามให้ปรับให้ตรงกันภายใน 6 พค. 2556

ผลรวม 0 2 0 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากขาดการควบคุมกำกับติดตามให้กิจกรรมเป็นไปตามแผนที่กำหนด
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำโครงการเป็นผู้มีประสบการณ์ในการบริหารโครงการจากแหล่งทุนอื่นที่มีลักษณะการดำเนินงานแตกต่างจากกระบวนการที่กำหนดในโครงการครั้งนี้ เมื่อกิจกรรมโครงการครั้งนี้เป็นลักษณะกิจกรรมที่เป็นกระบวนการทำงานอย่างมีส่วนร่วมและสม่ำเสมอ จึงทำให้แกนนำไม่สามมารถปรับตัวเข้ากับกระบวนการทำงานได้ เกิดอคติกับกระบวนการทำงานและการกำกับติดตาม  อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ในการทำกิจกรรมอบรมสร้างจิตสำนึก การอบรมทำปุ๋ย และการทำปุ๋ยยังให้ผลลัพธ์ที่ดี  อาจมีผลลัพธ์ด้านกระบวนการวางแผน กำกับติดตามงานจนทำให้เกิดชุมชนเข้มแข็งยังไม่ให้ผลที่น่าพอใจ
มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • มีปราชญ์ชาวบ้านเรื่องการเกษตรในพื้นที่ ที่นำมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดให้คนอื่นในชุมชน
  • พี่เลี้ยงไม่สามารถกระตุ้น กำกับ ติดตามให้กิจกรรมเป็นไปตามแผนที่กำหนด เนื่องจากขาดทักษะการทำงานร่วมกับผู้มีประสบการณ์ในการบริหารโครงการจากแหล่งทุนอื่นๆ

สร้างรายงานโดย narumon Satun