directions_run

โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ”

ณ ห้องประชุม โรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์

หัวหน้าโครงการ
นายเจริญ ปิ่นทอง

ชื่อโครงการ โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ณ ห้องประชุม โรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 55-00991 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0718

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2555 ถึง 19 กรกฎาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ห้องประชุม โรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ณ ห้องประชุม โรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์ รหัสโครงการ 55-00991 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กรกฎาคม 2555 - 19 กรกฎาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 184,800.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้
  2. เพื่อขยายแนวคิดการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนรอบศูนย์เรียนรู้
  3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การประชุมเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
    2. แนวคิดประสบการณ์จากวิทยากรการดำเนินโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
    3. การติดตามประเมินผลด้วยตัวเอง การสนับสนุนติดตามประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจในการรายงานผลตามขั้นตอนที่ สสส.กำหนด

     

    2 2

    2. ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมการจัดกิจกรรมครั้งที่ 1

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการวางลำดับโครงการที่จะทำและรายละเอียดต่างๆที่จะดำเนินการ ประกอบด้วยการติดต่อวิทยากรเพื่อที่จะนำชาวบ้านและเยาวชนไปศึกษาดูงานการทำเตาชีวมวลขนาดเล็กที่ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา กิจกรรมที่2คือ การเก็บข้อมูลสุขภาวะชุมชนจะดำเนินการร่วมกับ รพ.สต.วัดจันทร์ อสม.และนักเรียน เยาวชนในชุมชน เพื่อพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล ส่วนกิจกรรมที่3คือ การจัดทำถ่านอัดแท่ง โดยวิทยากรนายซาการียา ที่เทศบาลตำบลปริก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานที่เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย 1. นายเจริญ ปิ่นทอง
    2. นางอารีย์ เรืองสุข
    3. นางวลี ไพบูลย์
    4. นางกฤษณา แสงสุวรรณ
    5. นางสาวพิชญา ปิ่นทอง
    6. นายวิชัย พวงดอกไม้ และคุณสมชาย ละอองพันธ์

    ให้คำแนะนำในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม ให้ดำเนินการไปอย่างละเอียดในทุกกิจกรรม ต้องสร้างความสัมพัธ์ที่ดีของคณะทำงานและที่ประชุมได้มีมติการทำกิจกรรมร่วมกันในการเดินทางไปศึกษาดูงานการทำเตาชีวมวลขนาดเล็กที่ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา เนื่องจากเป็นสถานที่ให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงมีโครงการธนาคารอาหารและอีกสถานที่หนึ่งมีการปฏิบัติจัดทำเตาชีวมวล

     

    0 0

    3. ไปศึกษาดูงานเตาเผาถ่านชีวมวลที่ศูนย์เรียนรู้ชุมชน บ้านหนองเสาธง ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา

    วันที่ 2 ธันวาคม 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน  ชาวบ้านและเยาวชนได้เข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานที่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านหนองเสาธงเยี่ยมชมศูนย์ศึกษาเทคนิควิธีการดำเนินกิจกรรมธนาคารอาหารชุมชนและไปชมการสาธิตการใช้เตาชีวมวลและเทคนิคการผลิตตามขั้นตอน  คณะทำงานได้นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์นำไปใช้ในชุมชน บ้านเรือนของตนเองได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน  ชาวบ้านและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานที่ตำบลควนรู 1. นายเจริญ ปิ่นทอง
    2. นายผ่อน เรืองสุข
    3. นายพิรม แสงสุวรรณ
    4. นางอารีย์ เรืองสุข
    5. นางวลี ไพบูลย์
    6. นางกฤษณา แสงสุวรรณ
    7. นางสาวพิชญา ปิ่นทองฃ 8. นายวิชัย พวงดอกไม้
    9. นางสาวนันทินุช แก้วมณี
    10. นายศุภชัย ขวัญมณี

    ได้ไปศึกษาดูงานศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านหนองเสาธง ชมกิจกรรมธนาคารอาหารชุมชนและหลังจากนั้นได้ไปชมการสาธิตการผลิต การใช้เตาชีวมวลให้พลังงานความร้อนสามารถหุงต้มได้โดยวิทยากรได้บรรยายให้ทุกคนฟังทุกขั้นตอน คณะทำงานให้การยอมรับและสนับสนุนการลดใช้พลังงานในครัวเรือนได้ และวิทยากรเต็มใจ ตั้งใจที่ให้ความรู้

     

    0 10

    4. ศึกษาดูงานการทำถ่านอัดแท่ง ที่เทศบาลตำบลปริก จ.สงขลา ณ ทีชุมชนตลาดใต้ - บ้านกลาง

    วันที่ 8 ธันวาคม 2555 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำคณะทำงานจำนวน10คนไปเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคและวิธีทำถ่านอัดแท่งที่ถูกต้อง ณ ชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง โดยมีนายซาการียา หมัดเลียด เป็นวิทยากรให้ความรู้และคำแนะนำในการผลิตถ่านอัดแท่งตามหลักการและขั้นตอนการผลิต  ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.  นายเจริญ ปิ่นทอง 2.  นางอารีย์ เรืองสุข 3.  นางวลี ไพบูลย์ 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง 6.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 7.  นายผ่อน เรืองสุข 8.  นายพิรม แสงสุวรรณ 9.  นางสาวนันทินุช แก้วมณี 10.  นายศุภชัย ขวัญมณี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      คณะทำงานทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจและได้พบเห็นสิ่งใหม่ๆมีความคิดที่จะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ ดัดแปลงเครื่องที่มีอยู่แล้วในระแวกบ้านนำมาดัดแปลงใช้งานตามประสพการณ์ที่ได้จากการไปศึกษาดูงานมา

     

    0 10

    5. ปฏิบัติการด้านเศรษฐกิจพอเพียงเตาเผาถ่านชีวมวลขนาด1000ลิตร

    วันที่ 25 ธันวาคม 2555 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      นักเรียนนำไม้ที่คัดขนาดไว้ เข้าเตาเผา จัดเรียงให้เป็นระเบียบตั้งทรงขึ้น ปิดเตาเผาด้วยดินเหนียว จากนั้นให้จุดไฟเผา ใช้เวลาประมาณ40 ชั่วโมงให้สังเกตสีของควันไฟที่ออกมาจากเตาเผา หากควันไฟสีใสๆ ให้ปิดปากเตาเผาใช้เวลาประมาณ35 ชั่วโมงหรือจับดูว่าเตาเผาเย็นแล้วจึงสามารถนำถ่านออกจากเตาเผาได้และนำไปบรรจุถุงส่งจำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความสามารถเรียนรู้ไม่เท่ากัน ความมานะอดทนต่างกัน ครูต้องควบคุมอย่างไกล้ชิดจึงได้ถ่านที่ดีมีคุณภาพสามารถส่งออกขายยังท้องตลาดได้

     

    50 95

    6. ประชุมคณะทำงานครั้งที่2

    วันที่ 11 มกราคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเตรียมความพร้อมและซักซ้อมทำความเข้าใจแก้คณะทำงาน เกี่ยวความคืบหน้าของโครงการ เพื่อนำไปสู่การประชุมเชิงปฏิบัติการต่อไป  ผู้เข้าร่วมประชุมมีดังนี้ 1. นายเจริญ  ปิ่นทอง 2. นางอารีย์  เรืองสุข 3.นางวลี ไพบูลย์ 4.นางกฤษณา  แสงสุวรรณ 5.นางสาวพิชญา  ปิ่นทอง 6.นายวิชัย  พวงดอกไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทุกคนพร้อมที่จะดำเนินกิจกรรมตามโครงการด้วยความยินดีและตั้งใจ

     

    6 6

    7. ประชุมติดตามโครงการ

    วันที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจำนวน 3 คนคือ1.นายเจริญ  ปิ่นทอง  2.นางวรี  ไพบูลย์  3.นางสาวพิชญา  ปิ่นทอง เดินทางไปรายงานความคืบหน้าการปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการที่ผ่านมา พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแก้ไข นำไปเป็นแบบอย่างการปฏิบัติกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื่เลี้ยงได้ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบและให้คำแนะนำแก้ไข ในการดำเนินกิจกรรมต่อไป

     

    3 3

    8. ปฏิบัติการด้านเศรษฐกิจพอเพียงแปรรูปถ่านอัดแท่ง

    วันที่ 21 มกราคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  จัดหา ประกอบเครื่องมือ อุปกรณ์บดถ่าน,ผสมถ่านและอัดถ่าน 2.  นำคณะทำงานศึกษาดูงานเพื่อหาประสพการณ์นำมาปฏิบัติ 3.  เตรียมรวบรวมวัสดุอุปกรณ์ผงถ่าน ถ่านไม้สนเพื่อปฏิบัติการอัดแท่ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.การเตรีบมครื่องมืออุปกรณ์สำหรับทำถ่านอัดแท่งนั้น มีการปรับประยุกต์ใช้อุปกรณ์บดอาหารกบ แต่ปรับให้สามารถมาอัดแท่งกลมๆออกมา โดยมีการจ้างช่างในหมู่บ้านมาช่วยดูแลปรับอุปกรณ์ให้ 2. การฝึกเตรียมส่วนผสมของถ่านอัดแท่งที่เป็นของศูนย์ฯ  มีสมาชิกเข้าร่วมประชุม1.  นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.  นางวลี ไพบูลย์ 3.  นางอารีย์ เรืองสุข 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 6.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง
    และคุณสมชาย ละอองพันธุ์

     

    6 6

    9. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานเวลา13.30น.เรื่องการติดตามงาน ที่เตรียมการจัดกิจกรรมการปฐมนิเทศในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556และความคืบหน้าของโครงการ  พิจารณา วางแผนการประชาสัมพันธ์แก่เกษตรกรและเยาวชน  การเชิญวิทยากรมาบรรยายและทำการสาธิตการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า การผลิตถ่านอัดแท่ง  การผลิตเตาชีวมวล ผู้เข้าร่วมประชุมมีดังนี้ 1. นายเจริญ  ปิ่นทอง 2. นางอารีย์  เรืองสุข 3.นางวลี ไพบูลย์ 4.นางกฤษณา  แสงสุวรรณ 5.นางสาวพิชญา  ปิ่นทอง 6.นายวิชัย  พวงดอกไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะทำงานทุกคนได้ซักซ้อมทำความเข้าใจ แสดงความคิดเห็น รับทราบผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ผ่านมาและเสนอแนะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและลงประชามติการวางแผนการจัดกิจกรรมการปฐมนิเทศ

     

    6 6

    10. ปฏิบัติการด้านเศรษฐกิจพอเพียงด้านแปลงผักประสานใจ

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนปลูกผักกินได้แต่ละชนิดตามความสมัครใจและนำผลผลิตที่ได้ไปกินที่บ้านและที่เหลือไปจำหน่าย ผักที่นักเรียนชอบปลูกมีหลายชนิด เช่นผักบุ้ง ผักกาดขาว ผักกวางตุ้ง  ถั่วฝักยาว มะเขือ ข้าวโพด มะละกอ โหรพา กะเพรา ผักตำลึง ผักหวาน ถั่วคล้า กล้วยน้ำว้า มะเขือพวง ถั่วพลู ฟักแฟง แตงกวา มะกรูด มะนาว พริกขี้หนู.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกคนปฏิบัตการทำแปลงคนละ 1 แปลงจำนวน 165 แปลง ปลูกผักปลอดสารพิษกินได้ตามความสมัครใจว่าใครสนใจหรืออยากจะปลูกผักชนิดใด เมื่อได้ผลิตผลก็นำไปกินที่บ้าน หากเหลือกินก็จะจำหน่าย

     

    165 165

    11. การประชุมคณะทำงานครั้งที่4เพื่อติดตามผลการดำเนินการเตรียมงานตามโครงการปฐมนิเทศ

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานเพื่อรายงานผลที่จัดเตรียมงานในด้านต่างๆเช่นการประชาสัมพันธ์งาน การเชิญวิทยากรชุมชน ประธานในพิธีฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การซักซ้อมเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมต่างๆประกอบงาน เพื่อให้งานมีเนื้อหามีสาระมากที่สุดและมีประโยชน์กับนักเรียนและชุมชน การเตรียมการในครั้งนี้ถือว่าคณะทำงานทุกคนให้ความสำคัญและมีความตั้งใจที่จะทำงานกันอย่างจริงจังเพื่อให้งานประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

    2. การประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนเข้าร่วมโครงการใช้การประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวในชุมชน และการเคาะประตูชาวบ้านเพื่อให้การเข้าร่วมมีมากขึ้น

    มีสมาชิกเข้าร่วมประชุม1. นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.นางวลี ไพบูลย์ 3.นางอารีย์ เรืองสุข 4.นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.นายวิชัย  พวงดอกไม้ 6.นางสาวพิชญา ปิ่นทอง

     

    6 6

    12. การปฐมนิเทศและการเสริมสร้าง ทักษะความรู้เรื่อง วิถีเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีการเปิดกิจกรรมโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวัดจันทร์(นายสมยศ สักพันธ์)
    2. การชี้แจงภาพรวมโครงการโดยผู้รับผิดชอบโครงการแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม(อาจารย์ เจริญ ปิ่นทอง)
    3. มีการบรรยายผลสัมฤทธ์ของการดำเนินชีวิตตามวิถึแนวเศรษฐกิจพอเพียง
    4. การเปิดศูนย์เรียนรู้ตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงของ หมู่ 2 วัดจันทร์ 5.การแสดงสาธิตการปฎิบัติกิจกรรมเตาเผาถ่านไม้สน เตาชีวมวล การอัดถ่านแท่ง การสกัดน้ำส้มควันไม้
    5. การพูดคุยแนวทางการให้การสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวัดจันทร์ และ เกษตรอำเภอสทิงพระ

    มีการจัดกิจกรรม ณ ห้องประชุมโรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์

    มีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย: นักเรียน จำนวน161 คนชุมชนจำนวน 89คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนกลุ่มเสี่ยงและประชาชนผูั้้ที่สนใจเข้าร่วมรับฟังคำบรรยายและการสาธิตกิจกรรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน250 คน
    2. ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบภาพรวมโครงการ
    3. เปิดศูนย์เรียนรู้ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของหมู่ 2 วัดจันทร์ อย่างเป็นทางการ
    4. เกิดแนวทางการให้การสนับสนุนของหน่วยงานที่เข้าร่วม

    4.1 อบต.วัดจันทร์ สนับสนุนงบประมาณและการพัฒนาศักยภาพชาวบ้านที่จะเข้าเรียนรู้หลักสูตรของศูนย์ฯ

    4.2 สำนักงานเกษตร อ.สทิงพระ จะนำเกษตรตำบลมาฝึกฝนการทำการเกษตรในศูนย์ฯ 

     

    150 250

    13. นำคณะทำงานเยี่ยมชมการจัดนิทรรศการ การจำหน่ายสินค้าและการแสดงผลงานทางการเกษตร

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำคณะทำงานแกนนำนักเรียนไปศึกษาการจัดบูทจำหน่ายสินค้าและการสาธิตการใช้เครื่องมือเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในงานการแสดงผลงานอบจ.สงขลา ณ บริเวณลานหน้าวัดพะโค๊ะป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและแกนนำนักเรียนเข้าชมงานการจัดบูทของหน่วยงานต่างๆของส่วนราชการจังหวัดสงขลา  ได้เก็บหลักฐานเอกสารประกอบการเยี่ยมชมงาน ชมการสาธิตการใช้เครื่องมือเกษตร การผลิตเชื้อราขาว ราเขียว ปุ่ยหมักชีวภาพ เตาชีวภาพฯ. ซึ่งคณะทำงานเห็นว่าการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ควรเน้นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมและการจำหน่ายในเชิงการให้ผู้ซื้อมาเรียนรู้การทำกิจกรรมบางอย่างที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

    มีผู้ร่วมเดินทางไป ประกอบด้วย

    1.นายเจริญ ปิ่นทอง 2.นายวิชัย  พวงดอกไม้ 3.นส.อารียา วงค์สุวรรณ 4.นส.ศิริพร พรหมบุตร 5.นส.นาตยา เรืองศรี 6.วนิดา ศิลนุสัญ 7.นส.สุรัตนวดี ชัยสินธ์ 8.นส.จุรีรัตน์ วัชรฤทธิ์ 9.นายพงค์ศักดิ์ เมฆฉาย 10.นายธนพล อินทอง 11.นายกวิน มูลมณี 12.นายทศพล หมื่นแกล้วกล้าพิชิต 13.นส.สุธิดา พวงดอกไม้

     

    15 15

    14. ประชุมวางแผนเตรียมการจัดทำแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในตลาดนัดชุมชน

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน
    -วางแผนการจำหน่าย -จัดทำสถานที่จำหน่าย -แบ่งงานหน้าที่รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะทำงานหารือวางแผนการจัดทำสถานที่จำหน่ายผลผลิตนักเรียนตามโครงการ ปรากฏว่า จะมีการจัดจำหน่ายในตลาดนัดของชุมชน เนื่องจากเป็นแหล่งที่ชาวบ้านทั้งตำบลมาจับจ่ายใช้สอยอาหารอยู่แล้ว  ส่วนการเตรียมผลผลิตเพื่อการจำหน่ายจะประกอบด้วย ผักปลอดสารพิษชนิดต่างๆ เช่นผักกวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ฯถ่านไม้สน น้ำส้มควันไม้ให้ใช้ฟรี

    มีสมาชิกเข้าร่วมประชุม1. นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.นางวลี ไพบูลย์ 3.นางอารีย์ เรืองสุข 4.นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.นายวิชัย  พวงดอกไม้ 6.นางสาวพิชญา ปิ่นทอง

     

    12 12

    15. เปิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์อันเป็นผลผลิตจากกิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 06:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เปิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชน อันเป็นผลผลิตจากกิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชนหัวถนนวัดจันทร์ จำหน่ายผักปลอดสารพิษ ถ่านไม้สนน้ำส้มควันไม้ฯ.มีนักเรียนและคณะทำงานจำนวน  คน1.นายเจริญ ปิ่นทอง 2.นางอารีย์ เรืองสุข 3.นางวรี ไพบูลย์ 4.นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.นางสาวอารียา วงค์สุวรรณ 6.นางสาวศิริพร พรหมบุตร 7.นางสาวนาตยา เรืองศรี 8.นาฃสาววนิดา ศิลนุสัญ 7.นางสาวสุรัตนวดี ชัยสิทธิ์ 8.นางสาวจุรีรัตน์ วัชฤทธิ์ 9.นายพงค์ศักดิ์ เมฆฉาย 10.นายธนพล อินทอง 11.นายกวิน มูลมณี 12.นายทศพล หมื่นแกล้วกล้าวิชิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชน นักเรียนเตรียมการ วางแผนการขาย เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ผักที่จะจำหน่าย เตรียมการตามขั้นตอนตลอดจนการฝึกทำบัญชีค้า ขาย รับ จ่ายด้วยตนเอง แบ่งงานหน้าที่รับผิดชอบกันทำ  ผลผลิตขายดีมากเพราะชาวบ้านเห็นว่าเป็นผลงานนักเรียน ผักปลอดสารเคมี ไร้สารพิษ ใช้ปุ่ยหมัก และปุ๋ยน้ำชีวภาพ 

     

    15 15

    16. ประชุมคณะทำงานเตรียมการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชนอันเป็นผลผลิตจากกิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน

    วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดประชุมคณะทำงานและกรรมการดำเนินงานเพื่อสรุปผลการจัดการตลาดนัดเพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชนถึงปัญหาและอุปสรรค์ของการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 2.  เพื่อวางแผนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชนในตลาดนัดชุมชนหัวถนนวัดจันทร์ครั้งต่อไป มีผู้เข้าร่วมประชุมดังนี้ 1.  นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.  นางวลี ไพบูลย์ 3.  นางอารีย์ เรืองสุข 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 6.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง 7.  นางสาวศิริพร  พรหมบุตร 8.  นาตยา  เรืองศรี 9.  สุธิดา  พวงดอกไม้ 10.  พงศ์ศักดิ์  เมฆฉาย 11.  สุรัตนวดี  ชัยสินธุ์ 12.  รุจีรัตน์  วัชฤทธิ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเพื่อสรุปผลการจัดตลาดนัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชน ผลคือผักปลอดสารพิษมีจำนวนน้อยขายหมดเร็วเกินไปเพราะมีแม่ค้ามารับ เหมาจนหมดเนื่องจากเห็นว่าเป็นผักปลอดสารพิษและเป็นผลงานของนักเรียน ประชุมวางแผนเตรียมการตลาดนัดชุมชนเพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน ชุมชนในครั้งต่อไป

     

    12 12

    17. ประชุมสรุปผลและต่อยอดโครงการปีที่3

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      1.  การประชุมเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่   2.  แนวคิดจากประสบการณ์วิทยากรพี่เลี้ยง การดำเนินโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ 3.  การติดตามประเมินผลด้วยตัวเองการสนับสนุนติดตามประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุม อบรมมีประสบการณ์จากวิทยากรพี่เลี้ยงที่ให้ความรู้และเข้าใจในขั้นตอนที่สสส.กำหนด

     

    3 2

    18. ประชุมต่อยอดโครงการปี 2ต่อปี3

    วันที่ 19 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อปฐมนิเทศน์โครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ปี2ต่อปี3 ทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการทั้งปีเก่าและปีใหม่โดยเฉพาะผู้ดำเนินโครงการหน้าใหม่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุขตลอดจนการบริหารจัดการโครงการ เช่น การดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ เอกสารการเงิน ฯ ส่วนผู้ดำเนินกิจกรรมรายเก่าที่คิดจะต่อปี2สู่ปี3ก็จะได้ฟังวิธีการดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไปและแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นของแต่ละกลุ่มในการต่อยอดครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมในที่ประชุมมีความเข้าใจในวิธีการดำเนินโครงการรวมถึงขั้นตอนต่างๆที่เกี่ยวข้องและการลงมือปฏิบัติต่อโครงการ  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคือ นายเจริญ  ปิ่นทอง นางสาวพิชญา  ปิ่นทอง

     

    3 2

    19. นำคณะทำงานจำนวน15คนศึกษาดูงานธนาคารขยะที่ชุมชนป้อมหก อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำคณะทำงานจำนวน15คนศึกษาดูงานธนาคารขยะที่ชุมชนป้อมหก อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา เพื่อให้คณะทำงานได้เห็นและวิธีปฏิบัติจริงของกิจกรรมที่ชุมชนป้อมหกได้ทำเพื่อจะได้นำเอาแนวทางขั้นตอนที่ประสบผลสำเร็จเพื่อจะนำมาปรับปรุงใช้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทุกคนได้เห็นแนวทางการการดำเนินงานของชุมชนป้อมหกและนำเอาเกร็ดความรู้ที่ได้รับจากการดูงานมาปรับปรุงใช้ โดยมีคณะทำงาน15คนดังนี้1.  นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.  นางวลี ไพบูลย์ 3.  นางอารีย์ เรืองสุข 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 6.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง 7.  นางสาวศิริพร  พรหมบุตร 8.  นาตยา  เรืองศรี 9.  สุธิดา  พวงดอกไม้ 10.  พงศ์ศักดิ์  เมฆฉาย 11.  สุรัตนวดี  ชัยสินธุ์ 12.  รุจีรัตน์  วัชฤทธิ์ 13.นายผ่อน เรืองสุข 14.นายทศพล หมื่นแกล้วกล้าวิชิต 15.นายกวิน มูลมณี

     

    15 15

    20. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมธนาคารขยะ

    วันที่ 12 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมคณะทำงานเพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจในวิธีการดำเนินโครงการรวมถึงขั้นตอนต่างๆที่เกี่ยวข้องและการลงมือปฏิบัติต่อโครงการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การซักซ้อมเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมต่างๆประกอบงาน เพื่อให้งานมีเนื้อหามีสาระมากที่สุดและมีประโยชน์กับนักเรียนและชุมชน การเตรียมการในครั้งนี้ถือว่าคณะทำงานทุกคนให้ความสำคัญและมีความตั้งใจที่จะทำงานกันอย่างจริงจังเพื่อให้งานประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนเข้าร่วมโครงการใช้การประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวในชุมชน และการเคาะประตูชาวบ้านเพื่อให้การเข้าร่วมมีมากขึ้น มีสมาชิกเข้าร่วมประชุม1.  นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.  นางวลี ไพบูลย์ 3.  นางอารีย์ เรืองสุข 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 6.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง
    และคุณสมชาย ละอองพันธุ์

     

    6 6

    21. คณะทำงาน ร่วมทำบุญลอยแพและประชาสัมพันธ์ุผลงานที่ได้จากโครงการประจำปีของตำบลวัดจันทร์

    วันที่ 18 สิงหาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้นำผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งอันเป็นผลผลิตจากโครงการจากโรงเรียนสู่บ้านสืบสานสู่ความพอเพียง หมู่2มาทำการบริจาคแก่ชาวบ้านที่มาร่วมทำบุญ จำนวน200ถุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากที่คณะทำงานได้นำเอาผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งอันเป็นผลผลิตจากโครงการจากโรงเรียนสู่บ้านสืบสานสู่ความพอเพียง หมู่2มาทำการบริจาคแก่ชาวบ้านที่มาร่วมทำบุญ จำนวน200ถุง ปรากฏว่าผลตอบรับเกินคาด โดยมีคณะทำงานที่ร่วมทำบุญจำนวน15คนดังนี้1.  นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.  นางวลี ไพบูลย์ 3.  นางอารีย์ เรืองสุข 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 6.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง 7.  นางสาวศิริพร  พรหมบุตร 8.  นาตยา  เรืองศรี 9.  สุธิดา  พวงดอกไม้ 10.  พงศ์ศักดิ์  เมฆฉาย 11.  สุรัตนวดี  ชัยสินธุ์ 12.  รุจีรัตน์  วัชฤทธิ์ 13.นายผ่อน เรืองสุข 14.นายทศพล หมื่นแกล้วกล้าวิชิต 15.นายกวิน มูลมณี

     

    215 215

    22. เปิดตัวธนาคารขยะทองคำ และปฏิบัติการการเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 25 สิงหาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  เปิดงานโดยนายชูสิน วรเดช (ผู้อำนวยการโรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์) 2.  การชี้แจงภาพรวมโครงการธนาคารขยะโดยว่าที่ร้อยตรีหญิงเปรมวดี  ผอมเอียด วิทยากรจากชุมชนป้อมหก ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 3.  มีการบรรยายผลสัมฤทธ์ของการดำเนินชีวิตตามวิถีแนวเศรษฐกิจพอเพียง 4. การเปิดตัวธนาคารขยะทองคำของ หมู่ 2 วัดจันทร์ 5. การพูดคุยแนวทางการให้การสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.  การสาธิตการเพาะเห็ดนางฟ้า โดย คุณอรุณ เรืองสุข มีการจัดกิจกรรม ณ ห้องประชุมโรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์ มีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย: นักเรียนและประชาชนจำนวน178คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีประชาชนและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 178คน   รับฟังการถ่ายทอดประสบการณ์แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากวิทยากร
    2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจกิจกรรมด้านการลดค่าใช้จ่าย/ดำเนินชีวิตตามวิถีพอเพียง

     

    100 78

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิต เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง 2. ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน 3. เกิดแกนนำเยาวชนสุขภาวะ

    1.นักเรียนร้อยละ80ในศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเสริมสร้างทางทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง 2.ประชาชนในหมู่2 บ้านบ่อประดู่ ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน 3.เกิดแกนนำเยาวชนสุขภาวะ

    2 เพื่อขยายแนวคิดการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนรอบศูนย์เรียนรู้
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ดำเนินชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 50 ครัวเรือน 2. เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง 3. เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด 4. เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน 5. เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6. เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่ 7. แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ดำเนินชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 50 ครัวเรือน ซึ่ง1.ได้เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง  2.  เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด 3. เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน 4. เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่ และ6. แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    3 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุมกับสสส. หรือ สจรส.ม.อ. อย่างน้อยร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งทีจัด 2. มีป้ายไวนีลสถานที่นี้ปลอดบุหรีจัดตั้งไว้ในชุมชน 3. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่ง สสส. 4. มีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

    ประชาชนในหมู่2บ้านบ่อประดู่ รวมทั้งเด็กนักเรียนในโรงเรียนสทิงพระชนูปถัมภ์ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตแบบพอเพียง เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่ แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำรงชีวิต เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้ (2) เพื่อขยายแนวคิดการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนรอบศูนย์เรียนรู้ (3) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

    รหัสโครงการ 55-00991 รหัสสัญญา 55-00-0718 ระยะเวลาโครงการ 20 กรกฎาคม 2555 - 19 กรกฎาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การสกัดน้ำส้มควันไม้
    วิธีการสกัด
    ใช้ถังขนาด50-100ลิตรเจาะรูใส่ก๊อกน้ำที่ก้นถัง ภายในถังบรรจุวัสดุตามขั้นตอนดังนี้ ชั้นที่1 ใส่ผงถ่าน1ส่วน
    ชั้นที่2 ใส่ทรายหยาบ2ส่วน ชั้นที่3 ใส่ทรายละเอียด1ส่วน หลังจากนั้นใส่น้ำส้มควันไม้ที่ได้มาจากการสกัดจากเตาเผาถ่าน ประโยชน์ที่ได้จากน้ำส้มควันไม้ ใช้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืชผักในแปลงเกษตรอีกทั้งยังทำให้ดินร่วนซุยเหมาะแก่การเจริญเติบโตของรากพืช

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3) 2.แผนพับวิธีการสกัด

    1.นำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่นักเรียนและชุมชน 2.น้ำส้มควันไม้ที่สกัดได้แจกจ่ายให้กับเกษตรกรในพื้นที่และนอกพื้นที่บริการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    เตาเผาถ่านขนาด1000ลบ.ลิตร
    วิธีการทำงาน เนื่องจากในพื้นที่มีไม้สนทะเลที่ปลูกและงอกขึ้นเองในธรรมชาติเป็นจำนวนมากบางต้นก็หักโค้นลงมาเองก่อให้เกิดอันตรายแก่คนทั่วไปและที่อยู่อาศัยจึงจำเป็นต้องตัดแต่งให้เกิดความเป็นระเบียบหากทิ้งไปก็ไร้ประโยชน์จึงนำมาทำการเผ่าถ่านเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3) 2.แผนพับวีธีการเผา

    1.ถ่านที่เผาได้นำไปจำหน่าย 2.ผงถ่านที่ไม่สามารถจำหน่ายได้เป็นจำนวนมากจะต้องหาวิธีการผลิตเป็นถ่านอัดแท่งเพื่อเพิ่มมูลค่าต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    รับสมัครคณะทำงานประชุมซักซ้อมทำความเข้าใจถึงขั้นตอนการปฎิบัติกิจกรรมการเผาถ่านแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ขอความร่วมมือจากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นขออนุญาตใช้รถกระเช้าตัดกิ่งไม้สนในที่สาธารณะ เช่น บริเวณชายหาด บริเวณถนนที่กีดขวางทางจราจรและบริเวณที่รกร้างทั่วไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มชมรมเผาถ่านโดยสมาชิกภายในกลุ่มเลือกตั้งผู้นำเพื่อดำเนินกิจกรรมเผาถ่านทุกคนมีรายได้

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    แต่งตั้งฝ่ายผู้รับผิดชอบปฎิบัติงานและเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เกิดแหล่งเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    นำผลผลิตที่ได้จากการเผ่าถ่านไปเสนอและชี้แนะให้กับประชาชนใกล้เคียงใช้ในการเกษตรเช่นน้ำส้มควันไม้ใช้กำจัดศัตรูพืช ผงถ่านละเอียดนำไปใช้รองหลุมปลูกพืช

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    เพื่อให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการใช้เวลาส่วนนั้นไปเตรียมไม้ นำไม้เข้าเตาเผา จุดไฟเผาถ่านใช้เวลา2วัน2คืน

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    สร้างกิจกรรมให้น่าสนใจมีงานทำที่สนุกสนานมีรายได้ เพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิดการละเลิกอบายมุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนเพื่อลดภาระการใช้จ่ายของครอบครัว

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    หาวัตถุดิบมาป้อนให้การทำงานประติดประต่อรายได้จะสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การปลูกผักปลอดสารพิษ กำจัดศัตรูพืชโดยการใช้น้ำส้มควันไม้ ใช้ปุ๋ยน้ำหมัก

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    รณรงค์ให้มีการปลูกไม้สนและพันธุ์ไม้อื่นในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนและนักเรียนที่มีฐานะอยากจนจะเน้นเป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้มีรายได้เพียงพอ

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ฝึกให้มีจิตสำนึก รักการทำงาน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม แบ่งงานออกเป็นกลุ่มๆตามภาระหน้าที่ของงาน ทุกกลุ่มจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละงานที่ได้รับมอบหมายไว้และทุกกลุ่มจะต้องกฎกติกาการปฎิบัติงานของตนเอง

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ฝึกให้มีการทำงานร่วมกันมากๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ศึกษาดูงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -เตาเผาถ่านชีวมวล ที่บ้านหนองเสาธง ต.ควนรู อ.รัตภมิ -การทำถ่านอัดแท่ง ที่เทศบาลตำบลปริก

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ศึกษาดูงานธนาคารขยะที่ชุมชนป้อมหก อ.หาดใหญ่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ได้รับการสนับสนุนต้นพันธุ์ไผ่หวานจำนวน800ต้นจากองค์กรเอกชนเข้าในโครงการ

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ของบประมาณเพิ่มเติมจากองค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างปลอดภัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ปฎิบัติกิจกรรมการเผาถ่านอย่างน้อยเดือนละ4ครั้ง โดยมีคณะทำงานเป็นกลุ่มๆหมุนเวียนกันรับผิดชอบตามความสมัครใจ

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ฝึกให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ทำ ผลผลิตที่ได้จะเพิ่มปริมาณและคุณภาพตามที่ตลาดต้องการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ให้บริการน้ำส้มควันไม้แก่ชุมชนและแนะนำให้ความรู้พื้นฐานในการใช้น้ำส้มควันไม้ปราบศัตรูพืช

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตน้ำส้มควันไม้ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นและเพิ่มปริมาณให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน ที่เห็นความสำคัญและหันมาใช้กันเป็นจำนวนมาก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    กำหนดการทำกิจกรรมตามขั้นตอนที่ถูกต้องและสามารถติดตามได้ เช่น การปฎิบัติการเผาถ่านต้องเริ่มจากการเตรียมไม้จนถึงการบรรจุผลิตภัณฑ์ให้เกิดความสวยงาม น่าสนใจ อยากจับ อยากใช้

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    พัฒนาทักษะการจัดทำโครงการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    นักเรียนและชุมชนที่เข้าโครงการเผาถ่านมีรายได้ส่งตนเองเรียนและเลี้ยงครอบครัวของตนเองได้

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    มีเงินกองทุนเหลือสามารถช่วยเหลือนักเรียนอยากจนแต่เรียนดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ร่วมกันทำงานได้เงิน หากเงินเหลือนำไปช่วยเหลือเพื่อนที่ยากจน

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    พยายามเตรียมวัสดุอุปกรณ์ป้อนเตาเผาถ่านให้งานเดินตลอดไป เพื่อความมั่นคงยั่งยืนของโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การวางตนของคณะทำงานกินอยู่อย่างประหยัดพอเพียงให้เป็นแบบอย่างแก่เพื่อน เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ให้ความรักและความยุติธรรมกับคณะทำงานทุกคนอย่างเสมอภาค เป็นเหตุให้ทุกคนมีความรักซึ่งกันและกัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความกลมเกลียวในการปฏิบัติงานจึงทำให้งานมีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยทั่วไป

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ให้ความรู้แก่ชุมชนและชุมชนจะให้สิ่งที่เราต้องการกลับมา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การทำงานทุกอย่างจะต้องได้รับประสบการณ์และประสบการณ์อันนั้นสามารถนำมาตัดสินใจแก้ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้ มีปัญหา ต้องมีหนทางแก้โดยใช้ปัญญา

    1.รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์(ส3)

    ฝึกให้คนรู้จักคิด แก้ปัญหา บนพื้นฐานของความถูกต้อง ให้นักเรียนเยาวชนรู้จักวิธีแก้ปัญหา อย่าตัดปัญหา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 55-00991

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเจริญ ปิ่นทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด