แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01898
สัญญาเลขที่ 55-00-1070

ชื่อโครงการ โครงการชุมชน 2 วิถีนำชุมชนน่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01898 สัญญาเลขที่ 55-00-1070
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางกัลยา เอี่ยวสกุล
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 12 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวอโณทัย แดงเงิน 20 ม.3 ต.ไม้แก่น อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี 085-7995043
2 นายเอกสิทธิ์ อินแก้ว 8 ม.3 ต.ไม้แก่น อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี 085-6711690
3 นายวุฒิชัย แดงเงิน 13 ม.3 ต.ไม้แก่น อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี 086-2963164

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

ชุมชนพุทธและชุมชนมุสลิมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

1.คนในชุมชนมีความไว้เนื้อเชื่อใจกัน

2.

ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

2.การคมนาคมในชุมชนมีความปลอดภัย

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

40 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

การสร้างเครือข่ายความปลอดภันในชุมชนเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนเฝ้าระวังดูแลความปลอดภัยคนในชุมชน โดยมีหน่วยงานทหารเป็นวิทยากรฝึกอบรมการฝึกการใช้อาวุธ การเฝ้าระวังดูแลความปลอดภัย(การสังเกตุคนแปลกหน้าในชุมชน)โดยมีระยะเวลาในการฝึกอบรม1วัน จากการลงพื้นที่ติดตามการฝึกอบรมด้วยระเวลาเวลาครั้งละ1วันเป็นการฝึกอบรมทบทวนสำหรับเครือข่ายหรือกลุ่มในชุมชนเช่น อาสาสมัครดูแลความปลอดภัยในชุมชน ชุดดูแลความปลอดภัยในชุมชน สำหรับเครือข่ายที่เป็นเครือความปลอดภัยที่มิได้ผ่านฝึกอบรมมาก่อนการอบรมครั้งนี้เป็นครั้งแรกจำเป็นต้องมีระยะเวลาในการฝึกอบรมครั้งละ4-5วันโดยมีการฝึกอบรมให้ความรู้เบื้องต้นและฝึกอบรมภาคสนาม(การฝึกปฎิบัติ)ทำให้เกิดความเชี่ยวชาญในการใช้อาวุธและการสังเกตุ เฝ้าระวังในชุมชน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เครือข่ายความปลอดภัยในชุมชนที่ผ่านการฝึกอบรมทบทวนการใช้อาวุธและสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังในชุมชนร่วมกันวางแผน จัดเวรยามในชุมชนร่วมกับหน่วยงานทหาร ฝ่ายปกครองในชุมชนเช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเป็นต้น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผลจากการฝึกอบรมเครือข่ายความปลอดภัยในชุมชนการฝึกอบรมทั้งทฤษฎีและปฎิบัติจำเป็นต้องใช้ระยะเวลาช่วงการฝึกอบรมเป็นระยเเวลาเว้นช่วงเพื่อฝึกความชำนาญให้กับเครือข่ายโดยมีการทบทวงอย่างน้อย2เดือนครั้งและฝึกปฎิบัติเดือนละ 1ครั้งโดยมีการทดลองปฎิบัติจริง(เหตุการณ์สมมุติ)ร่วมกับยหน่วยงานฝ่ายปกครองและหน่วยทหารในพื้นที่โดยการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการในพื้นที่เพื่อสร้างเชื่อมั่นของคนในชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

20 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

การติตตามเครือข่ายเดือนละ1ครั้งเป็นการติดตามที่เว้นระยะที่นานพอสมควรหากต้องการให้เครือข่ายความปลอดภัยมีประสิทธิภาพเครือข่ายต้องวางแผนปฎิบัติการและแบ่งเวรยามในการดูแลความปลอดภัยการติดตามเฝ้าระยะเดือนละ2ครั้งพร้อมทั้งจัดทำหลักเกณฑ์ในการประเมินรายบุคคล

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

การติดตามการดำเนินงานเครือข่ายความปลอดภัยในชุมชนมีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลความปลอดภัยของคนในชุมชนและเฝ้าระวังบุคคลแปลกหน้าเข้ามาในชุมชนโดยขอความร่วมมือจากแกนนำชุมชน ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญบ้าน ชุดรักษาความปลอดภัย ตำรวจ ทหาร ผู้นำศาสนาในการวางร่วมกันและร่วมสังเกตุพร้อมทั้งเฝ้าระวัง ดูแลความปลอดภัยในชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การวางแผนและการมีส่วนร่วมของแกนนำชุมชน ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญบ้าน ชุดรักษาความปลอดภัย ตำรวจ ทหาร ผู้นำศาสนา โดยมีการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการในพื้นที่ อำเภอเพื่อการทบทวนฝึกปฏิบัติ ติดตามประเมินเครือข่ายดูแลความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพ การลงพื้นที่เยี่ยมเยียนจากหน่วยงานราชการ ผู้นำชุมชนทำให้เกิดความเชื่อมั่นสร้างขวัญ  กำลังใจให้เครือข่ายดูแลความปลอดภัยอย่างน้อยเดือนละ2ครั้ง

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

โครงสร้างการดำเนินโดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นแกนนำ การใส่ใจในการติดตามการดำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยดี  ปัญหาของชุมชนไม่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ตทำให้การจัดทำเอกสารรายงานล่าช้า

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ผู้นำชุมชนเป็นแกนหลัก  ชุมชนการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมโครงการแต่ขาดทักษะการทำงานพี่เลี้ยงต้องติดตามและประเมินผลการดำเนินเป็นระยะๆเพื่อให้ข้อคิดเห็นและเสนอแนะในการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการให้สำเร็จด้วยดี

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินการภายใต้โครงการสำเร็จตามแผนวางที่วางไว้จากการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนและคนในชุมชม

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

โครงสร้างการบริหารจัดการมีผู้ใหญ่บ้านเป็นแกนหลักฝ่ายการบริหารจัดการโครงการ ฝ่ายการจัดทำบัญชีรับจ่าย ฝ่ายอาคารสถานที่ ฝ่ายติดต่อประสานงานพร้อมทั้งฝ่ายรับผิดชอบจัดทำเอกสารรายงาน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินตามแผนงานที่วางไว้ภายใต้งบประมาณที่รับการสนับสนุนจากสสส.

2.3 หลักฐานการเงิน

การลงบัญชีรายรับ รายจ่าย  การจัดทำเอกสารรายงานตามกิจกรรมที่กำหนดไว้  การรายงานการเงินเพื่อปิดโครงการ

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

การประชุมคณะทำงานอย่างต่อเนื่อง การจัดทำเอกสารรายงานเงิน (สมุดบัทึกรายรับ-รายจ่าย)การจัดทำเอกสารสรุปปิดโครงการพร้อมเอกสารรายงาน

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

บทเรียนที่เกิดขึ้นในชุมชนจากการสังเกตุทำให้เห็นภาพกิจกรรมที่คนในชุมชนและชุมชนใก้ลเคียงร่วมกันรื้อฟูกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือในชุมชนเช่นการใช้ภูมิปัญญาของคนในชุมชนสอนเยาวชน และคนในชุมชนทำว่าววงเดือนและจัดการแข่งขันว่าววงเดือโดยรับการสนับสนุนจาดองค์การบริหารส่วนตำบลและหน่วยงานราชการในอำเภอ

สร้างรายงานโดย กัลยา เอี่ยวสกุล