แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข ”

บ้านบางนาว หมู่ที่ 2 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220

หัวหน้าโครงการ
นายธรรมวิชย์ คงชุม

ชื่อโครงการ บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข

ที่อยู่ บ้านบางนาว หมู่ที่ 2 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 55-01777 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0890

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านบางนาว หมู่ที่ 2 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านบางนาว หมู่ที่ 2 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220 รหัสโครงการ 55-01777 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 185,100.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างครอบครัวแกนนำรักสุขภาพ
  2. เพื่อพัฒนาพื้นที่สาธารณะแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การประชุมปฐมนิเทศน์และแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ วันที่ 3-4 พ.ย.55 ณ โรงแรม ไดอิชิ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนภาพรวมขั้นตอนกระบวนการพัฒนา และกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจในการทำกิจกรรมผ่านทางเว็ปไซด์เพิ่มขึ้น

     

    0 0

    2. ประชุมคณะทำงานโครงการร่วมกับหน่วยงานพัฒนาในพื้นที่ครั้งที่ 1 ณ ศาลาหมู่บ้านหมูj 2

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมร่วมกับหน่วยงานและการหนุนเสริมกิจกรรมตามแผนงานโครงการของหน่วยงานและเครือข่าย ซึ่งในการประชุมครั้งที่ 1 ได้มีผู้เข้าร่วมโครงการเกินจากเป้าหมายที่ตั้งไว้ในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 52 คน และมีหลายๆหน่วยงานที่มาเข้าร่วมประชุมด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการชี้แจงถึงเป้าหมายวัตถุประสงค์ของโครงการว่า เป้าหมายของโครงการบ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนนั้น จัดทำขึ้นเพื่อสร้างครอบครัวแกนนำรักสุขภาพ อยากให้ชาวบ้านมีการลดภาวะเสี่ยงต่อการบริโภคอาหารที่มีสารพิษเจือปน อีกทั้งหมู่บ้านของเราก็มีแหล่งอาหารที่มั่นคงอยู่แล้ว คือ สระเก็บน้ำห้วยน้ำดำ ซึ่งเมื่อก่อนชาวบ้านได้ใช้เป็นที่หากิน แต่เราต้องช่วยกันพัฒนาปรับปรุงเพิ่มเติม เพื่อเป็นแหล่งอาหารที่ดียิ่งขึ้น ในการทำกิจกรรมครั้งนี้ก็เพื่อทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินโครงการ ในโครงการนี้เราได้เงินงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. 172,000 บาท และได้งบสมทบจากองค์กร 10,000 บาท ถ้าหากมีใครสนใจก็สามารถสมัครเป็นครอบครัวแกนนำได้หลังจากจบการประชุม และโครงการนี้มีความหมายมาจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เป้าหมายเน้นเกี่ยวกับสุขภาพ คืออยากให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี มีความเป็นอยู่ที่ดี นายชัยพร ยังกล่าวต่อด้วยเรื่องของการรักษาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยการรักษาด้วยพืชสมุนไพรจากธรรมชาติ โดยไม่ต้องเสี่ยงต่อการใช้สารปฏิชีวนะ เราไม่จำเป็นต้องใช้สารเคมี

     

    0 0

    3. ประชุมคณะทำงานโครงการร่วมกับหน่วยงานพัฒนาในพื้นที่ครั้งที่ 2

    วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้ประชุมร่วมกันกันกับครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการและอธิบายถึงรายละเอียดของโครงการและประชุมพิจารณารับสมัครครอบครัวแกนนำรักสุขภาพ และให้ข้อมูลให้ครอบครัวแกนนำได้ศึกษา ร่วมกับภาคี ซึ่งมีวิทยากร 1 คน และครอบครัวที่สนใจ จำนวน 39 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวชุมชนคนรักสุขภาพให้ความสนใจและเข้าร่วมสมัครเป็นสมาชิกครอบครัวแกนนำรักสุขภาพเกินเป้าหมายที่วางไว้ และในครั้งต่อไปก็จะมีการประชุมเพื่อร่วมกันร่างกติการ่วมกัน และในการประชุมครั้งต่อไปจะรับสมัครครอบครัวที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

     

    0 0

    4. ประชาคมหมู่บ้านรับสมัครครอบครัวเข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 28 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีการแจกเอกสารรายละเอียดของโครงการให้ครอบครัวที่สนใจได้ศึกษากัน และผลที่เกิดขึ้นคือครอบครัวได้เข้าร่วประชุมมอาจจะน้อยกว่ากลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ แต่ก็เกินครึ่งของกลุ่มเป้าหมาย มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 43 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการรับสมัครครอบครัวแกนนำรักสุขภาพเพิ่มเติมซึ่งก็เกินเป้าหมายที่วางไว้และร่วมกันร่างกฏระเบียบกติการ่วมกัน และมีข้อตกลงในการทำกิจกรรมร่วมกัน 7 ข้อ  คือ 1. ครอบครัวอาสาสมัครต้องปลูกผักบังคับ 10 ชนิด คือ พริกไทย หัวไพร ขมิ้น มะกรูด พริก มะนาว ขิง/ข่า ตะไคร้ หัวเปราะ กระชาย และเลี้ยงปลา 2. ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีในการปลูกผักในครัวเรือน 3. สมาชิกในครอบครัวต้องทำกิจกรรมร่วมกันในการปลูกผักของตนเอง 4. ต้องมีการทำกิจกรรมส่วนรวมของชุมชนและโรงเรียน เช่น เพาะพันธุ์ผัก / ทำปุ๋ย 5. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมทำบุญเลี้ยงพระทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน 6. ต้องมีการออกกำลังกายร่วมกันอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง 7. มีการประกวดครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ และในครั้งต่อไปจะประชุมเพื่อเตรียมการทำแปลงสาธิต

     

    0 0

    5. ติดตามโครงการครั้งที่ 1

    วันที่ 12 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานมาร่วมประชุมที่ราชภัฏสวนดุสิตตรังเพื่อรายงานความคืบหน้าของโครงการและได้ส่งสรุปผลการดำเนินการโครงการที่ผ่านมาผ่านทางเว็ปไซด์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการส่งรายงานการเงินจากกิจกรรมที่ 1 - 3 ให้พี่เลี้ยงดูและพี่เลี้ยงคอยให้คำปรึกษาจากเอกสารการเงินบางส่วนที่ยังไม่ถูกต้อง และส่งสรุปรายงานการประชุมลงเว็ปไซด์

     

    0 0

    6. ประชุมครอบครัวแกนนำรักสุขภาพคนบางนาว

    วันที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำแผนครอบครัวสุขภาพชุมชน  จำนวน 35 ครัวเรือน  เป้าหมายคือ ให้สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการทุกครัวเรือนร่วมกันมีการออกความคิดเห็นและร่วมวางแผนในการลงพื้นที่ทำแปลงผักและออกแบบแปลงผักร่วมกัน ซึ่งสมาชิกทุกคนมีความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวแกนนำที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการมีความกระตือรือร้นในการทำกิจกรรมและมีความเข้าใจเพิ่มขึ้น และในกิจกรรมครั้งต่อไปอยากให้ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการได้มีการลงพื้นที่พัฒนาบริเวณสระเก็บน้ำห้วยน้ำดำ

     

    0 0

    7. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านสุขภาพและด้านเกษตร

    วันที่ 28 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการเลือกใช้สารกำจัดศัตรูพืช และโทษภัยของสารพิษที่มาจากผักที่เราซื้อมาบริโภค คือมีการให้วิทยากรจากด้านการเกษตรและด้านสาธารณสุขมาให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและโทษจากสารพิษที่เจือปนในผักผลไม้ มีการให้ความรู้ด้านการทำเกษตร ซึ่งครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการได้ทำความเข้าใจและสอบถามเรื่องต่างๆที่ต้องการทราบ และวางแผนงานการลงพื้นที่ทำแปลงผักมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน  40 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นางฉลวย  เวียนคำ เกษตรตำบลวังมะปรางเหนือ บรรยายให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคพืชผักที่ปลูกกินเอง และวิธีการปลูกพืชผักที่สามารถปลูกกินเองได้ เพื่อสุขภาพของสมาชิกในครัวเรือน และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในคัวเรือนได้อีกด้วย และเน้นการปลูกพืชที่ไม่ใช้สารเคมี และเน้นการใช้ปุ๋ยชีวภาพ การกำจัดศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมี แต่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การหมักยาฆ่าแมลงที่ทำได้เอง การหนุนเสริมในการประกอบอาชีพเกษตร การอบรมให้ความรู้ด้านการเกษตร ทางสำนักงานเกษตรสามารถหนุนเสริมได้ในบางเรื่อง ทั้งงบประมาณและพันธุ์พืชผัก หรือเรื่องอื่นๆที่สามารถช่วยได้ ตลอดถึงการประสานงานกับกรมประมง ถ้าจะเลี้ยงสัตว์น้ำ และขณะนี้สำนักงานเกษตรกำลังขึ้นทะเบียนเกษตรกร และขึ้นทะเบียนผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน ให้ผู้ที่มีรายการดังกล่าวเข้าสมัครเข้าร่วมโครงการ ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าเพิ่มขึ้นในเรื่องการทำเกษตรและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกซื้อผักที่จะนำมาบริโภค ซึ่งในช่วงบ่ายของกิจกรรมครั้งนี้ได้มีการลงพื้นที่พัฒนาบริเวณสระเก็บน้ำห้วยน้ำดำ และในกิจกรรมครั้งต่อไปอยากให้ครอบครัวแกนนำได้ลงพื้นที่ปลูกพืชผัก และลงแรงกันทำปุ๋ยชีวภาพร่วมกัน

     

    0 0

    8. ติดตามโครงการครั้งที่ 2

    วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เข้าร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการที่มูลนิธิหยาดฝนตรังมีผู้เข้าร่วมรายงานความคืบหน้าของโครงการ 3 คน และได้รายงานทางเว็ปไซด์และให้พี่เลี่้ยงช่วยตรวจสอบข้อมูลและส่งผลการดำเนินงานโครงการเรีบยร้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการส่งสรุปผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมาทางเว็ปไซด์ได้สำเร็จ

     

    0 3

    9. ประชุมคณะทำงานโครงการสรุปผลการดำเนินงานครั้งที่ 1

    วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 48 คน มีการประชุมรายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และมีกลุ่มหน่วยงานจากโครงการโลกสีเขียวมาให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเพื่อการเกษตรต่างๆ และแจกปุ๋ยน้ำชีวภาพให้กับชาวบ้านที่มาเข้าร่วมประชุม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายสุริยา มณีภักคร เจ้าหน้าที่มูลนิธิโลกสีเขียว จากที่ผมได้ลงมาติดต่อสอบถามกับท่านปลัดอวุโสของอำเภอวังวิเศษว่ามีหมู่บ้านไหนบ้างที่ชาวบ้านรวมกลุ่มกันทำเกษตรอินทรีย์ทางมูลนิธิจะมีการลงไปแนะนำการใช้ปุ๋ยหมักน้ำชีวภาพ จากนั้นผมได้รับการแนะนำไห้ประสานงานกับท่านผู้ใหญ่แพร้ว  ชัยภักดี ในการลงพื้นหมู่บ้านบางนาวมาไห้การแนะนำเรื่องสูตรการใช้ปุ๋ยน้ำชีวภาพและมีการไห้เกษตรกรนำปุ๋ยน้ำไปใช้ในการปลูกผัก ยางพารา และปาล์มน้ำมันโดยมีการแนะนำการผสมสูตรปุ๋ยน้ำและวิธีการใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์สารโพลีแซ็คคาราย+สารโอทรู (สกัดจากพืช 16 ชนิด )
    - อัตราการใช้ 300CC ต่อน้ำเปล่า 20ลิตร (  1 ขวด M 150 )
    วิธีใช้กับ ปาล์มน้ำมัน และ ยางพารา  ฮอร์โมน  300 CC ผสมกับน้ำเปล่า 20 ลิตร วิธีใช้กับผักสวนครัวทุกชนิด  ฮอร์โมน  150 CC ผสมกับน้ำเปล่า 20 ลิตร ใช้ในการฉีดพ่น - สูตรยาฆ่าหญ้า ให้นำเหล้าขาว 1ขวดใหญ่ ผงซักฟอกขนาดซอง 10 บาท น้ำมันดีเซล 1 ลิตร และน้ำเปล่าจำนวน 50 ลิตร นำมาผสม ใช้ฉีดก่อนทำเกษตรเท่านั้น และนายธรรมวิชย์  คงชุม ผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวว่าการดำเนินงานกิจกรรมโครงการหรือการทำงานที่หมู่บ้านบางนาวได้ทำกันมารวมแล้ว 7กิจกรรม ดังนั้นทาง สสส. ได้มีการกำหนดให้หมู่บ้านที่รับงบประมาณทุกหมู่บ้านต้องมีการสรุปรายงานการใช้จ่ายงบประมาณและกิจกรรมของงวดที่ 1เพื่อขอรับงบประมาณในงวดที่ 2 แต่การสรุปรายงานที่รายงาน สสส นั้นมีช่องทางหลายวิธีการ เช่น เอกสารสรุปรายงานการประชุม รายงานสรุปเอกสารการเงิน  รายงานผ่านทางเว็ปไซต์ ซึ่งมีการรายงานของผู้รับผิดชอบโครงการ หลากหลายวิธีการในการรายงาน ดังนั้นในวันนี้ผมขอให้คณะทำงานและสมาชิกโครงการช่วยกันตรวจดูรายละเอียดในเอกสารสรุปรายงานและเอกสารสรุปการเงินให้ละเอียดเพราะผมต้องการให้คณะทำงานมีความเข้าใจเหมือนๆกันในการทำงานของโครงการทุกๆด้าน ถ้าหากทุกท่านไม่เข้าใจเรื่องรายงานขอให้ซักถามรายละเอียดได้ ส่วนในวันนี้ท่านที่ปรึกษาโครงการมาให้การแนะนำและช่วยในการสรุปรายงาน และที่สำคัญเป็นโอกาสดีของหมู่บ้านบางนาวที่ท่านผู้ใหญ่บ้านได้รับการประสานงานจากเจ้าหน้าที่ของมูลนิธิโลกสีเขียวมาให้การแนะนำการใช้ปุ๋ยน้ำที่นำมาใช้ในการทำเกษตรของหมู่บ้านบางนาว

     

    55 48

    10. ประชุมคณะทำงานโครงการร่วมกับภาคีพัฒนาในพื้นที่หารือแนวทางการพัฒนาห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน

    วันที่ 4 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและสมาชิกได้ร่วมกันหารือแนวทางการพัฒนาห้วยน้ำดำให้เป็นแหล่งอาหารชุมชน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย 45 คน โดยมีกลุ่มเครือข่ายลุ่มน้ำเข้าร่วม 10 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและสมาชิกสามารถประสานการหนุนเสริมกิจกรรมของหน่วยงานในพื้นที่

     

    45 45

    11. ติดตามโครงการครั้งที่ 3

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปกิจกรรมที่ดำเนินผ่านพ้นมาแล้วและรายงานต่อ สจรส.ม.อ.ว่าในโครงการที่เหลือสามารถดำเนินต่อไปได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการดำเนินโครงการที่ผ่านมาสามารถทำกิจกรรมได้สำเร็จทุกกิจกรรม แม้เวลาจะคลาดเคลื่อนไปบ้าง

     

    0 0

    12. ประชุมแลกเปลี่ยนครอบครัวแกนนำสุขภาพทุกครั้งที่ 1

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกร่วมกันสรุปข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในครอบครัวซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 45 คน มึกลุ่มเครือข่ายลุ่มน้ำ 4 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้รับข้อมูลความต้องการในการดูแลสุขภาพและการทำเกษตรจากการเสนอของสมาชิกในการประชุม

     

    45 45

    13. ครอบครัวแกนนำพัฒนาแหล่งน้ำห้วนน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน ครั้งที่ 1

    วันที่ 15 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการลงแขกพัฒนาแหล่งน้ำโดยมีแกนนำครอบครัว และคนในชุมชนร่วมกันพัฒนา ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย 45 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แหล่งอาหารห้วยน้ำดำมีการพัฒนาเพื่อฟื้นฟูให้ได้ใช้ประโยชน์จากคนในชุมชน โดยมีสมาชิกร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนา

     

    0 0

    14. กิจกรรมพัฒนาปรับสภาพแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชนครั้งที่ 1

    วันที่ 15 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกครอบครัวมีการลงพื้นที่พัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเป็นพื้นที่แหล่งอาหารชุมชนและมีการวางกติกาการใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยมีกลุ้มเป้าหมาย 40 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกร่วมมือกันพัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำให้เป็นแหล่งอาหารชุมชน โดยแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ

     

    30 40

    15. เวทีประชาคมหมู่บ้านหารือแนวทางการพัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำ

    วันที่ 25 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการวางแนวทางการพัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำจากชุมชน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้นำข้อมูลสภาพพื้นที่ห้วยน้ำดำมาวิเคราะห์และวางแผนในการพัฒนาเป็นแหล่งอาหารชุมชน

     

    50 0

    16. กิจกรรมจัดทำฐานข้อมูลแหล่งอาหารชุมชน

    วันที่ 30 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำฐานข้อมูลแหล่งอาหารชุมชนห้วยน้ำดำ มีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับสมาชิกร่วมกันออกแบบฟอร์มและเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบพื้นที่ที่จะพัฒนาเพื่อให้เป็นแหล่งอาหารชุมชน

     

    30 30

    17. ประชุมแลกเปลี่ยนครอบครัวแกนนำสุขภาพครั้งที่ 2

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกครอบครัวแกนนำรักสุขภาพได้แลกเปลี่ยนการปรับพฤติกรรมของครอบครัวและพัฒนาพื้นที่สาธารณประโยชน์ของชุมชน มีกลุ่มเป้าหมาย 45 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการและสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ่วมกันออกความเห็นและวางแผนการทำงานร่วมกัน

     

    45 45

    18. กิจกรรมพัฒนาปรับสภาพแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชนครั้งที่ 2

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการพัฒนาพื้นที่บริเวณห้วยน้ำดำให้เกิดประโยชนืมากที่สุด โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บริเวณพื้นที่ห้วยน้ำดำได้มีการปลูกพืชยืนต้นร่วมกัน โดยปลูกเป็นแนวยาวตลอดรอบสระ

     

    30 30

    19. ติดตามโครงการครั้งที่ 4 และสังเคราะห์ความรู้

    วันที่ 8 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมร่วมกันที่ มอ.หาดใหญ่เพื่อรวบรวมเอกสารให้เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ ตรวจสอบ และติเตียนกิจกรรมที่ยังไม่เรีบยร้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมที่ผ่านมา ถึงจะล่าช้าไปบ้างแต่ก็สำเร็จลุล่วงไปได้ดี และจะดำเนินกิจกรรมโครงการนี้ต่อไป

     

    0 2

    20. ครอบครัวแกนนำพัฒนาแหล่งน้ำห้วนน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการพัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำให้เป็นแหล่งอาหารชุมชนของคนในหมู่บ้าน ซึ่งมีแกนนำครอบครัวอาสาเข้าร่วมสมัครเป็นกลุ่มเป้าหมายนำ โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกครอบครัวแกนนำทุกคนได้มารวมตัวกันที่สระเก็บน้ำห้วยน้ำดำ และแบ่งหน้าที่กันปลูกผัก ซึ่งผักที่นำมาลงในครั้งนี้ ได้แก่ ผักเหมียง กล้วยน้ำว้า ผักบุ้ง ผักกระเฉด และมีการปล่อยปลาลงในสระ

     

    45 45

    21. กิจกรรมทำแปลงพืชผัก สมุนไพรครั้งที่ 1

    วันที่ 22 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครอบครัวแกนนำมีการ่วมกันลงแขกพัฒนาแปลงผัก และแปลงสมุนไพร โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวแกนนำมาประชุมพร้อมกันที่บริเวณห้วยน้ำดำเพื่อร่วมการทำแปลงผัก และร่วมกันปลูกผักกันเป็นหมวดหมู่ โดยมีทั้งผักและสมุนไพร

     

    20 20

    22. กิจกรรมทำแปลงพืชผัก สมุนไพรครั้งที่2

    วันที่ 24 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อพัฒนุาแปลงพืชผักสมุนไพร โดยมีครอบครัวแกนนำเข้าร่วมทำกิจกรรม จำนวน 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวแกนนำร่วมกันพัฒนาแปลงผัก รดน้ำ กำจัดวัชพืช และปรับสภาพดิน เพื่อให้ผัก สมุนไพรที่ร่วมกันปลูกมีความมีเจริญงอกงามยิ่งขึ้น

     

    20 20

    23. ครอบครัวแกนนำพัฒนาแหล่งน้ำห้วนน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน ครั้งที่ 3

    วันที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาบริเวณสระเก็นน้ำห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชนโดยมีกลุ่มเป้าหมาย 45 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวแกนนำมารวมตัวกันที่จุดนัดหมายเพื่อร่วมกันพัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำ ร่วมกันปลูกพืช เช่น กล้วย ชะอม ผักเหมียง และอื่นๆอีกหลายชนิด ซึ่งสลับกันเป็นแนว 

     

    45 45

    24. ครอบครัวแกนนำพัฒนาแหล่งน้ำห้วนน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน ครั้งที่ 4

    วันที่ 3 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกครอบครัวแกนนำร่วมกันพัฒนาแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเให้เป็นแหล่งอาหารของชุมชน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 45 คน มีภาคีเข้าร่วม 5 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการเข้าใจในหน้าที่ที่แบ่งกันรับผิดชอบในการดูแลพืชผักที่ร่วมกันปลูกบริเวณรอบๆสระเก็บน้ำห้วยน้ำดำ และร่วมกันดูแลผลผลิตจากพืชผักที่ เช่น มะเขือ พริก มะละกอ และพืชผักอื่นๆ

     

    45 45

    25. ประชุมแลกเปลี่ยนครอบครัวแกนนำสุขภาพครั้งที่ 3

    วันที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและเจ้าหน้าที่หน่วยงานร่วม่กันพัฒนาพื้นที่และทำควมาเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมโครงการโดยมีคณะทำงาน 10 คน กลุ่มเครือข่ายลุ่มน้ำฯ 10 คน คณะกรรมการ 5 คน กลุ่ม อสม 5 คน วิทยากร 1 คน และครอบครัวแกนนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการร่วมกันประชุมออกความเห็นกันในทุก 3 เดือน และร่วมกันสรุปข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในครอบครัว

     

    45 0

    26. ครอบครัวแกนนำปฏิบัติการปรับเปลี่ยนสุขภาพ ชุมชน

    วันที่ 26 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในวันที่26กันยายน 2556 ณ ศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านบางนาว มีการประชุมร่วมกันของครอบครัวแกนนำรักสุขภาพเพื่อเรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อใช้เสริมในการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ โดย มีคุณสายันต์  ชูหาญ มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ และมีกลุ่มเป้าหมาย 40 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำครอบครัวสุขภาพได้เรียนรู้สูตรน้ำหมัก 2 สูตร ได้แก่ สูตรน้ำหมักหอยเชอร์รี่ และ สูตรน้ำหมักปลาชีวภาพ 

     

    45 0

    27. ประชุมคณะทำงานโครงการสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการทำโครงการ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายร่วมกัน 55 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน และตัวแทนสมาชิกครอบครัวแกนนำ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา และจัดทำรายงาน

     

    55 55

    28. ร่วมเวทีสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้ประสานงานโครงการได้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนงานสร้างสุขภาคใต้ระหว่างวันที่28-29กันยายน 2556 ณ หอประชุมนานาชาติเฉลิมพระเกียรติ ม.สงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และมีคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม 1 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้การทำงานโครงการในพื้นที่ในห้องย่อยประเด็นเกษตรและอาหาร เช่น สร้างคูระบายน้ำให้เป็นแหล่งอาหาร ฝายหลุม 

     

    0 1

    29. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการได้เรียนรู้วิธีการจัดทำสรุปรายงานปิดโครงการ ซึ่งมีคณะทำงานเข้าร่วม 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานสามารถจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการได้

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างครอบครัวแกนนำรักสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. มีครอบครัวแกนนำรักสุขภาพชุมชน 30 ครอบครัว 2. ครอบครัวแกนนำรักสุขภาพปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ 30 ครอบครัว 3. แกนนำครอบครัวแกนนำรักสุขภาพกมีความรู้โทษภัยสารเคมี 4. สมาชิกครอบครัวแกนนำรักสุขภาพออกกำลังกายตามความถนัดสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 ครั้ง 5. สมาชิกครอบครัวแกนนำรักสุขภาพเข้าร่วมการพัฒนาพื้นที่สาธารณะประโยชน์ของชุมชนทุก 3 เดือน

     

    2 เพื่อพัฒนาพื้นที่สาธารณะแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. แหล่งน้ำสาธารณะห้วยน้ำดำพัฒนาเป็นแหล่งอาหารชุมชนที่มีทั้งพืชกินได้/พืชสมุนไพร/ปลา 2. มีคณะกรรมการแหล่งอาหารชุมชนห้วยน้ำดำ 3. มีกติกาการใช้ประโยชน์ของแหล่งอาหารชุมชนห้วยน้ำดำ 4. มีฐานข้อมูลแหล่งอาหารชุมชนห้วยน้ำดำ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างครอบครัวแกนนำรักสุขภาพ (2) เพื่อพัฒนาพื้นที่สาธารณะแหล่งน้ำห้วยน้ำดำเป็นแหล่งอาหารชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข

    รหัสโครงการ 55-01777 รหัสสัญญา 55-00-0890 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
    • มีการจัดทำฐานข้อมูลของครัวเรือนของหมู่บ้าน ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของสมาชิก  ด้านอาชีพ และข้อมูลการปลูกพืช(เฉพาะสมาชิก)
    • เอกสารและไฟล์ข้อมูลฐานข้อมูล

    ประสานข้อมูลเพื่อของบสนับสนุนกิจกรรมอื่นๆจาก อบต.วังมะปรางเหนือ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค
    • ครัวเรือนแกนนำใช้พืชผักที่ปลูกเองในการบริโภค
    • บ้านครัวเรือนแกนนำสุขภาพ

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
    • บ้านครอบครัวแกนนำรักสุขภาพมีการปลูกพืชผักสวนครัวอย่างน้อย 8 ชนิด
    • การปรับพื้นที่แหล่งน้ำสาธารณะห้วยน้ำดังให้เป็นแหล่งอาหาร(อยู่ระหว่างการปรับสภาพพื้นที่)
    • บ้านครอบครัวแกนนำรักสุขภาพ 15 ครัวเรือน
    • แหล่งน้ำห้วยน้ำดัง
    • การปลูกพืชสมุนไพรประจำครัวเรือน
    • การเพิ่มพืชผักกินยอดเพิ่มในห้วยน้ำดังให้เป็นแหล่งอาหาร
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
    • ครอบครัวแกนนำสุขภาพ สามารถนำพืชผักไปขายเพิ่มรายได้
    • บ้านแกนนำสุขภาพ ได้แก่ นายประเดื่องแก่นแก้ว นางเฉนียน ศุภศร นางวันดี กิตติคุณ นายแผ้ว ชัยภักดี นายสาคร สุจริต นางห้วน ขุนพิชัย
    • ถ้าผลผลิตเพียงพอจะยกพัฒนากลุ่มเครื่องแกงชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    • กำหนดให่วันที่ 14 เป็นทำบุญเลี้ยงพระของหมู่บ้าน
    • การเข้าร่วมทำบุญเลี้ยงพระประจำเดือน
    • ภาพกิจกรรม
    • อยากใช้วันที่ทำบุญหมู่บ้านในการระดมเด็กเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • ทักษะในการทำโครงการด้านการเงิน  โดยสามารถวางแผน และสามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามแผน
    • เอกสารหลักฐานด้านการเงิน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • แกนนำภาคภูมิใจในการสามารถพัฒนาโครงการ สสส. มาทำงานสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาในชุมชน และชาวบ้านให้ความร่วมมือ
    • หลักฐานกิจกรรมของโครงการทั้งบ้านครอบครัวแกนนำสุขภาพ แหล่งน้ำห้วยน้ำดังได้รับการพัฒนา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 55-01777

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายธรรมวิชย์ คงชุม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด