แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 55-01887
สัญญาเลขที่ 55-00-1041

ชื่อโครงการ พลิกฟื้นเกษตรอินทรีย์ ชีวียั่งยืนกลับคืนวิถีชีวิต
รหัสโครงการ 55-01887 สัญญาเลขที่ 55-00-1041
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 30 กันยายน 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางนฤมล อุโหยบ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 26 มิถุนายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มิถุนายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายนิติภูมิ หลงเก 56 ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล... 086-9699309

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  • เพื่อพลิกฟื้นการเกษตรอินทรีย์แทนการเกษตรเชิงเดี่ยว
  • เกษตรกรที่ทำการเกษตรเชิงเดี่ยวลด ละ มาทำการเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ทำเกษตรเชิงเดี่ยวทั้งหมด

2.

  • เพื่อให้เกษตรกรทำปุ๋ยอินทรีย์และนำมาใช้ประโยชน์ในการทำเกษตรอินทรีย์
  • เกษตรกรมีการทำปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ทำเกษตรเชิงเดี่ยวทั้งหมด

3.

  • เพื่อทำระบบตลาดแบบชุมชนโดยการเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน (ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์)
  • มีตลาดชุมชนเพื่อรองรับผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ภายในหมู่บ้านจำนวน 2 แห่ง (ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์)
  • เกิดกองทุนตลาดอินทรีย์ เพื่อเป็นสวัสดิการช่วยเหลือให้กับสมาชิก
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: 1.สร้างความตระหนักi

เกษตกรอิทรีย์ เกษตรเชิงเดี่ยว เยาวชน รวม 50 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

มีการสร้างความตระหนักในคุณค่าชีวิตผู้ยริโภค ไม่เบียดเบียนโดยการผลิตอาหารที่ไม่เหมาะสม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

วิทยากรสร้างความตระหนักด้วยหลักศาสนาทำให้ผู้เข้าประชุมเกิดความรู้สึกร่วมและลงทะเบียนใช้สารอินทรีย์ในการผลิต

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เป็นวิธีการสร้างความตระหนักที่สอดคล้องกับบริบทชุมชนที่เคร่งศาสนา ทำให้เกิดผลลัพธ์ในทิศทางที่ดี

กิจกรรมย่อย: 2.วัดค่า pH ของดินi

เกษตรกร 94 ครัวเรือน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

มีการนำดินจากแปลงของเกษตร 94 ครัวเรือนมาตรวจทุก 6 เดือน เพื่อเปรียบเทียบความสมบูรณ์ของดินเป็นช่วงๆที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

กิจกรรมทำไปแล้ว 1 ครั้ง ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 5.5-6 ซึ่งยังเป็นกรดอยู่ มีการแนะนำให้เพิ่มการใช้ปุ๋ยอินทรีย์

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เป็นการแสดงหลักฐานเชิงประจักษ์ให้เกษตกรได้มีความตระหนักและหันกลับมาใช้เกษตรอินทรีย์

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
การอบรมให้ตระหนักคุณค่าชีวิตของผู้บริโภค

วิทนากรสอดแทรกหลักศาสนาในการผลิตอาการที่เหมาะสม ไม่ทำร้ายผู้อื่น การบริโภคอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นสิ่งที่ศาสนาบัญญัติไว้

เกษตกรได้เห็นคุณค่าของชีวิตทั้งตนเองและผู้อื่น และการไม่เบียดเบียนผู้อื่น หันกลับมาใช้เกษตรอินทรีย์ในการผลิตพืชผล

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

การดำเนินงานยังไม่เห็นทีมการทำงาน เห็นผู้นำ 2 คน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

การบริหารจัดการกิจกรรมให้เป็นไปตามกำหนดเวลาต้องปรับปรุง

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

กิจกรรมติดตามผลการดำเนินกิจกรรมตามโ๕รงการยังไม่ได้เริ่มทำ ต้องเร่งดำเนินการ คือ การติดตามเฝ้าระวังการกลับมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และการติดตามบ้านที่ลงทะเบียนทำปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยหมักชีวภาพ

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 3 0
ผลรวมทั้งหมด 3 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากกิจกรรมล่าช้ากว่าแผน
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การตรวจสารเคมีตกค้างมีปัญหาที่พื้นที่ไม่สามารถติดต่อหาตัววัดได้ จึงทำการตรวจเลือดหาค่าน้ำตาลในเลือดตามปกติของอสม.ไปก่อน ขณะนี้พี่เลี้ยงได้ช่วยประสานกับ สสจ.สตูลเพื่อขอตัวทดสอบแล้ว เหลือเพียงขั้นตอนพื้นที่ทำหนังสือขออนุเคราะห์ไปยื่นและรับตัวทดสอบกลับมาดำเนินการเท่านั้น

สร้างรายงานโดย narumon Satun