แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01887
สัญญาเลขที่ 55-00-1041

ชื่อโครงการ พลิกฟื้นเกษตรอินทรีย์ ชีวียั่งยืนกลับคืนวิถีชีวิต
รหัสโครงการ 55-01887 สัญญาเลขที่ 55-00-1041
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 30 กันยายน 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นฤมล อุโหยบ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 5 ตุลาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายนิติภูมิ หลงเก 56 ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล 089-9699-309

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  • เพื่อพลิกฟื้นการเกษตรอินทรีย์แทนการเกษตรเชิงเดี่ยว
  • เกษตรกรที่ทำการเกษตรเชิงเดี่ยวลด ละ มาทำการเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ทำเกษตรเชิงเดี่ยวทั้งหมด

2.

  • เพื่อให้เกษตรกรทำปุ๋ยอินทรีย์และนำมาใช้ประโยชน์ในการทำเกษตรอินทรีย์
  • เกษตรกรมีการทำปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ทำเกษตรเชิงเดี่ยวทั้งหมด

3.

  • เพื่อทำระบบตลาดแบบชุมชนโดยการเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน (ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์)
  • มีตลาดชุมชนเพื่อรองรับผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ภายในหมู่บ้านจำนวน 2 แห่ง (ตลาดนัดเกษตรอินทรีย์)
  • เกิดกองทุนตลาดอินทรีย์ เพื่อเป็นสวัสดิการช่วยเหลือให้กับสมาชิก
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

แกนนำกลุ่มเกษตรอินทรีย์ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สามารถสร้างจิตสำนึกการใช้เกษตรอินทรีย์ ไม่มีการกลับมาใช้ปุ๋ยเคมีอีก

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ประชุมแกนนำเกษตรอินทรีย์ เพื่อกำหนดแผนลงตรวจเยี่ยมบ้าน
  • กำหนดการเยี่ยม 4 ครั้ง โดยไปใน 4  โซน
  • ครั้งที่ 1 โซนดาหลำ ครั้งที่ 2 โซนโคกกอ ครั้งที่ 3 โซนคลองรังกา ครั้งที่ 4 โซนนาม่วง
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • สมาชิกให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี พันธุ์พืช พันธุ์ผักที่แกนนำแจกจ่ายไป สมาชิกได้นำไปลูกแล้ว
  • ได้ค้นพบแกนนำเพิ่มเติมในแต่ละโซน ๆละ 2 ครัวเรือน ซึ่งใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการเกษตร 100 %
  • ไม่พบการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผัก แต่พบมีปุ๋ยเคมีสำหรับใช้ในสวนยางพารา

กิจกรรมย่อย: i

เยาวชน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างค้นหาหลักคำสอนของศาสนาอิสลามเกี่ยวกับการบริโภคสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย, การไม่ทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
  • นำมาเขียนเป็นบทประชาสัมพันธ์เพื่อ รณรงค์สร้างกระแสให้มีการใช้เกษตรอินทรีย์มากขึ้น
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • เชิญครูศาสนามาให้ความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาหลักคำสอนศาสนาอิสลามมาร่วมในการบรรยายให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกให้ผู้ปกครองในการบริโภคสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
  • เยาวชนทำเป็นเอกสารเพื่อทำประกาศติดทั่วหมู่บ้าน
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผลลัพธ์  เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดคุณค่า และสามารถทำงานร่วมกับทุกฝ่าย

กิจกรรมย่อย: i

แกนนำกลุ่มเกษตรอินทรีย์ 25 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ได้ข้อตกลงร่วมกัน เพื่อกำหนดเป็นมาตรการทางสังคมเกษตรอินทรีย์ และประกาศใช้ทั่วกัน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • กลุ่มเกษตรอินทรีย์  25 คน ทำร่างฮุกมฯเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
  • นัดประชุมกลุ่มใหญ่ของเกษตรอินทรีย์กลุ่มย่อย  2 กลุ่ม กลุ่มละ 52 คนเพื่อเสนอร่างฮูกมฯให้ฟังและรับการเสนอแนะปรับปรุง
  • กลุ่มเกษตรอินทรีย์  25 คน กลับมาสรุปเป็นฮุกมฯ และจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่
  • ทำไวนิลเผยแพร่
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้ข้อตกลงร่วมกัน 11 ข้อ เพื่อกำหนดเป็นมาตรการทางสังคมเกษตรอินทรีย์ และประกาศใช้ทั่วกัน
  • ชุมชนได้เรียนรู้กระบวนการนโยบายสาธารณะ

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการตลาดเกษตรอินทรีย์ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • จัดตั้งตลาดเกษตรอินทรียจำนวน 2 แห่ง  บริเวณที่ขายข้าวโพดหวาน และตลาดนัดชุมชนหมู่บ้าน
  • นำผลผลิตมาจำหน่ายเฉพาะตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ โดยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนำร่วมกันสร้างตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ จำนวน 2 แห่ง คือ บริเวณตลาดขายข้าวโพดหวาน และ ตลาดนัดประจำหมู่บ้าน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ชาวบ้านได้ร่วมกันทำกิจกรรมสาธารณะของหมู่บ้านเกิดความสมัครสมานสามัคคี
  • ได้สร้างแหล่งระบายสินค้าของเกษตกรที่ผลิตกันเอง
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
.บูรณาการหลักศาสนาเพื่อเสริมพลังให้ใช้เกษตรอินทรีย์
  • วิทยากรศาสนานำเยาวชนศึกษาหาหลักคำสอนหลักศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคอาหารที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น
  • นำหลักศาสนามาทำเป็นเอกสารเผยแพร่ รณรงค์ให้เกิดกระแสการทำเกษตรอินทรีย์มากขึ้น
  • เกษตรกรมีพลังใจในการผลิตพืชอินทรีย์ เนื่องจากรู้สึกดีที่ได้ปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ว่า ไม่เบียดเบียนชีวิตตนเองและผู้อื่นด้วยสารเคมี
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
...นายนิติภูมิ หลงเก ......56 ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล...
  • มีความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์เป็นอย่างดี
  • ปฏิบัติทดลองผลิตปุ๋ย สารต้านแมลงด้วยตนเอง
  • เป็นผู้นำศาสนา ทำให้ผู้อื่นเชื่อมั่น ศรัทธา
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

แกนนำโครงการเป็นเจ้าหน้าที่อบต.ท่าแพ ร่วมดำเนินงานกับผู้ใหญ่บ้านและแกนนำกลุ่มเกษตรอินทรีย์  ทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

บางช่วงทำกิจกรรมล่าช้ากว่าแผนเนื่องจาก จนท.อบต.มีภาระกิจ

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน
  • การรายงานกิจกรรม ซึ่งมีกิจกรรมย่อยหลายครั้ง นำมาสรุปรายงานครั้งเดียวในเวปทำให้ไม่เห็นผลการทำงานในกิจกรรมย่อยแต่ละครั้ง
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ
  • กิจกรรมมีความล่าช้า ผู็้้รับผิดชอบโครงการขาดการวางแผนและปรับปรุงการทำงานอย่างสม่ำเสมอ ไม่แจ้งพี่เลี้ยงในการทำกิจกรรมย่อยแต่ละครั้งอย่างสม่ำเสมอ
2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีกรซื้อวัสดุอุปกรณื และพันธุ๋ไม้แจก แต่ไม่เกินกำหนดร้อิยละ 20 ตามข้อตกลง มีการตรวจติดตามการปลูกพืชผัก และการทำปุ๋ยหมัก การแจกวัสดุและพันธุ์ไม้จึงถือว่ารับได้

2.3 หลักฐานการเงิน

พี่เลี้ยงได้ตรวจหลักฐานการเงินในงวดที่ 1 และ 2 ส่วนงวดที่ 3 โครงการไม่ได้ให้ตรวจก่อน และไม่ได้ไปตรงเวลานัดปิดโครงการ จึงทำการตรวจกับ จนท.สจรส

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

รายงานพี่เลี้ยงว่าทำกิจกรรมครบ ไม่ได้มีการติดต่อบอกก่อนทำกิจกรรม พี่เลี้ยงไม่ได้ลงพื้นที่ตามดูทุกกิจกรรม เห็นผลลัพธ์ที่ปรากฎคือ ตลาดอินทรีย์ที่มีผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษขาย

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • ผู้รับผิดชอบโครงการ รายงานกิจกรรมย่อยแบบรวมทีเดียว ทำให้ไม่เห็นรายละเอียดกิจกรรมแต่ละครั้งทั้งมิติปริมาณและคุณภาพ ไม่เห็นความต่อเนื่อง อีกทั้งในการทำกิจกรรมช่วงงวดที่ 3 ไม่ได้ติดต่อแจ้งพี่เลี้ยงในการทำกิจกรรม พี่เลี้ยงก็ขาดการติดตามลงไปในพื้นที่ ทำให้ไม่ได้ชี้แนะให้แก้ไขการรายงานกิจกรรมดังกล่าว
  • ทีมโครงการมีจนท.อบต.ที่เข้มแข็ง และเป็นผู้นำโครงการ ไม่ได้สร้างให้ทีมร่วมเข้มแข็งด้วย ไม่ได้ทำตามข้อตกลงว่าจะแจ้งให้พี่เลี้ยงทราบทุกครั้งก่อนทำกิจกรรม พี่เลี้ยงมีความหนักใจในการติดตาม

สร้างรายงานโดย narumon Satun