directions_run

โครงการบ้านวัดเลียบพอเพียง ทำ กิน อยู่ใช้ ด้วยปัญญา(หมู่บ้านเกษตรปลอดสารพิษ ชีวิตพอเพียง) "พันธุกรรมนำชีวิต สู่เศรษฐกิจพอเพียง"

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบ้านวัดเลียบพอเพียง ทำ กิน อยู่ใช้ ด้วยปัญญา(หมู่บ้านเกษตรปลอดสารพิษ ชีวิตพอเพียง) "พันธุกรรมนำชีวิต สู่เศรษฐกิจพอเพียง"
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-00990
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 กรกฎาคม 2555 - 15 กันยายน 2556
งบประมาณ 204,820.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเรืองวิทย์ ศรีสุวรรณ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 10 บ้านวัดเลียบ ต.ชิงโค อ.สิงหนคร จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.2902398446538,100.51391715407place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ก.ค. 2555 15 มี.ค. 2556 20 ก.ค. 2555 15 มี.ค. 2556 0.00
2 16 มี.ค. 2556 11 ต.ค. 2556 16 มี.ค. 2556 11 ต.ค. 2556 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (204,820.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 พัฒนาระบบการเสริมสร้างขีดความสามรถของชุมชน ในการเป็น หมู่บ้านความมั่นคงทางอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ของชุมชน
  1. เกิดคณะทำงานด้านการจัดทำระบบฐานข้อมูล ทะเบียน พันธุ์พืช
  2. เกิดระบบฐานข้อมูล/ทะเบียนพันธุ์พืช/เมล็ดพันธุ์พร้อมภาพถ่าย/ข้อมูลคุณลักษณะ/คุณสมบัติ/คุณค่าทางยา/ทางอาหารให้เป็นระบบเพื่อการศึกษาค้นคว้าต่อไป
  3. เกิดพิพิธภัณฑ์ (ธนาคารเมล็ดพันธุ์พืช) พืชประจำถิ่น/ต่างถิ่นตลอดถึงพันธุ์พืชสมุนไพร/เห็ด และอื่นๆ
  4. เกิดแปลงร่วม เพื่อปลูกพืช-ผัก(ชีวภาพ)เพื่อบริโภคเป็นอาหาร/เป็นยาสมุนไพร/และเพื่อทำพันธุ์/คัดเมล็ดพันธุ์และเพื่อขยายพันธุ์
  5. ร้อยละ 80 ของสมาชิกสภาเด็ก-เยาวชน/กลุ่มต้นกล้าฯและกลุ่มโซน 3โซน  มีความรู้การคัดเมล็ดพันธุ์
  6. ร้อยละ 80 ของสมาชิกสภาเด็ก-เยาวชนมีความรู้เรื่องระบบการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนพันธุ์พืช
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพ แกนนำชาวบ้าน- อย.น้อย ต้นกล้าอาชีพ เป็นนักสร้างเสริมสุขภาพ(วิทยากร “ครู”)ครูภูมิปัญญาด้านต่างๆประจำฐานเรียนรู้ 8 ฐานเรียนรู้ ในโรงเรียนนวัตกรรมฯ
  1. ทำความเข้าใจประชาชนจากกลุ่มโซน 3 โซน -สภาเด็ก-เยาวชน-อย.น้อย-ต้นกล้า
  2. รับสมัครและคัดเลือก “คนจิตอาสา”เข้าร่วมอบรมเป็น “ครู”นักสร้างเสริมสุขภาพ จำนวน 68 คน
  3. เกิดวิทยากร “ครู” จำนวน 20  คน(ครูทำกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพประจำโรงเรียนนวัตกรรมฯ)เป็นนักสร้างเสริมสุขภาพ
  4. เกิดฐานการเรียนรู้ 8 ฐาน(1.ฐานวิชาการ(ความรู้)-2.ฐานปุ๋ย-3.ฐานน้ำ(หมัก)-4.ฐานถ่าน-5.ฐานผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน-6.ฐานอาหารแปรรูป(พื้นบ้าน)-7.ฐานการผลิต(ปฏิบัติการ)-8.บริหารและจัดการ
3 เพื่อสร้างความพร้อมสู่เป้าหมายของหมู่บ้าน“การทำเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง”และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
  1. ส่งเสริมปัจจัยการเรียนรู้และการปฏิบัติการ(ตามฐานต่างๆ)ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
  2. กลุ่มสภาเด็ก-เยาวชนมีความรู้และทักษะการเป็น มัคคุเทศน้อยสามารถนำเที่ยวเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตร
  3. เกิดแผนงานด้านการพัฒนาวัดเลียบสู่การเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตรและถูกบรรจุไว้เป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”
  4. เกิดการทดลองเที่ยวในหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตร จำนวน 2 ครั้ง
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  • กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ จัดเวทีประชุมเพื่อทำความเข้าใจโครงการฯ
  • กิจกรรมที่ 2  กระบวนการสร้างความร่วมมือ (เตรียมความพร้อม)
  • กิจกรรมที่ 3 ยกระดับแกนนำประจำกลุ่มโซนมาพัฒนาเป็นครูนักสร้างเสริมสุขภาพ และเตรียมความพร้อมในการจัดทำธนาคารเมล็ดพันธุ์พืช
  • กิจกรรมที่ 4 รับสมัคร สมาชิก 3 โซน เพื่อยกระดับเป็นแปลงเรียนรู้เข้าร่วมโครงการ “หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงเกษตร” โซนละอย่างน้อย 5 แปลง
  • กิจกรรมที่ 5 สรุปและประเมินผลโครงการ ถอดบทเรียน สรุปเอกสารฯปิดโครงการ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2555 09:35 น.