แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ ”

โรงเรียนศาสนบำรุงวิทยาและบ้านคลองขา หมู่ที่ 1 ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน หวังสนิ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ

ที่อยู่ โรงเรียนศาสนบำรุงวิทยาและบ้านคลองขา หมู่ที่ 1 ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 55-01790 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0988

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนศาสนบำรุงวิทยาและบ้านคลองขา หมู่ที่ 1 ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนศาสนบำรุงวิทยาและบ้านคลองขา หมู่ที่ 1 ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 55-01790 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 209,600.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างทักษะและพฤติกรรมการจัดการขยะแก่นักเรียนและประชาชนในชุมชนนาทับ
  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการสวัสดิการชุมชนคนนาทับจากธนาคารขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555

    กิจกรรมที่ทำ

    จนท. สจ.สร. ได้ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ โดยมีมีคณะทำงานจาก 7 จว.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • รับทราบกิจกรรมร่วมของโครงการใหญ่
    • คณะทำงานโครงการร่วมทำความเข้าใจและได้ร่วมปฏิบัติการ
    • ทำความรู้จักกับเพื่อนต่างกลุ่ม
    • ได้ทราบการปรับปรุงโครงการเพื่อขอรับทุนและแนวทางการดำเนินโครงการในชุมชน

     

    0 0

    2. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงคณะทำงานโครงการ 12 คน
    • นำเสนอพร้อมเอกสารโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วม ผู้นำชุมชนและชาวบ้าน จำนวน 16 คน เพื่อแนะนำโครงการ พร้อมกับชี้แจงรายละเอียดของโครงการแก่คณะทำงานและชุมชน ชาวบ้านมีความเข้าใจในเนื้อหาที่จะทำ และหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายและพร้อมจะร่วมมือกันทำโครงการ

     

    0 0

    3. เรียนรู้การจัดการขยะ

    วันที่ 24 พฤศจิกายน 2555 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ให้นักเรียนร่วมกิจกรรมการให้ความรู้และฝึกทักษะการเรียนรู้การจัดการขยะในชุมชน โดยมีนักเรียนและชาวบ้านในชุมชน เข้าร่วม 46 คน มีตัวแทนจากผู้ใหญ่บ้าน อสม. อบต. คณะครู และผู้นำศาสนาเข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการสำรวจข้อมูลของนักเรียนพบปัญหาในหมู่บ้านหลายอย่าง ได้แก่ เยาวชนไม่ได้เรียน ยาเสพติด ขยะในชุมชนและคลองสกปรก ชาวบ้านรับรู้ว่าสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ในหมู่บ้านมีหลายอย่าง จึงจัดลำดับความต้องการแก้ปัญหา พบว่าปัญหาขยะเป็นเรื่องที่ต้องจัดการอย่างเร่งด่วน โดยจะต้องมีมาตรการลดปัญหาขยะและปรับวิธีคิดว่าปัญหาขยะสามารถแยกและสร้างรายได้ได้

     

    0 0

    4. ให้ความรู้การจัดการขยะผ่านคุตบะฮ์วันศุกร์

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • บรรยายเรื่องการรักษาความสะอาดในชุมชนร่วมกับการทำละหมาดในวันศุกร์
    • มีผู้เข้าร่วมประมาณ 300 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านที่ฟังคุตบะฮ์วันศุกร์มีความเข้าใจในเรื่องการรักษาความสะอาดและการจัดการขยะ

     

    0 0

    5. ประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมประชุมและอธิบายทำความเข้าใจเบื้องต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครูมีความเข้าใจเป้าหมายโครงการร่วมกัน เพราะเป็นคนขับเคลื่อนหลักของโครงการ

     

    0 0

    6. ให้ความรู้การจัดการขยะผ่านคุตบะฮ์วันศุกร์

    วันที่ 21 ธันวาคม 2555 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางโครงการได้เชิญ อ.อับดุลลาติฟ จากมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มาให้ความรู้หลักการสร้างสุขนิสัยและการจัดการชุมชนในช่วงคุตบะฮ์วันศุกร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเชิญอาจารย์มหาวิทยาลัยอิสลามยะลามาให้ความรู้เรื่องการสร้างนิสัยการรักษาความสะอาดตามแบบอิสลาม นั่นคือการทำความสะอาดร่างกาย บ้านเรือนและชุมชน ในการรับฟังการบรรยายทางศาสนาผ่านคุตบะฮ์วันศุกร์นี้ ชาวบ้านสะท้อนว่าได้ความรู้และข้อชี้แนะวิธีการจัดการความสะอาดของส่วนตัวและส่วนรวมได้ดีและสามารถนำมาเป็นแบบอย่างในการรักษาความสะอาดของครอบครัว

     

    0 0

    7. สำรวจชุมชนและอบรมนักเรียน

    วันที่ 22 ธันวาคม 2555 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นศ.จากมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาจำนวน 80  คน เข้าร่วมกิจกรรมการสำรวจชุมชนและการเสริมความรู้นักเรียนในวันที่ 20-22 ธันวาคม 2555

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การสำรวจชุมชน โดย นศ.จำนวน 80 คน ได้ลงพื้นที่สำรวจชุมชนเพื่อทำความรู้จักชุมชน และครอบครัวของนักเรียนเพื่อนำมาเป็นเนื้อหาในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและนักเรียน จากการลงพื้นที่ของนักศึกษาพบปัญหาการสร้างความร่วมมือในชุมชน การจัดการขยะและการละเลยการดูแลเยาวชนในชุมชน พร้อมกันนี้ยังมีกิจกรรมการอบรมโดยให้นักเรียนนำเสนอปัญหาของชุมชนว่ามีอะไรบ้าง และให้นักเรียนวาดภาพหมู่บ้านในฝันตามจินตนาการ พร้อมทั้ง นศ.พี่เลี้ยงเป็นคนจัดกระบวนการ เมื่อจัดกิจกรรมแล้วนักเรียนส่วนใหญ่เกิดความตระหนักและเข้าใจในวิธีการสร้างความสะอาดให้แก่ครอบครัวและชุมชนที่นักเรียนอยู่ ส่วนการลงพื้นที่ นศ.ได้เข้ามาร่วมนำเสนอสิ่งที่เขาพบเจอในชุมชนผ่านเวทีในมัสยิด

     

    0 0

    8. ประชุมชี้แจงโครงการกับชุมชนและแต่งตั้งคณะทำงาน

    วันที่ 11 มกราคม 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชาวบ้าน
    • แต่งตั้งคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชาวบ้านรับทราบกิจกรรมของโครงการและเกิดความเข้าใจโครงการเพิ่มขึ้น
    • ที่ประชุมได้กำหนดมีคณะทำงาน จำนวน 11 คน ประกอบด้วย
          1.นายหมัด หมันเต๊ะ 2.นายรอหมีน แหละหมัด 3.นายเหร็ด โต๊ะด้วน 4.นายอิสหาก หวังสนิ 5.นายดนขะเด แหล๊ะหมัด 6.นายอาณัติ หนิหมัด 7.นายสะฝีอี แหล๊ะหล๊ะ 8.นายดนมูบิ้น เอียดวารี 9.นายบัญชา ยีบู 10.นายมูหลาด ฝาหนิ 11.นายอุเทน หวีหมิด
    • มีผู้นำจากต่างหมู่บ้านร่วมประชุมและแสดงความคิดเห็น

     

    0 0

    9. คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 16 มกราคม 2556 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    0 0

    10. ทีมพี่เลี้ยงติดตามนิเทศ ครั้งที่ 1

    วันที่ 18 มกราคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงดูแลเรื่องการเก็บหลักฐานและการกรอกข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้กรอกข้อมูลในเว็บไซด์

     

    0 0

    11. ประชุมคณะทำงานโครงการประจำเดือน

    วันที่ 25 มกราคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานจำนวน 18 คน ที่มัสยิดบ้านคลองขา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ชี้แจงการเชิญวิทยากรภายนอกมาอบรมเรื่องการจัดการขยะในชุมชนจาก ต.ปริกเนื่องจากตำบลปริกมีประสบการณ์ในการจัดการเรื่องขยะภายในชุมชนในเรื่องของขยะแบบฐานศูนย์ โดยทีมพี่เลี้ยงจะประสานให้

     

    0 0

    12. พืี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ

    วันที่ 29 มกราคม 2556 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ติดตามโครงการในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมพี่เลี้ยงเข้ามาตรวจสอบการดำเนินโครงการ หลักฐานทางการเงินและแผนการดำเนินงานต่อไป และได้แนะนำเรื่องการบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซด์คนใต้สร้างสุข และปรับข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ

     

    0 0

    13. จัดทำสมุดคู่มือฝากขยะ

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำคู่มือฝากขยะที่ชุมชนต้องการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้าน ครู และนักเรียน ร่วมกันออกแบบคู่มือฝากขยะ โดยเน้นการให้นักเรียนและครอบครัวนักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการรับฝาก พร้อมกันนี้ทางคณะทำงานได้จัดทำคู่มือฝากขยะจำนวน 300 ชุด  เพื่อใช้ในการบันทึกจำนวนขยะที่เป็นประโยชน์จากนักเรียน

     

    0 0

    14. ประชาสัมพันธ์ผ่านคุตบะฮ์วันศุกร์

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    • คอเต็บประจำมัสยิดประชาสัมพันธ์โครงการ
    • บรรยายธรรมเรื่องการจัดการขยะ
    • ได้ทำร่วมกับละหมาดวันศุกร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการกำหนดพื้นที่มัสยิดหรือที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ และชาวบ้านบางส่วนนำข้อแนะนำจากคุตบะฮ์ ในเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนมาปฏิบัติในชุมชน ทั้งในครัวเรือน และที่สาธารณะ เช่น มัสยิด และโรงเรียน เป็นต้น โดยให้ชาวบ้านในชุมชนให้ความสำคัญกับการคัดแยกขยะและนำมารวบรวมเพื่อขายเป็นสวัสดิการแก่ชุมชน

     

    0 0

    15. สำรวจสถานการณ์ปัญหาขยะในชุมชน

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจปัญหาขยะในชุมชน โดยให้นักเรียนร่วมสำรวจและรายงานผล
    • เวทีวิเคราะห์ชุมชนจากคณะทำงานชุมชน
    • สร้างแบบคู่มือจัดการขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สถาการณ์ปัญหาขยะในชุมชนมีทั้งระดับบุคคล ระดับครัวเรือนและระดับชุมชน ทำให้สามารถรู้ว่าปัญหาขยะในแต่ละพื้นที่เป็นอย่างไร รวมทั้งมีแนวทางในการแก้ปัญหาขยะของชุมชน เช่น การจัดตั้งธนาคารขยะ การทำปุ๋ยชีวมวล เป็นต้น ในการจัดกิจกรรมในพื้นที่นั้นโครงการสนับสนุนอุปกรณ์ในการจัดการขยะของชุมชน

     

    0 0

    16. พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 4 มีนาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    • ติดตามโครงการ
    • ปฏิบัติการลงข้อมูลให้ทันสมัยจนเข้าใจดีขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถกรอกข้อมูลลงเว็บไซด์ได้

     

    0 0

    17. ส่งรายงาน สสส งวดที่ 1

    วันที่ 7 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมและปรับข้อมูลการดำเนินงานของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำเนินการนำเข้าข้อมูลในระบบอย่างเรียบร้อย

     

    0 0

    18. ทำป้ายโครงการ

    วันที่ 9 มีนาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางโครงการได้ทำป้าย จำนวน 3 ป้าย เพื่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางโครงการได้ทำป้ายปลอดบุหรี่เพื่อติดที่มัสยิด โรงเรียน และสถานที่ประชุมในชุมชน

     

    0 0

    19. ประชุมคณะกรรมการโครงการ

    วันที่ 16 มีนาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานและแต่งตั้งคณะทำงานเพิ่มเติมในสัดส่วนของ อสม.และผู้ปกครองนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วิทยากรร่วมตั้งคำถามและเติมเต็มความเข้าใจแก่คณะทำงานและวางแผนกิจกรรมร่วมกัน

     

    0 0

    20. ประชุมขับเคลื่อนกิจกรรมสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน

    วันที่ 6 เมษายน 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมที่กำหนดพร้อมด้วยมาตรการที่ชุมชนต้องจัดการตนเอง ได้แก่ สถานการณ์ขยะในชุมชน การคัดแยกขยะ การสร้างมูลค่าจากขยะ และการจัดทำธนาคารขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กำหนดให้คณะทำงานจำนวน 10 คน เป็นผู้เก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ จำนวน 100 ตัวอย่าง

     

    0 0

    21. ปฏิบัติการสำรวจปริมาณขยะของชุมชน

    วันที่ 8 เมษายน 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการ อสม. และตัวแทนผู้ปกครองในชุมชน 12 คน ร่วมประะชุมวางแผนเก็บข้อมูลขยะของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีความตื่นตัวในการหาคำตอบของปัญหาขยะในชุมชน

     

    0 0

    22. การอบรมชาวบ้านโดยกระบวนการขยะฐานศูนย์

    วันที่ 14 เมษายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมวิทยากรนำโดยคุณครูรอบีอ๊ะ จาก ทต.ปริก ร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะฐานศูนย์แก่ชาวบ้านในชุมชนและคณะทำงานใน 2 หมู่บ้าน คือ ม.1 บ้านคลองข่า และ ม. 14 บ้านคลองสอง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะฐานศูนย์แก่คณะทำงาน ชาวบ้าน ครู นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียน ร.ร.ศาสนบำรุงวิทยา จำนวน 50 คน เข้าร่วมกิจกรรม ทำให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้รูปแบบการปฏิบัติของ ทต.ปริก และมีความสนใจเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ในการทำกิจกรรมดังกล่าว ทต.นาทับได้ให้ความสนใจในการสานต่อกิจกรรมด้วย

     

    0 0

    23. ประชาสัมพันธ์ผ่านคุตบะฮ์วันศุกร์

    วันที่ 19 เมษายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้อ่านคุตบะฮ์วันศุกร์ ประชาสัมพันธ์และรายงานความก้าวหน้าโครงการแก่ชาวบ้านที่มาร่วมละหมาดโดยผ่านเสียงตามสายทั่วถึงในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านในชุมชนที่อยู่ในมัสยิดได้รับรู้ข่าวสารและกิจกรรมและอย่างน้อย 120 ครัวเรือน ร่วมให้ความเห็นต่อการทำงานของโครงการ

     

    0 0

    24. เวทีวิเคราะห์ข้อมูลขยะในชุมชน

    วันที่ 26 เมษายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะทำงานสำรวจและรวบรวมข้อมูลรายครัวเรือนมานั่งรวมข้อมูลและจำแนกรายละเอียดการเก็บข้อมูลสถานการณ์ขยะ จำนวน 130 ครัวเรือนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อมูลที่ร่วมทำในครั้งนี้จำนวน 100 ครัวเรือน ยังขาดอีก 30 ครัวเรือน เพราะผู้รับผิดชอบมีภารกิจ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้แต่ข้อมูลได้เก็บเสร็จแล้ว

     

    0 0

    25. ประชุมแลกเปลี่ยนโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ,โครงการเปิดรับทั่วไป, โครงการผู้สูงอายุ พื้นที่ภาคใต้ (สงขลา นราฯ ปัตตานี พัทลุง )

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมรายงานการทำงานแก่ สจ.รส. เพื่อนำเสนอและรับฟังข้อแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หัวหน้าโครงการนำคณะทำงานเพิ่มเติม 3 คน เพื่อเข้าร่วมประชุมและให้คณะทำงานในพื้นที่เห็นความก้าวหน้าของชุมชนตนเองและชุมชนต่างๆ ซึ่งเมื่อได้รับรู้แล้ว เขาก็มาบอกว่าการดำเนินกิจกรรมของชุมชนเรามาถูกทางแล้ว ซึ่งเราเริ่มจากพัฒนาความคิดจากบุคคล ทีมคณะทำงาน และนำความเข้าใจนั้นบอกกล่าวแก่พี่น้องชาวบ้านในชุมชนเพื่อให้ได้รับรู้ว่าเราทำอะไรกัน และจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลในครัวเรือนต้องมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง อนึ่งกระบวนการทำงานดูช้ากว่าที่กำหนดไว้ในข้อเสนอโครงการแต่คิดว่าการผลิตซ้ำในกระบวนการสร้างความเข้าใจในชุมชนหรือคณะทำงานเป็นเรื่องที่จำเป็นและจะสร้างความเข้มแข็งเพื่อเตรียมพร้อมกับชุมชนในโอกาสต่อไปและพร้อมจะดำเนินการต่อในปีที่ 2 ของโครงการ 

     

    0 0

    26. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ขยะในชุมชน

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมการดำเนินงานและรายงานผลการศึกษาการจัดการสำรวจขยะในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชี้แจงการดำเนินการและรายงานการสำรวจขยะของชุมชน พร้อมนำเสนอ

     

    0 0

    27. เดินรณรงค์ลด-แยกขยะ,ทำน้ำหมักจากขยะเปียก,คุตบะฮุวันศุกร์

    วันที่ 7 มิถุนายน 2556 เวลา 09.00 น.-17.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชาสัมพันธ์/รณรงค์การแยกขยะของชุมชนบ้านคลองข่า
    • นักเรียนเดินรณรงค์ ประกอบด้วย นักเรียนประมาณ 30 คน คณะครู 4 คน และคณะทำงานโครงการ 8 คน
    • การให้ความรู้เรื่องตลาดนัดในชุมช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนโรงเรียนตาดีกา  30 คน คณะครู 4 คน และคณะทำงานโครงการ 8 คน  ร่วมเดินรณรงค์ ให้ความรู้  ประชาสัมพันธ์/รณรงค์การลด-แยกขยะ ในตลาดนัดของชุมชน "นัดสุข"  และเก็บข้อมูลทางประวัติศาสตร์ชุมชนไปพร้อมกัน ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับชุมชนของตนเอง
    2. ให้ความรู้และบรรยายธรรมเรื่องการแยกขยะและการจัดการขยะของชุมชน ผ่านคุตบะฮ์วันศุกร์ มีผู้ร่วมรับฟังประมาณ 300 คน เนื่องจากชุมชนบ้านคลองข่าเป็นชุมชนมุสลิม ในวันศุกร์ชาวบ้านที่เป็นผู้ชายจะมาละหมาดร่วมกันที่มัสยิดบ้านคลองข่า การใช้กลไกประชาสัมพันธ์เรื่องของความสะอาด การจัดการขยะ ทำให้ชาวบ้านเกิดความตระหนักและสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปประชาสัมพันธ์ต่อทั้งในระดับครอบครัวและชุมชน
    3. ในช่วงบ่าย เวลา 13.00 -15.00 น.  กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 26 คน เข้ารับการฝึกอบรมการจัดการขยะเปียก เช่น เปลือกผลไม้เปรียว  มาทำน้ำหมัก ซึ่งน้ำหมักที่ได้ 20 ลิตร ซึ่งจะต้องทำการหมักไว้เป็นระยะเวลา 3 เดือน ก่อนนำมาใช้ประโยชน์ทั้งในด้านเกษตรและครัวเรือน  และร่วมกันทำน้ำยาล้างจาน เพื่อนำไปใช้ในครัวเรือน

     

    0 0

    28. ติดตามนิเทศงานโดยทีม สจรส.มอ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเอกสารการเงินและปรึกษาการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงแนะนำการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมแก่พื้นที่ และนำเสนอวิธีการเตรียมถอดบทเรียน

     

    7 7

    29. นำขยะบ้านมาฝากโรงเรียน

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนออกเก็บขยะ (ขวดพลาสติก) จากชาวบ้านในชุมชนมาเก็บที่โรงเรียน เพื่อการลดขยะและเป็นการสร้างรายได้ โดย สสส. สนับสนุนค่าเชื้อเพลิงในการจัดเก็บจนสิ้นสุดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความสุขกับการเก็บขวด เพราะมีรายได้ด้วย ชาวบ้านในครัวเรือนมีสำนึกในการจัดเก็บขยะ แยกขยะ และนำขยะไปใช้ประโยชน์ ส่งผลให้ปริมาณขยะลดน้อยลงด้วย

     

    670 570

    30. ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน

    วันที่ 24 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมสรุปการทำงานกับคณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน พร้อมด้วยทีมวิทยากรจาก สกว.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สรุปภาพรวมกิจกรรมที่ผ่านมา
    • แผนการดำเนินงานต่อ
    • แจ้งการเข้าร่วมเวทีมหกรรมฅนใต้สร้างสุข

     

    30 30

    31. ประชุมคณะทำงานโครงการประจำเดือน

    วันที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การประชุมเพื่อเตรียมศึกษาดูงานที่ ทต.ปริก วันที่ 2 ก.ย.โดยมีผู้สนใจ 23 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดูงานให้ได้ประโยชน์กับพื้นที่ในด้านต่างๆ อย่างครอบคลุม เพราะทางคณะทำงานได้มีประสบการณ์การทำงานบ้างแล้ว

     

    0 0

    32. ศึกษาดูงานการจัดการขยะฐานศูนย์

    วันที่ 2 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และดูการทำงานของชุมชนปริก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานหลายท่านมีความสนใจและเห็นกิจกรรมหลายอย่างที่สามารถนำไปขยายผลต่อในพื้นที่ ต.นาทับ ได้

     

    20 20

    33. ร่วมขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง งานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง งานสร้างสุขคนใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง งานสร้างสุขคนใต้

     

    0 0

    34. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปรายงานปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปรายงานปิดโครงการ

     

    7 7

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างทักษะและพฤติกรรมการจัดการขยะแก่นักเรียนและประชาชนในชุมชนนาทับ
    ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 80 ของประชาชน ม. 1 นาทับและของนักเรียนในโรงเรียนสอนศาสนา ปรับพฤติกรรมลดการก่อขยะ เช่น นำถุงผ้า หรือตะกร้า ไปจับจ่ายของในตลาดนัด เป็นต้น 1.2 ร้อยละ 80 ของประชาชน ม.1 นาทับและของนักเรียนในโรงเรียนสอนศาสนา ปรับพฤติกรรมแยกขยะ นำมาฝากสะสมกับธนาคารขยะเพื่อสวัสดิการ 1.3 ร้อยละ 80 ของประชาชน ม.1 นาทับและของนักเรียนในโรงเรียนสอนศาสนา เข้าร่วมเป็นสมาชิกของธนาคารขยะเพื่อสวัสดิการคนนาทับ 1.4 เกิดครอบครัวต้นแบบด้านการจัดการขยะ 50 ครัวเรือน 1.5 เกิดมาตการร่วมด้านการลดขยะของ ม.1

     

    2 เพื่อพัฒนารูปแบบการสวัสดิการชุมชนคนนาทับจากธนาคารขยะ
    ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดคณะทำงานทำหน้าที่จัดการธนาคารขยะเพื่อสวัสดิการชุมชน คนนาทับ 2.2 เกิดสื่อประชาสัมพันธ์ด้านจัดการขยะ 3 ชุด 2.3 เกิดชุดความรู้เกี่ยวกับปริมาณขยะและแนวทางการจัดการขยะในชุมชน 2.4 เกิดแนวทางการบริหารจัดการขยะเพื่อสวัสดิการชุมชนคนนาทับ 2.5 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำแนวทางธนาคารขยะเพื่อสวัสดิการชุมชน คนนาทับ ประกาศเป็นนโยบายท้องถิ่น ตลอดจนการร่วมสมทบเงินเพื่อสวัสดิการชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างทักษะและพฤติกรรมการจัดการขยะแก่นักเรียนและประชาชนในชุมชนนาทับ (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการสวัสดิการชุมชนคนนาทับจากธนาคารขยะ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ

    รหัสโครงการ 55-01790 รหัสสัญญา 55-00-0988 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกที่ใช้เปลือกผลไม้เปรียว เช่น สัปรด เปลือกมะนาว หรือผลมะกรูด ทำการหมักใช้เวลา 3เดือน โดยน้ำหมักดังกล่าวสามารถนำมาเป็นส่วนผสมสร้างผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้ในครัวเรือน เช่น ซักผ้า,ล้างจาน,ล้างห้องน้ำ ,ปุ๋ย ทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ตลอดจนนำไปสู่การจัดการขยะเปียกและการมีสุขอนามัยที่ดี

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -กลุ่มธนาคารขยะบ้านคลองข่า หมู่ที่ 1ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

    สร้างผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะน้ำยาล้างจานจำหน่ายในชุมชนในราคาถูก  เพื่อลดปัญหาขยะเปียกในครัวเรือน สร้างกลุ่มในรูปแบบกองทุนที่มีการคืนกำไรให้กับสมาชิก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    1.ลงพื้นที่รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ขยะ จำนวน 130 ครัวเรือน  ครอบคลุม 2 หมู่บ้าน คือบ้านคลองข่า ม.1 และบ้านคลองสอง ม.14 ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

    2.สังเคราะห์ข้อมูล  จัดทำเป็นสื่อเอกสารแผ่นพับเผยแพร่ความรู้ให้กับชุมชนได้รับรู้ปัญหาและสถานการณ์ขยะ

    3.สื่อสารประชาสัมพันธ์เดินรณรงค์ในการจัดการขยะในพื้นที่โดยเด็กเยาวชนโรงเรียนตาดีกา

    4.การใช้มิติทางศาสนาอิสลามแสดงธรรมในวันศุกร์ "ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของความศรัทธา " ในวิถีของชุมชนมุสลิม
    สร้างความตระหนักจากภายในจิตใจ ลด แยกขยะ

    -ชุดแผ่นพับความรู้สถานการณ์ขยะชุมชน "นัดศุกร์"

    -รายงานเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -รายงานฉบับสมบรณ์ ส.3

    อสม.,กลุ่มแม่บ้าน, ครู
    ,เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการจัดการขยะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    1.การประชุมอย่างต่อเนื่องในการสร้างแกนนำทั้งกลุ่มผู้หญิง อสม.ผู้นำศาสนา ,คณะครูโรงเรียนตาดีกา ในการขับเคลื่อนกิจกรรมและกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

    2.ให้ความรู้ปลูกฝังการมีวินัยในการทิ้งขยะ ในกลุ่มเด็กเยาวชนโรงเรียนตาดีกาที่เป็นเด็กเล็ก ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันไปสู่ความร่วมมือระหว่างเด็กและผู้ปกครองที่บ้าน

    3.การจัดตั้งกลุ่มแกนนำธนาคารขยะบ้านคลองข่า ม.1 และบ้านคลองสอง ม.14 ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะของชุมชน

    4.การเดินรณรงค์การจัดการขยะโดยเด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา  ในชุมชน เช่น การละหมาดวันศุกร์ ,หลักคำสอนในศาสนาอิสลาม"ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของความศรัทธา "

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -แผ่นพับความรู้เผยแพร่สถานการณ์ขยะของชุมชน นัดศุกร์

    -รายงานฉบับสมบรูณ์ ส.3

    การประชุมของหมู่บ้านจะมีวาระการพูดคุย การจัดการขยะในชุมชนทุกครั้งเพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นของคนในชุมชน เพื่อนำไปสู่การวางแผน และยุทธศาสตร์ของ อบต.ในพื้นที่ตำบลนาทับ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    1.นักเรียนโรงเรียนตาดีกา

    2.กลุ่มกองทุนธนาคารขยะบ้านคลองข่า หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 14

    กลุ่มกองทุนธนาคารขยะ บ้านคลองข่า หมู่ที่ 1 ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

    สร้างศูนย์การเรียนรู้และติดตั้งเทคโนโลยีการจัดการขยะในชุมชน จำนวน 1 แห่ง ในการเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในชุมชนและในพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    1.ครัวเรือนมีความรู้ในการแยกขยะ และการจัดการขยะในพื้นที่ เช่น การเก็บขยะแห้งและการจัดการขยะเปียก

    2.คนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทิ้งขยะในพื้นที่ชุมชน เช่น ถนน โรงเรียน มัสยิด ตลาดนัด ฯ

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมคัดแยกขยะ ครอบคลุมทุกครัวเรือน จำนวน 120 ครัวเรือน ของหมู่ที่ 1 บ้านคลองข่า

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ชุมชนมีการประชาสัมพันธ์การจัดการขยะผ่านหอกระจายเสียงของชุมชน และพูดแสดงธรรมในวันศุกร์

    -การแสดงธรรมอุตบะฮ์ในทุกวันศุกร์

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    มีการประชาสัมพันธ์เสียงตามสายทุกเช้า และ ประชาสัมพันธ์แสดงธรรมทุกวันศุกร์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    1.การจัดการขยะแห้ง เช่น ขวดน้ำพลาสติก  เก็บรวมเพื่อขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ทำให้ครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้น และเกิดกองทุนขยะในชุมชน

    -จุดรับฝากขยะ ของธนาคารขยะบ้านคลองข่า หมู่ที่ 14

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ขยายเพิ่มที่เก็บขยะแห้งเป็น  2 จุด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    การจัดตั้งกลุ่มกองทุนขยะในชุมชนบ้านคลองข่า ที่เริ่มจากการรับฝากขยะประเภทขวดพลาสติก เพื่อลดขยะในชุมชน และการสร้างรายได้ให้กับชุมชน

    -บันทึกรายรับจากการขายขยะและการบริจาคขยะในแต่ละครั้ง ของ กองทุนธนาคารขยะบ้านคลองข่า

    เกิดกลุ่มธนาคารขยะ 2 แห่ง คือ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 14 บ้านคลองข่า ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    1.การประชาสัมพันธ์ ลด แยกขยะ ทุกวันศุกร์

    2.เวทีประชุมของหมู่บ้านคลองข่า หมู่ที่ 1

     

    ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการร่วมมือกับกลุ่มการจัดการขยะฐานศูนย์ของชุมชนปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในการเป็นพี่เลี้ยง  ให้คำแนะนำ

    ใบลงทะเบียนเข้าร่วมอบรมการคัดแยกขยะและการศึกษาดูงานการจัดการขยะฐานศูนย์ของชุมชนปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

    -ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    -สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในส่วนขององค์กรในพื้นที่ เช่น อบต. โรงเรียน,ชุมชน,ฯลฯ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    1.การใช้วิธีการลงพื้นที่สำรวจสถานณ์การณ์ขยะในชุมชน  เพื่อนำไปสู่การวางแผนการแก้สถานการณ์ปัญหาขยะของชุมชน

    2.การใช้แผ่นพับความรู้ เป็นสื่อให้ชุมชนรับรู้ข้อมูลขยะในชุมชน

    3.เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์การลด แยกขยะ ตลาดนัดวันศุกร์ ของชุมชนบ้านคลองข่า ซึ่งเป็นตลาดชุมชนที่คนทั้งในชุมชนและนอกชุมชนเข่ามาใช้บริการ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการทิ้งขยะอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

    -แผ่นพับข้อมูลการสำรวจขยะชุมชน

    -ไวนิวส์รณรงค์การคัดแยกขยะ

    -รายงานฉบับสมบรูณ์ ส.3

    -รายงานเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -สื่อไวนิวส์รณรงค์ ลด แยกขยะ ติดประกาศในพื้นที่ชุมชน เช่น มัสยิด โรงเรียน ตลาดนัดในชุมชน

    -สร้างศูนย์การเรียนรู้และติดตั้งเทคโนโลยีการจัดการขยะในชุมชน จำนวน 1 แห่ง ในการเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในชุมชนและในพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    1.ทรัพยากร คน  เช่น นักเรียนโรงเรียนตาดีกา ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กเล็กที่มีอายุระหว่าง 8-12 ปี กลุ่ม อสม. ผู้นำศาสนา เป็นสื่อประชาสัมพันธ์การแยกขยะทั้งในครัวเรือน และชุมชน

    -รายงานเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -รายงานฉบับสมบรูณ์ ส.3

    ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของแกนนำชุมชนนักเรียนโรงเรียนตาดีกา ,คณะครู ,แม่บ้าน ,เจ้าหน้าที่ สกว. ในการวางแผนการทำงานร่วมกัน

    การประชุมวางแผนการทำงาน ของแกนนำชุมชน,เจ้าหน้าที่ สกว. ในการทำงานร่วมกัน

    ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    การประชาสัมพันธ์เดินรณรงค์การลดขยะและการไม่ทิ้งขยะในพื้นที่ชุมชนผ่านเสียงตามสายและการแสดงธรรมในวันศุกร์

    -ความสะอาดของชุมชน

    -การมีวินัยในการทิ้งขยะ

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาขยะในชุมชน และให้แกนนำชุมชนสะท้อนสิ่งที่เห็นและการหาแนวทางออกร่วมกัน  จนนำไปสู่การตัดสินใจในการจัดการขยะ 2 ประเภท คือ ขยะแห้ง และขยะเปียก

    -ความสะอาดของชุมชน

    -การมีวินัยในการทิ้งขยะ

    -รายงานในเว้ปไซร์คนใต้สร้างสุข

    สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในส่วนขององค์กรในพื้นที่ เช่น อบต. โรงเรียน,ชุมชน,ฯลฯ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    การมีส่วมร่วมของคนในชุมชน ทั้งเด็ก แม่บ้าน แกนนำชุมชน  ฝ่ายปกครอง ในการช่วยกันทำกิจกรรม เช่น การเดินรณรงค์ลดการทิ้งขยะ การศึกษาดูงาน การอบรมฝึกคัดแยกขยะ  ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวทำให้คนในชุมชนเกิดความตระหนัก และมีความรู้ในการแยกขยะ

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -ความสะอาดของชุมชน

    -การมีวินัยในการทิ้งขยะ

    ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    สำรวจปริมาณขยะในชุมชน ชุมชนเห็นชนิดของขยะที่มีอยู่ในชุมชน ร่วมแลกเปลี่ยนกับบบุคคลและกลุ่มเครือข่ายจากภายนอก เช่น สกว. เครือข่ายปริก เข้ามาให้ความรู้การจัดการขยะ

    -รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    -แผ่นพับ ความรู้ในการจัดการขยะ

    -รายงาน ส.3

    ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 55-01790

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอุสมาน หวังสนิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด