directions_run

โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม ”

บ้านวังเจริญราษฎร์ หมุ่ที่ 9 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุวรรณา รัตนบุญโณ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม

ที่อยู่ บ้านวังเจริญราษฎร์ หมุ่ที่ 9 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 55-01881 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0953

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านวังเจริญราษฎร์ หมุ่ที่ 9 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านวังเจริญราษฎร์ หมุ่ที่ 9 ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 55-01881 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 199,500.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. มีกิจกรรมสร้างสรรค์ของคนในชุมชน และเยาวชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เอื้ออารีต่อกัน
  2. เพื่อลดความเสี่ยงด้านสุขภาพของคนในชุมชน
  3. มีการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เก็บออมอย่างน้อยวันละบาท และมีสวัสดิการรองรับผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 ตุลาคม 2555 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนตุลาคม  2555  จำนวน 31 วัน รวมทั้งสิ้น 448 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนตุลาคม  2555  จำนวน 31 วัน รวมทั้งสิ้น 448 คน

     

    0 0

    2. ประชุมแกนนำของชุมชน

    วันที่ 31 ตุลาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำเข้าร่วมการประชุมตามเป้าหมายและได้ร่วมกันทำความเข้าใจถึงตัวโครงการ  พร้อมทั้งนำเสนอการปฏิบัติกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเป็นไปด้วยดีตามแผน  จากเป้าหมาย 40 คน  มีผู้สนใจเข้าร่วมประชุมถึง  48 คน  ซึ่งมีท่านนายกอบต.นาทอนพร้อมคณะผู้บริหาร  เจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมครั้งนี้ด้วย

     

    0 0

    3. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนพฤศจิกายน  2555  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 397 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนพฤศจิกายน  2555  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 397 คน

     

    0 0

    4. การประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยน

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางสาวมณฑา  นวลดำเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  โซนภาคใต้ตอนบน  จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และสุราษฎร์ธานี  (มาเข้าร่วมเนื่องจากติดภาระกิจเมื่อ 3-4 พ.ย. 55  ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา)  แทน  นางสุวรรณา  รัตนบุญโณ  ผู้รับผิดชอบโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป้าหมายผู้เข้าร่วม 2 คน เข้าร่วมจริง 1 คน  ได้รับความรู้การจัดเก็บเอกสาร  หลักฐานทางการเงิน  การลงข้อมูลรายงานผู้รับผิดชอบ  การลงปฏิทินการปฏิบัติงานทางเว็ปไซด์

     

    0 0

    5. พี่เลี้ยงติดตามโครงการ

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับปฏิทินโครงการ และปฏิบัติกิจกรรมเป็นไปตามแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นไปตามการนัดติดตามโครงการ  ดูความก้าวหน้า แนะนำการจัดเก็บเอกสาร หลักฐานทางการเงิน  แก้ปัญหาอุปสรรคการดำเนินโครงการ

     

    0 0

    6. พี่เลี้ยงติดตามให้คำปรึกษา

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สอบถามความพร้อมในการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำความเข้าใจ  เตรียมความพร้อมของกิจกรรมการเปิดตัวโครงการระหว่างพี่เลี้ยงและผู้ประสานงานโครงการ  นางสาวมณฑา  นวลดำ

     

    0 0

    7. จัดเวทีเปิดตัวโครงการ

    วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ทำความเข้าใจ  สร้างแนวคิดที่ดีตาม  ทำกิจกรรมละลายพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ 2.ให้ผู้เข้าร่วมประชุมกำหนดกติกากลุ่มร่วมกันเพื่อให้ชุมชนบรรลุถึงวัตถุประสงค์ข้างต้น
    3.ค้นหาครอบครัวแปลงสาธิต    จำนวน  6  จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม 64 คน  ทุกคนได้ร่วมทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ  พร้อมทั้งได้ค้นหาครอบครัวแปลงสาธิต 6 จุด  คือ  1.นายอาริ  หรีมหนิ  2.นายสมพร  นวลดำ  3.นางสุพัศย์  มากยอด  4.นายสอและ  เจริญฤทธ์  5.นางฟาตีม๊ะ  ไวทยาพิศาล  6.นางกาหลง  ยุลสา

     

    0 0

    8. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนธันวาคม  2555  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 386 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนธันวาคม  2555  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 386 คน

     

    0 0

    9. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 5 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 30% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    10. กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ และกองทุนสัจจะวันละบาท

    วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรอธิบายทำความเข้าใจ  ความสำคัญของการฝาก  สิทธิประโยชน์  สวัสดิการที่จะได้รับ
    พร้อมทั้งทำการรับสมัครเป็นสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้นประมาณ  241 คน  ประชาชนมีความเข้าใจถึงการฝากเงิน  สิทธิประโยชน์  สวัสดิการที่จะได้รับ  มีการรับสมัครสมาชิกเพิ่มจำนวน 47 คน

     

    0 0

    11. จัดมหกรรมการกินผัก

    วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แข่งทำอาหารจากผัก  แข่งจัดผัก  แลกเปลี่ยนผัก  ทำกิจกรรมแลกของขวัญ  เล่นเกมว์ร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 241 คน  ทุกคนได้ร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน  มีความสุข  พร้อมทั้งได้ตระหนักถึงการกินผักเพื่อสุขภาพ

     

    0 0

    12. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 มกราคม 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนมกราคม  2556  จำนวน 27 วัน รวมทั้งสิ้น 396 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนมกราคม  2556  จำนวน 27 วัน รวมทั้งสิ้น 396 คน  เนื่องด้วยเดือนนี้มีวันหยุดหลายวันประชาชนหลายคนมีกิจกรรมต้องทำจึงมีการเต้นแอโรบิคในเดือนมกราคมเพียง 27 วัน

     

    0 0

    13. สจรส.มอ.นัดตรวจผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 16 มกราคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจดูผลการดำเนินงานโครงการ  การเก็บเอกสาร  และการบันทึกการดำเนินลงเว็ปไซด์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจ พร้อมทั้งแนะนำให้คำปรึกษาการดำเนินโครงการ  การบันทึกข้อมูลและการจัดเก็บเอกสาร

     

    0 0

    14. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนกุมพาพันธ์  2556  จำนวน 19 วัน รวมทั้งสิ้น 271 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนกุมพาพันธ์  2556  จำนวน 19 วัน รวมทั้งสิ้น 271 คน

     

    0 0

    15. กิจกรรมครอบครัวแปลงสาธิตจำนวน 6 จุด

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 03:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้เกษตรพอเพียง  ซึ่งแต่ละจุดจะต้องมีการปลูกผักปลอดสารพิษ  การทำปุ๋ยอินทรีย์  ทำน้ำหมักกชีวภาพ  มีทำป้ายโฆษณาให้ความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ ติด ณ บ้านที่เป็นต้นแบบครอบครัวแปลงสาธิต จำนวน  6  จุดๆละ 3  ป้าย  พร้อมทั้งให้คนในชุมชนมา เรียนรู้การปลูกผัก,  การทำปุ๋ยอินทรีย์,    และผลักดันให้ทุกครัวเรือนทำปุ๋ยอินทรีย์ปลูกผักกินเอง  และมีการแบ่งปันกันในระหว่างครัวเรือนมีการกำหนดกฎข้อตกลงที่ทำร่วมกันทั้งในการปลูกผักระดับกลุ่ม  และระดับครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 6 จุดรวมทั้งสิ้น  82 คน  เรียนรู้เกษตรพอเพียง การทำปุ๋ยอินทรีย์  ทำน้ำหมักกชีวภาพ  มีทำป้ายโฆษณาให้ความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ ติด ณ บ้านที่เป็นต้นแบบครอบครัวแปลงสาธิต จำนวน  6  จุดๆละ 3  ป้าย  พร้อมทั้งให้คนในชุมชนมา เรียนรู้การปลูกผัก,  การทำปุ๋ยอินทรีย์,

     

    0 0

    16. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 มีนาคม 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนมีนาคม  2556  จำนวน 17 วัน รวมทั้งสิ้น 263 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนมีนาคม  2556  จำนวน 17 วัน รวมทั้งสิ้น 263 คน

     

    0 0

    17. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 2 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    18. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 30% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    19. สจรส.ติดตามความก้าวหน้าของโครงการฯ

    วันที่ 8 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สจรส.ติดตามความก้าวหน้าของโครงการฯ  ได้มีโอกาสเรียนรู้ ทำความเข้าใจกระบวนการบริหารจัดการโครงการฯที่ทำอยู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้รายงานความก้าวหน้าของโครงการ

     

    0 0

    20. ส่งเสริมให้เด็กรู้จักและตระหนักในการออม

    วันที่ 9 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ส่งเสริมให้ความรู้ตระหนักในการออม  ประดิษฐ์กระปุกออมสินจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นเพื่อใช้เอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กๆตระหนักในการออม  ประดิษฐ์กระปุกออมสินจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นเพื่อใช้เองโดยมีเด็กเข้าร่วมโครง  52 คน

     

    0 0

    21. ประชุมตั้งกฎกติกา

    วันที่ 12 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมตั้งกฎกติกา ระเบียบการจ่ายสวัสดิการแก่ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กรรมการกองทุนสวัสดิการสัจจะวันละบาทตำบลนาทอน จำนวน  30 คน  ประชุมตั้งกฎกติกา ระเบียบการจ่ายสวัสดิการแก่ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส

     

    0 0

    22. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 23 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    23. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 30 มีนาคม 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน 1,036 บาท

     

    0 0

    24. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 เมษายน 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนเมษายน  2556  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 355 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนเมษายน  2556  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 355 คน

     

    0 0

    25. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 6 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    26. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 6 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    27. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 40% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    28. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (อบรมให้ความรู้)

    วันที่ 15 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการอบรมให้ความรู้เด็ก/เยาวชนในการดูแลให้ความช่วยเหลือผู้พิการ/ผู้สูงอายุ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการอบรมให้ความรู้เด็ก/เยาวชนในการดูแลให้ความช่วยเหลือผู้พิการ/ผู้สูงอายุ  จำนวน  1 วัน  เด็ก/เยาวชนจำนวน  78 คน

     

    0 0

    29. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 19 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    30. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 20 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    31. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 27 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    32. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 27 เมษายน 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน 982 บาท

     

    0 0

    33. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนพฤษภาคม  2556  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 394 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนพฤษภาคม  2556  จำนวน 30 วัน รวมทั้งสิ้น 394 คน

     

    0 0

    34. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    35. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 50% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    36. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้รับผิดชอบโครงการ

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สจรส.ติดตามความก้าวหน้าของโครงการฯ  แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ปี 2555

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามความก้าวหน้า  แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ปี 2555

     

    0 0

    37. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    38. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    39. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน 1,002 บาท

     

    0 0

    40. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    41. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 มิถุนายน 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนมิถุนายน  2556  จำนวน 28 วัน รวมทั้งสิ้น 400 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนมิถุนายน  2556  จำนวน 28 วัน รวมทั้งสิ้น 400 คน

     

    0 0

    42. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 45% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    43. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 9 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    44. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 22 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    45. เดินรณรงค์

    วันที่ 28 มิถุนายน 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เดินรณรงค์จัดพาเหรด  เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ  ประชาชนตระหนักถึงการปลูกผักกินเอง  และมีประโยชน์อย่างไรในการกินผักปลอดสารพิษ  รวมถึงตระหนัก  และเชิญชวนให้หันมาออกกำลังกาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เดินรณรงค์จัดพาเหรด  ประชาชนตระหนักถึงการปลูกผักกินเอง  และมีประโยชน์อย่างไรในการกินผักปลอดสารพิษ  รวมถึงตระหนัก  และเชิญชวนให้หันมาออกกำลังกาย  โดยมีกลุ่ม อสม.  และนักเรียนโรงเรียนอัลฟุลกอนวิทยารวมขบวนพาเหรด  รวมทั้งสิ้นประมาณ 209 คน

     

    0 0

    46. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 29 มิถุนายน 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน 1,042 บาท

     

    0 0

    47. พี่เลี้ยงติดตามให้คำปรึกษา

    วันที่ 29 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงสอบถามความพร้อมในการทำกิจกรรม  ติดตามความคืบหน้าการจัดกิจกรรมต่างๆ  ในโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำความเข้าใจ  เตรียมความพร้อมของกิจกรรมที่ทำไปแล้ว  และกำลังจะทำ

     

    0 0

    48. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนกรกฎาคม  2556  จำนวน 22วัน รวมทั้งสิ้น 341 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนกรกฎาคม  2556  จำนวน 22 วัน รวมทั้งสิ้น 341 คน

     

    0 0

    49. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 35% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    50. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 14 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    51. สจรส.ติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 16 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สจรส.ติดตามความก้าวหน้าของโครงการฯ  ตรวจสอบบัญชีทางการเงินและความถูกต้องของเอกสารต่างๆ  ของโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ปี 2555

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเอกสารบางตัวที่ยังไม่สมบูรณ์  แต่ได้รับคำแนะนำในการแก้ไข  และวิธีเก็บเอกสารที่ถูกต้อง

     

    0 0

    52. จัดทำแบบฟอร์มสำรวจข้อมูล

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้มการคิดแบบฟอร์มการสำรวจข้อมูลพื้นในชุมชน  โดยนางสุพัศย์  มากยอด  และนางสาวมณฑา  นวลดำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการออกแบบฟอร์มสำรวจข้อมูลในชุมชนขึ้น 2 ชุด  คือก่อนเข้าร่วมโครงการ  และหลังเข้าร่วมโครงการ  อันจะทำให้ได้ข้อมูลที่สอดคล้องกับตัวโครงการ

     

    0 0

    53. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน  714 บาท

     

    0 0

    54. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    55. สำรวจข้อมูล

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำการเก็บข้อมูลแต่ละครัวเรือนๆ ละ 2 ชุด  มาเป็นตัวชี้วัด  วิเคราะห์  เทียบเคียงในการทำกิจกรรมของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เก็บข้อมูลตามแบบสำรวจจำนวนทั้งสิ้น 142 ครัวเรือน

     

    0 0

    56. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 สิงหาคม 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนสิงหาคม  2556  จำนวน 28วัน รวมทั้งสิ้น 400 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนสิงหาคม  2556  จำนวน 28 วัน รวมทั้งสิ้น 400 คน

     

    0 0

    57. ให้ความรู้ด้านโภชนาการ

    วันที่ 3 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรบรรยายให้ความรู้ด้านโภชนาการที่จะสามารถลดความเสี่ยงของโรค  พร้อมทั้งปรับความคิดด้านบวกในการใช้ชีวิตในครอบครัว  ทั้งบทบาทความเป็นแม่  บทบาทของภรรยา  อย่างไรให้มีความสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีกลุ่มสตรีที่เป็นแม่บ้านเข้ารับฟังการบรรยายทั้งสิ้น 100 คน

     

    100 100

    58. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 40% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    59. สรุปข้อมูลจากการสำรวจ

    วันที่ 7 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปความถี่ของข้อมูลแต่ละหัวข้อจากแบบสำรวจการบริโภคผักของคนในชุมชน, ผักพื้นบ้าน ,ผู้ป่วยเรื้อรัง, ผู้มีภาวะรอบเอวเกิน/โรคอ้วน  การออมของประชาชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปความถี่ของข้อมูลแต่ละหัวข้อจากแบบสำรวจทั้งสิ้น  142 ครัวเรือน  จำนวน  284  ชุด 

     

    0 0

    60. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    61. กิจกรรมครอบครัวแปลงสาธิต (เพิ่มเติม)

    วันที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้มีการจับกลุ่มเรียนรู้เกษตรพอเพียง  เรียนรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์-น้ำหมักชีวภาพ  เรียนรู้การปลูกผักเพิ่มเติมจากกิจกรรมครอบครัวแปลงสาธิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเรียนรู้เกษตรพอเพียง  เรียนรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์-น้ำหมักชีวภาพ  เรียนรู้การปลูกผักเพิ่มเติมจากกิจกรรมครอบครัวแปลงสาธิต  พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนต้นกล้าผัก

     

    0 0

    62. ติดตามประเมินผล

    วันที่ 24 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามการทำกิจกรรมปลูกผัก,การฝากออมทรัพย์,และสัจจะวันบาทของแต่ละครัวเรือน  (เพื่อดูการความต่อเนื่องของการทำกิจกรรม) 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนจะเข้าไปติดตามผลในช่วงเย็นหลังจากเลิกเรียนหรือทำกิจกรรมอื่นใดแล้ว  ครั้งละ 5 คน  โดยช่วยถ่ายรูปและบันทึกกันเอง

     

    0 0

    63. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 31 สิงหาคม 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน 945 บาท

     

    0 0

    64. เต้นแอโรบิค

    วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเต้นแอโรบิค  เวลา 17.00 น. ถึง 18.00 น. ประจำเดือนกันยายน  2556  จำนวน 19 วัน รวมทั้งสิ้น 195  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน/เยาวชนเข้าร่วมเต้นแอโรบิค  ออกกำลังกายทุกเย็น ประจำเดือนกันยายน  2556  จำนวน 19 วัน รวมทั้งสิ้น 195 คน

     

    0 0

    65. จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนและกินผัก

    วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำผักมาแลกเปลี่ยน  เอาผักจากบ้านตัวเองมาวาง  และหยิบแลกกับเพื่อนบ้านในชนิดผักที่บ้านตัวเองไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ประมาณ 45% นำผักมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    0 0

    66. - กิจกรรมคน 3 วัยห่วงใยกัน (กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่ )

    วันที่ 8 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เข้าไปเยี่ยมเยียนผู้พิการ/ผู้สูงอายุในชุมชน  ซึ่งจะแบ่งเด็กและเยาวชนออกเป็น 5 กลุ่มย่อย  หมุนเวียนกันเข้าไปเยี่ยมพูดคุยผ่อนคลาย  ให้แนวคิดประสบการณ์การดำเนินชีวิต  และเป็นการสร้างสัมพันธ์ดีดูแลซึ่งกันและกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการออกเยี่ยมแต่ละครั้งจะมีเด็กกลุ่มละประมาณ 5-6 คน  และจะเข้าไปเยี่ยมผู้ใหญ่ครั้งละ 1-2 คน  เนื่องจากแต่ละครั้งที่เข้าไปเยี่ยมเยียนนั้น  จะมีการพูดคุยกันเป็นเวลานานพอสมควร  เนื่องจากมีการพูดคุยติดลมกัน

     

    0 0

    67. จัดทำเวทีสรุปผลการทำงาน

    วันที่ 8 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำเวทีสรุปผลการทำงาน พร้อมสรุปผลโครงการ  ทำความเข้าใจถึงข้อมูล  ข้อดี ข้อเสีย จุดบกพร่องของการปฏิบัติกรรมร่วมกันในชุมชน  ผู้เข้าร่วมจำนวน 102  คน เป็นเวลา 1 วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมเวทีสรุปผลการทำงาน พร้อมสรุปผลโครงการ จำนวน 102  คน เป็นเวลา 1 วัน

     

    100 102

    68. จัดให้มีบริการให้ออมทรัพย์ถึงประตูโรงเรียน

    วันที่ 14 กันยายน 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางกรรมการกลุ่มออมทรัพย์มารับฝากเงินถึงโรงเรียนตาดีกามัสยิดบัยตุลมุตตากีน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กมาฝากเงินต่อสัปดาห์ คนละ 7 บาท  หนึ่งเดือนเป็นเงิน 868 บาท

     

    0 0

    69. พี่เลี้ยงติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานทางการเงิน  พร้อมทั้งให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสารปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ยังมีบางโครงการที่ยังเก็บเอกสารไม่เรียบร้อย  และการบันทึกการทำกิจกรรมยังไม่เสร็จสิ้น

     

    0 0

    70. จัดทำรายงานส่ง สสส.พร้อมภาพถ่าย

    วันที่ 16 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงาน  สรุป  รวมรูปภาพกิจกรรม  พร้อมทั้งเก็บรวบรวมเอกสารทางการเงินทั้งหมดตลอดโครงการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงรายงานกิจกรรมทางเว็ปไซต์  จัดทำสรุปรายงาน  และเก็บเอกสารทางการเงิน

     

    0 0

    71. สจรส.ติดตามรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 22 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่ตรวจความเรียบร้อยบัญชีทางการเงิน  เอกสารประกอบ  และพี่เลี้ยงแนะนำการจัดทำรายงานสรุปปิดตัวโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียมเอกสาร  และเรียนรู้การจัดทำรายงานสรุปปิดตัวโครงการส่งแก่  สจรส.

     

    0 0

    72. ส่งรายงานสรุปโครงการแก่ สจรส.

    วันที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำส่งรายงาน  พร้อมทั้งเข้ารับฟังสรุปโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจสอบเอกสารที่ทางการเงิน  พร้อมส่งเอกสาร  และรายงานสรุปโครงการ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 มีกิจกรรมสร้างสรรค์ของคนในชุมชน และเยาวชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เอื้ออารีต่อกัน
    ตัวชี้วัด : - จำนวนคนในชุมชน และเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

     

    2 เพื่อลดความเสี่ยงด้านสุขภาพของคนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : - จำนวนผู้ป่วย/ผู้มีรอบเอวเกินในชุมชนลดน้อยลง

     

    3 มีการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เก็บออมอย่างน้อยวันละบาท และมีสวัสดิการรองรับผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส
    ตัวชี้วัด : - ยอดจำนวนการออม และการฝากสัจจะของคนในชุมชนที่เพิ่มขึ้น มีกฏเกณฑ์ข้อบังคับระบุเพื่อช่วยเหลือผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) มีกิจกรรมสร้างสรรค์ของคนในชุมชน  และเยาวชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี  เอื้ออารีต่อกัน (2) เพื่อลดความเสี่ยงด้านสุขภาพของคนในชุมชน (3) มีการลดรายจ่าย  เพิ่มรายได้  เก็บออมอย่างน้อยวันละบาท  และมีสวัสดิการรองรับผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม

    รหัสโครงการ 55-01881 รหัสสัญญา 55-00-0953 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชาวบ้านมีความตื่นตัวในการรู้จักการออม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    มีการทำกระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มีการจัดการทำงานแบบเป็นกลุ่ม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีการเพิ่มสมาชิกในกลุ่ม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีการสาธิตการทำปุ๋ยหมัก

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มี อสม. มาวัดความดันโลหิตทุกเดือน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ปลูกผักกินเอง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการเต้นแอโรบิคทุกวันม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    มีการอบรมเยาวชนกลุ่มเสี่ยง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    มีการเข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับโรคเอดส์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    มีการเล่นกีฬาในเวลาเย็น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ปลูกขมิ้นขาวแก้โรคกระเพาะ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    รู้จักการอดออมโดยการปลูกผักกินเอง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการทำปุ๋ยหมักใช้เอง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    เกิดความสามัคคีในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีองค์กรต่างๆเข้ามามีส่วนร่วม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ลดรายจ่ายในครอบครัว

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    สมาชิกในกลุ่มต้องเป็นคนในหมู่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีความประทับใจที่ทำให้ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่ดี

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการชุมชนน่าอยู่ สู่สานสัมพันธ์ สร้างสรรค์การออม จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 55-01881

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุวรรณา รัตนบุญโณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด