แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค ”

ชุมชนคลองผ่าน เทศบาลคลองแงะ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอาเขตร์ หมัดเจะเร๊ะ

ชื่อโครงการ วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค

ที่อยู่ ชุมชนคลองผ่าน เทศบาลคลองแงะ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 55-01917 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0995

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนคลองผ่าน เทศบาลคลองแงะ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนคลองผ่าน เทศบาลคลองแงะ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 55-01917 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 162,400.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไป / กลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไป / กลุ่มเสี่ยงได้ศึกษาวิธีปฏิบัติตัวในโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคได้อย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เปิดเวทีแนะนำโครงการ

    วันที่ 20 ตุลาคม 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีประชาคมแนะนำโครงการให้สมาชิกรับทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันที่ 20 ตุลาคม 2555 เวลา 10.30 น. เริ่มจากผู้ใหญ่บ้านหมู่ 6 บ้านคลองผ่าน ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ได้กล่าวเปิดประชุมเพื่อแนะนำโครงการให้ผู้เข้าร่วมรับทราบถึงที่มาที่ไปของโครงการ โดยมอบให้นายมนตรี หมัดอะดัม เลขาโครงการเป็นผู้อธิบายความเป็นมาของโครงการ แนะนำคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการให้ผู้เข้าร่วมรับทราบ ผลของการจัดกิจกรรมครั้งนี้เกิดความร่วมมือของคนในชุมชนด้วยกัน คนในชุมชนให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพจากเดิมที่คนในชุมชนมีการตรวจสุขภาพของตนเองอยู่แล้วนั้น เมื่อมีโครงการหรือกิจกรรมที่สามารถเพิ่มความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพหรือวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ตลอดจนโครงการได้จัดขึ้นในชุมชนเองซึ่งทำให้สะดวกมากขึ้นจากที่ต้องไปตรวจนอกชุมชน /รพสต. ฯลฯ ทำให้คนในชุมชนสนใจมากขึ้นโดยเฉพาะวัยกลางคนขึ้นไป กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ (ไม่ต้องเดินทางไกล)

     

    0 0

    2. ประชุมปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปฐมนิเทศ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทราบแนวทางการจัดเก็บข้อมูลระบบบันทึกและแบบแผนการดำเนินโครงการอย่างถูกต้องสามารถนำความรู้ที่มีไปปฎิบัติได้จริง

     

    0 0

    3. ตรวจสุขภาพวัดรอบเอววัดน้ำหนักวัดความดันโลหิตวัดน้ำตาลในเลือด เก็บข้อมูล

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วัดน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดัน/วัดน้ำตาลในเลือด (เฉพาะวัยที่มีความเสี่ยงหรือคนที่มีน้ำหนักเกินตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเริ่มเวลา 08.00น.เจ้าหน้าที่รพสต.คลองแงะได้ให้ความร่วมมือกับโครงการโดยส่งเจ้าหน้าที่มาช่วยในการตรวจวัดรอบเอว/ความดันโฃลหิต/ระดับน้ำตาลในเลืด(เบาหวาน)และเทศบาลตำบลคลองแงะได้ส่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาให้ความร่วมมือในการตรวจสุขภาพด้วยเช่นกันโดยสมาชิกได้ทยอยมารับบริการตรวจสุขภาพกันอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมการตรวจสุขเสร็จสิ้นในเวลา12.00 น.หลังจากตรวจสุขภาพแล้วเจ้าหน้าที่รพสต. เจ้าห น้าที่สาธารณสุข คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกันรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกันที่ มัสยิดบ้านคลองผ่าน เกือบได้ตามเป้าหมาย

     

    0 0

    4. จัดเวทีประชุมเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดัน ความรู้ด้านเกษตรกรรม

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้โดยวิทยากรที่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเริ่มต้นเวลา 09.30 น.สมาชิกทยอยเข้าร่วมการอบรมที่มัสยิดบ้านคลองผ่าน โดยเริ่มจากนางลักขนา หมัดอาดัม ปราชย์ชาวบ้านได้บรรยายให้ความรุ้ด้านแพทแผนไทยวิธีการรักษาสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคการใช้ชีวิตประจำวัน ต่อด้วย นางลาดา สุวรรณรัตน์ได้บรรยายให้ความรู้ในเรื่องเกษตร การปลูกผักพร้อมรณรงค์ให้สมาชิกหันมาปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อนำมาบริโภคหรือขายผักปลอดสารพิษให้กับผู้บริโภค อื่น ๆ ด้วย กิจกรรมมีสมาชิกให้ความสนใจเข้ารับฟังการบรรยายในครั้งนี้ตามความคาดหมายเกิน 70%

     

    0 0

    5. จัดกิจกรรมปลูกผัก

    วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เวลา 15:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการปลูกผักปลอดสารผิดโดยใช้ปราชญ์ชาวบ้านเป็นผู้นำให้ความรู้และปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเริ่มเวลา 16.00น. มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งเยาวชนพ่อบ้านและแม่บ้านให้ความร่วมมือเพื่อปลูกผักหลังบ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์ โดยสมาชิกได้นำอุปกรณ์การปลูกผักมาด้วย อธิเช่น จอบ กิจกรรมจัดได้ประมาณ 2 ชั่วโมง ท้องฟ้าเริ่มมัว ทำให้้ต้องรีบทำการปลูกผักให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว

     

    0 0

    6. ศึกษาดูงานโครงการอาหารสุขภาพชุมชนบ้านตีนวัด

    วันที่ 16 ธันวาคม 2555 เวลา 10:00 น. -18.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาดูงานชุมชนบ้านตีนวัด เทศบาลควนลัง ศึกษาดูงานชุมชนห้วยหลอ ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ กลุ่มตะบอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมครั้งนี้ได้นัดหมายสมาชิกที่คัดเลือกไว้ประมาณ 34 คน เวลา 10.00 น. มีสมาชิกเข้าร่วมการศึกษาดูงานทั้งสิ้น 34 คน เริ่มเดินทางสู่ชุมชนบ้านตีนวัด ตำบลควนลังอำเภอหาดใหญ่ ถึงชุมชนบ้านตีนวัดเวลา 10.40 น.ทางชุมชนบ้านตีนวัดได้จัดอบรมและฝึกวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาล้างจาน ใช้เวลาประมาณสองชั่วโมง รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกันที่มัสยิดบ้านตีนวัด หลังจากรับประทานอาหารเที่ยงเสร็จป้าบุญสมได้นำคณะไปดูวิธีการปลูกมะนาวในท่อ เสร็จจากชุมชนบ้านตีนวัด คณะได้เดินทางสู่ชุมชนบ้านห้วยหลอ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ศึกษาวิธีการออกกำลังกายด้วยตะบองโดยปราชญ์ของชุมชนบ้านตีนวัดเป็นผู้สอน เสร็จจากชุมชนห้วยหลอ เดิทางสูตลาดน้ำคลองแห เพื่ให้คณะจับจ่ายซื้อของตามอัธยาศัย กิจกรรมครั้งนี้ ทุกคนได้รับความรู้และประสบการพอสมควรที่จะนำไปปรับใช้ในภาคครัวเรือน/ชุมชนต่อไป

     

    0 0

    7. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 20 ธันวาคม 2555 เวลา 10:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เยี่ยมเยือนผู้ป่วยพร้อมแนะนำให้ความรูการรักษาระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการและปราชญ์ชาวบ้านได้นัดหมายรวมตัวกันที่บ้านคุณลาดา สุวรนรณรัตน์ เวลา 10.00 น.คณะได้เริ่มเดินทางไปเยี่ยมผู้ป่วยเมื่อถึงบ้านเป้าหมายเจ้าบ้านได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี ปราชญ์ชาวบ้านได้แนะนำให้ผู้ป่วยหรือลูกหลานผู้ป่วยได้ปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพด้วย และได้มอบสมุดบรรทึกการกินผัก กิจกรรมครั้งนี้สามารถแนะนำให้ความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยนำไปปรับใช้และสามารถเป้นกำลังใจให้ผู้ป่วยได้

     

    0 0

    8. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 27 ธันวาคม 2555 เวลา 10:30-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและให้กำลังใจผู้ป่วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ป่วยมีกำลังใจเพิ่มขึ้นคณะกรรมการและปราชญ์ชาวบ้านได้นัดหมายรวมตัวกันที่บ้านคุณลาดา สุวรนรณรัตน์ เวลา 10.00 น.คณะได้เริ่มเดินทางไปเยี่ยมผู้ป่วยเมื่อถึงบ้านเป้าหมายเจ้าบ้านได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี ปราชญ์ชาวบ้านได้แนะนำให้ผู้ป่วยหรือลูกหลานผู้ป่วยได้ปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพด้วย และได้มอบสมุดบรรทึกการกินผัก กิจกรรมครั้งนี้สามารถแนะนำให้ความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยนำไปปรับใช้และสามารถเป้นกำลังใจให้ผู้ป่วยได้เมื่อมีคนมาเยี่ยมเยือน

     

    0 0

    9. เยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 27 ธันวาคม 2555 เวลา 10:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เยี่ยมเยือนผูัป่วยแนะนำให้ความรู้เพื่อให้ผู้นำไปปรับใช้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ญาติผู้ป่วยให้การต้อนรับเป็นอย่างดีพร้อมรับคำแนะนำจากปราชญ์ชาวบ้านเพื่อนำไปปรับใช้ต่อไปคณะกรรมการและปราชญ์ชาวบ้านได้นัดหมายรวมตัวกันที่บ้านคุณลาดา สุวรนรณรัตน์ เวลา 10.00 น.คณะได้เริ่มเดินทางไปเยี่ยมผู้ป่วยเมื่อถึงบ้านเป้าหมายเจ้าบ้านได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี ปราชญ์ชาวบ้านได้แนะนำให้ผู้ป่วยหรือลูกหลานผู้ป่วยได้ปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพด้วย และได้มอบสมุดบรรทึกการกินผัก กิจกรรมครั้งนี้สามารถแนะนำให้ความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยนำไปปรับใช้และสามารถเป้นกำลังใจให้ผู้ป่วยได้

     

    0 0

    10. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 10 มกราคม 2556 เวลา 15:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีสมาชิกแต่ละครัวเรือนมาร่วมกิจกรรมผักแลกผัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมได้นัดหมายสมาชิกเข้าร่วมเวลา 15.30 น.ที่บ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์ มีสมาชิกนำผักมาร่วมกิจกรรมผักแลกผักผู้เข้าร่วมทยอยมาเข้าร่วมกิจกรรมช้าไปหน่อยลำบากต่อการเก็บภาพหมู่สวนสมาชิกที่ไม่ว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ก็ได้ฝากผักมากับสมาชิที่อยู่ไกล้กันมาร่วมกิจกรรม กิจกรรมได้ทยอยแลกผักไปเรื่อย ๆ เพาะบางท่านไม่สมารถรอคอยให้สมาชิกมีครบตามเป้าได้เนื่องจากมีกิจธุระ

     

    0 0

    11. ประเมิณสุขภาพในรอบ 3 เดือน

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดวัดรอบเอว ช่างน้ำหนัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เทศบาลตำบลคลองแงะได้ส่งเจ้าหน้าทมี่าสาธารณสุขมาช่วยในการตรวจสุขภาพโดยเริ่มตั้งแต่เวลา 08.00 น.สมาชิกที่มีความเสี่ยงมาตรวจโรคประมาณ 25 คนคัดเฉพาะกลุ่มเสี่ยง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเทศบาลตำบลคลองแงะ สมาชิกที่มีความเสี่ยงไดทยอยเข้ารับการตรวจสุขภาพ เสร็จสิ้นเวลาประมาณ 12.00 น. คณะผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงที่มัสยิดบ้านคลองผ่าน

     

    0 0

    12. ประชุมติดตามประเมิณผลงานในรอบ 3 เดือน

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกเข้าร่วมประชุมและแสดงความคิดเห็นกับกิจกรรมที่จัดขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการตลอดจนสมาชิกได้ทยอยเข้าร่วมกิจกรรมประเมิณโครงการในรอบสามเดือนที่ผ่านมาที่ประชุมมีสมาชิกเสนอให้มีการซื้อเมล็ดพันธ์ผักมาแจกให้สมาชิกได้ปลูกผัก และข้อเสนอของสมาชิกได้มีผู้รับผิดชอบไปพิจารณาหาผู้สนับสนุนทุนในการซื้อเมล็ดพันธ์ โดยมีอยู่สองหน่วยงาน ได้แก่คณะนายกเทศมนตรนีตำบลคลองแงะ กำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลพังลาส่วนใหญ่ กิจกรรมครั้งนี้สมาชิกได้สะท้อนถึงกิจกรรมผักแลกผักให้ความสำคัญในกิจกรรมผักแลกผักมากกว่าการตรวจสุขภาพทุก 3 เดือน ปิดประชุมโดยอีหม่ามมัสยิดบ้านคลองผ่าน โดยได้กล่าวถึงความสามัคคีให้สมาชิกได้ตระหนักและรักษาไว้

     

    0 0

    13. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกนำผักที่ปลูกเองมาแลกกันที่บ้าน คุณลาดา  สุวรรณรัตน์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมได้นัดหมายสมาชิกเข้าร่วมเวลา 15.30 น.ที่บ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์ มีสมาชิกนำผักมาร่วมกิจกรรมผักแลกผักผู้เข้าร่วมทยอยมาเข้าร่วมกิจกรรมช้าไปหน่อยลำบากต่อการเก็บภาพหมู่สวนสมาชิกที่ไม่ว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ก็ได้ฝากผักมากับสมาชิที่อยู่ไกล้กันมาร่วมกิจกรรม กิจกรรมได้ทยอยแลกผักไปเรื่อย ๆ เพาะบางท่านไม่สมารถรอคอยให้สมาชิกมีครบตามเป้าได้เนื่องจากมีกิจธุระ

     

    0 0

    14. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมผักแลกผักบริเวณบ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมได้นัดหมายสมาชิกเข้าร่วมเวลา 15.30 น.ที่บ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์ มีสมาชิกนำผักมาร่วมกิจกรรมผักแลกผักผู้เข้าร่วมทยอยมาเข้าร่วมกิจกรรมช้าไปหน่อยลำบากต่อการเก็บภาพหมู่สวนสมาชิกที่ไม่ว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ก็ได้ฝากผักมากับสมาชิที่อยู่ไกล้กันมาร่วมกิจกรรม กิจกรรมได้ทยอยแลกผักไปเรื่อย ๆ เพาะบางท่านไม่สมารถรอคอยให้สมาชิกมีครบตามเป้าได้เนื่องจากมีกิจธุระ

     

    0 0

    15. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกทยอยนำผักปลอดสารพิษมาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมได้นัดหมายสมาชิกเข้าร่วมเวลา 15.30 น.ที่บ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์ มีสมาชิกนำผักมาร่วมกิจกรรมผักแลกผักผู้เข้าร่วมทยอยมาเข้าร่วมกิจกรรมช้าไปหน่อยลำบากต่อการเก็บภาพหมู่สวนสมาชิกที่ไม่ว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ก็ได้ฝากผักมากับสมาชิที่อยู่ไกล้กันมาร่วมกิจกรรม กิจกรรมได้ทยอยแลกผักไปเรื่อย ๆ เพาะบางท่านไม่สมารถรอคอยให้สมาชิกมีครบตามเป้าได้เนื่องจากมีกิจธุระ

     

    0 0

    16. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 8 มีนาคม 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้สมาชิกนำผักที่ปลูกเองมาแลกกันที่บ้าน คุณลาดา  สุวรรณรัตน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมได้นัดหมายสมาชิกเข้าร่วมเวลา 15.30 น.ที่บ้านคุณลาดา สุวรรณรัตน์ มีสมาชิกนำผักมาร่วมกิจกรรมผักแลกผักผู้เข้าร่วมทยอยมาเข้าร่วมกิจกรรมช้าไปหน่อยลำบากต่อการเก็บภาพหมู่สวนสมาชิกที่ไม่ว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ก็ได้ฝากผักมากับสมาชิที่อยู่ไกล้กันมาร่วมกิจกรรม กิจกรรมได้ทยอยแลกผักไปเรื่อย ๆ เพาะบางท่านไม่สมารถรอคอยให้สมาชิกมีครบตามเป้าได้เนื่องจากมีกิจธุระ

     

    0 0

    17. จัดทำไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่

    วันที่ 1 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่ 4 แผ่นป้ายเพื่อใช้ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่ 4 แผ่นป้ายเพื่อใช้ในชุมชน

     

    0 0

    18. ติดตามการดำเนินโครงการโดย ทีมสจรส. มอ.

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    19. ติดตามการดำเนินโครงการโดย ทีมสจรส. มอ.

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 น.ลงทะเบียน พี่้เลี้ยง สจรส แนะนำวิธีการประเมิณโครงการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าประชุมเวลา13.00 น.อภิปรายโครงการเวลา 15.30 น.อภิปรายถึงกิจกรรมผักแลกผักความสำคัญการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

     

    0 0

    20. ติดตามการดำเนินโครงการโดยทีม สจรส มอ.

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้รายงานผลการดำเนินโครงการฟังการอภิปรายรายงานการดำเนินงานโครงการของสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับรู้การดำเนินงานโครงการต่างๆ และได้รายงานการดำเนินงานโครงการของชุมชให้สมาชิกที่เข้าร่วมประชุมได้รับฟังและเรียนรู้

     

    0 0

    21. เยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    22. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    23. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

     

    0 0

    24. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    25. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

     

    0 0

    26. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 16.00 น. กิจกรรมเริ่มมีสมาชิกทยอยเข้าร่วมกิจกรรมโดยแต่ละท่านได้นำผักที่ได้จากการปลูกหรือที่มีอยู่มาแลกกันบริเวณหน้าบ้านคุณลาดาสมาชิกบางส่วนแลกเสร็จก็ต้องรีบกลับทันทีเนื่องจากช่วงตอนเย็นเป็นเวลาทำอาหารไว้กินเมื่อค่ำ

     

    0 0

    27. ประเมินสุขภาพด้วยกิจกรรมตรวจสุขภาพในรอบ 3 เดือน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 08 .00 น. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเทศบาลตำบลคลองแงะได้นำอุปกรณ์ในการตรวจสุขภาพมาบริการสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการโดยมีอุปกรณ์การวัดน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต วัดระดับน้ำตาลในเลือด สถานที่ ณ มัสยิดบ้านคลองผ่าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลาประมาณ 08.10 น.เมื่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เตรียมอุปกรณ์การตรวจสุขภาพเรียบร้อยแล้วก็เริ่มให้บริการตรวจสุขภาพทันที มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม 75 ท่าน รวมทั้งเจ้าหน้าที่

     

    0 0

    28. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 14 มิถุนายน 2556 เวลา 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 16.00 น. สมาชิกเริ่มทยอยนำผักมาแลกกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์ ผักที่นำมาแลกเป็นผักที่สมาชิกปลูกไว้กินเอง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 16.00 น. สมาชิกโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค เริ่มทยอยเข้าร่มกิจกรรมผักแลกผักที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์ 

     

    0 0

    29. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 19 มิถุนายน 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    30. กิจกรรมผักแลกผัก

    วันที่ 21 มิถุนายน 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคเข้าร่วมกิจกรรมผักแลกผักโดยให้สมาชิกนำผักที่ปลูกไว้กินเองหรือบริโภคภายในครัวเรือนมาแลกกับสมาชิที่บ้านคุณลาดาส  สุวรรณรัตน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 16.00 น สมาชิกนำผักมาแลกกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์ โดยนำผักปลอดสารพิษที่ปลูกไว้เพื่อบริโภคภายในครัวเรือนมาแลกกับสมาชิกผู้เข้าร่วม

     

    0 0

    31. ติดตามความก้าวหน้าโครงการ เข้าปรึกษา สจรส มอหาดใหญ่

    วันที่ 29 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 09.00 น เดินทางเข้าพบสจรส ที่ มอ  หาดใหญ่ เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 10.00 น เดินทางถึง มอ หาดใหญ่ เข้าพบพี่เลี้ยง ทีมสจรส ติดตามความก้าวหน้าโครงการ

     

    0 0

    32. เยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    10 10

    33. เยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 14 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    34. ติดตามการดำเนินโครงการโดย ทีมสจรส. มอ.

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    35. ประชุมติดตามประเมิณผลงานในรอบ 3 เดือน

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกเข้าร่วมประชุมและแสดงความคิดเห็นกับกิจกรรมที่จัดขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการตลอดจนสมาชิกได้ทยอยเข้าร่วมกิจกรรมประเมิณโครงการในรอบสามเดือนที่ผ่านมาที่ประชุมมีสมาชิกเสนอให้มีการซื้อเมล็ดพันธ์ผักมาแจกให้สมาชิกได้ปลูกผัก และข้อเสนอของสมาชิกได้มีผู้รับผิดชอบไปพิจารณาหาผู้สนับสนุนทุนในการซื้อเมล็ดพันธ์ โดยมีอยู่สองหน่วยงาน ได้แก่คณะนายกเทศมนตรนีตำบลคลองแงะ กำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลพังลาส่วนใหญ่ กิจกรรมครั้งนี้สมาชิกได้สะท้อนถึงกิจกรรมผักแลกผักให้ความสำคัญในกิจกรรมผักแลกผักมากกว่าการตรวจสุขภาพทุก 3 เดือน ปิดประชุมโดยอีหม่ามมัสยิดบ้านคลองผ่าน โดยได้กล่าวถึงความสามัคคีให้สมาชิกได้ตระหนักและรักษาไว้

     

    0 0

    36. เยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 1 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    37. กิจกรรมเยี่ยมผู้ป่วย

    วันที่ 7 สิงหาคม 2556 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.00 น.คณะกรรมการโครงการบางส่วนปราชญ์ชาวบ้านพร้อมกันที่บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์เพื่อออกเยี่ยมผู้ป่วยตามแผนที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีตัวแทนจากกลุ่ม อสม. ตัวแทนจากกองทุนหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มสตรี ตัวแทนจากคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนจากกลุ่มกรรมการชุมชน เยี่ยมผู้ป่วยได้ตามแผนที่วางไว้

     

    0 0

    38. กิจกรรมสานสัมพันธ์ประสานใจชุมชน

    วันที่ 12 สิงหาคม 2556 เวลา 08:30 - 16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 08.30 น.เริ่มเดินขบวนรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมจุดเริ่มต้นจากหน้าวัดกอบกุลมุ่งสู่สนามฟุตบอลสภอ. คลองแงะ ประธานในพิธีกล่าวเปิดงานโดย นายสุวัฒ  เลิศจิตต์ธรรม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 08.30 น.เริ่มเดินขบวนรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมจุดเริ่มต้นจากหน้าวัดกอบกุลมุ่งสู่สนามฟุตบอลสภอ. คลองแงะ ประธานในพิธีกล่าวเปิดงานโดย นายสุวัฒ  เลิศจิตต์ธรรม จำนวนผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า 160 คน

     

    150 130

    39. ชี้แจงสรุปการดำเนินงานปิดโครงการ

    วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 18.30 น. สมาชิกและภาคีร่วม ร่วมรับประทานอาหารเย็นพร้อมกัน ณ ศูนย์กีฬานันทนาการเทศบาลตำบลคลองแงะ พร้อมร่วมพิธีปิดโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค อย่างพร้อมเพียงกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสมาชิกในชุมชนและภาคีร่วม เข้าร่วมกิจกรรม ปิดโครงการในยอนเย็นของวันที่ 12 สิงหาคม หลังเสร็จสิ้น กีฬาสานสัมพันธ์สานวจชุมชน

     

    0 0

    40. ร่วมขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง(งานสร้างสุขภาคใต้)

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 09.30 ฯ. เดินทางสู่อำเภอหาดใหญ่เพื่ิอเข้าร่วมกิจกรรมสร้างสุขภาคใต้ ณ มอ. หาดใหญ่ พร้อมรายงานการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวลา 09.30 ฯ. เดินทางสู่อำเภอหาดใหญ่เพื่ิอเข้าร่วมกิจกรรมสร้างสุขภาคใต้ ณ มอ. หาดใหญ่ พร้อมรายงานการดำเนินโครงการ

     

    2 2

    41. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 09.30 น.เดินทางสู่อำเภอหากใหญ่เพื่อรายงานสรุปปิดโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค ณสถาบันการจัดการระบบรูปภาพ สจรส มอ.หาดใหญ่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เดินทางถึงมอ. หาดใหญ่รายงานสรุปปิดโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค ณสถาบันการจัดการระบบรูปภาพ สจรส มอ. หาดใหญ่

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไป / กลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1. น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 2. โรคความดันโลหิต/เบาหวานลดลงร้อยละ 70 หรือสามารถควบคุมได้

     

    2 เพื่อให้ประชาชนทั่วไป / กลุ่มเสี่ยงได้ศึกษาวิธีปฏิบัติตัวในโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : 1. มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น 2. มีการดูแลสุขภาพร่างกายมากขึ้น เช่น ออกกำลังกาย เป็นต้น 3. หลักสูตรการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนทั่วไป / กลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนทั่วไป / กลุ่มเสี่ยงได้ศึกษาวิธีปฏิบัติตัวในโครงการวงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคได้อย่างถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค

    รหัสโครงการ 55-01917 รหัสสัญญา 55-00-0995 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    มีปราชญ์ชาวบ้านที่สามารถให้ความรู้ในด้านการเกษตรและแพทภูมิปัญญา

    แผ่นพับและรายงานโครงการ ส.3 www.happynetwork .org

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีแหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีเพียงแห่งเดียวคือมัสยิดบ้านคลองผ่าน และเป็นความรู้ด้านศาสนาและวัฒนธรรมเท่านั้น

    บ้านคุณลาดา  สุวรรณรัตน์
    บ้านคุณลักขณา  หมัดอาดัม

    เพิ่มแหล่งเรียนรู้ทางด้านการเกษตร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีสมาชิกในโครงการให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพมากขึ้น มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคภายในครัวเรือน

    ชุมชนบ้านคลองผ่าน เทศบาลตำบลคลองแงะ

    เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักปลอดสารพิษ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคผักที่ปลูกในชุมชนหรือผักที่ปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นการซื้อผักในตลาดมีปริมาณลดลง

    รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ ส. 3 www.happynetwork .org

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการร่วมกลุ่มกันออกกำลังกายทั้งกลุ่มแม่บ้าน และกลุ่มเยาวชน

    รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ ส. 3 www.happynetwork .org

    อยากให้กลุ่มแม่บ้านเพิ่มจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    สมาชิกมีกิจกรรมให้เข้าร่วมในทุกเดือนเกือบทั้งปีมีการพบปะพูดคุยกันมากขึ้นทำให้เกิดความสามัคคี

    รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ ส. 3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน มีการทำน้ำหมักไว้ใช้เอง มีการทำปุ๋ยหมักเพื่อเร่งการเจรฺญเติบโตของผักที่ปลูกไว้

    รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ ส. 3 www.happynetwork .org

    เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    มีสมาชิกบางครัวเรือนไม่ซื้อผักจากตลาดมาบริโภคเลย บางครัวเรือนนำผักที่เหลือจากการบริโภคภายในครัวเรือน ไปขายสร้างรายได้ให้กับครอบครัว

    บ้านคุณมาหนับ  หมัดเลียด บ้านคุณสุธรรม  หมาดเดียะ บ้านคูณลาดาสุวรรณรัตน์ บ้านคุณลักขณา  หมัดอาดัม บ้านคุณมนตรี  หมัดอะดัม  บ้านคุณสมบัติ  หมาดเดียะ บ้านคุณม๊ะ  หมัดอาดัม ฯลฯ

    เพิ่มจำนวนครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    มีการให้ความรู้ในเรื่องแพทแผนไทย

    คุณลักขณา  หมัดอาดัม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ชุมชนมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเองและสามารนำมาแลกเปลี่ยนกันหรือขายให้คนในชุมชนได้บริโภคผักปลอดสารพิษด้วยกันเอง

    บ้านกลุ่มเป้าหมายจำนวน 10 ครัวเรือน

    เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีการแนะนำให้คนใกล้เคียงหรือมกลุ่มสมาชิกได้ห่วงใยสุขภาพซึ่งกันและกันมากขึ้นมีการแนะให้บริโภคผักปลอดสารพิษจากสมาชิก วิธีการเลือกซื้อผักจากตลาดที่ปลอดสารพิษ หรือวิธีการล้างผักที่ซื้อมาจากตลาด

    บ้านกลุ่มเป้าหมายจำนวน 10 ครัวเรือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    จากการปลูกผักไว้เพื่อบริโภคภายในครัวเรือนส่วนที่เหลือสมารถขายให้คนในชุมชนได้แล้วผักที่บริโภคไปนั้นให้คุณกับสุขภาพอีกด้วย และลดปริมาณการซื้อผักจากตลาด

    บ้านกลุ่มเป้าหมายจำนวน 10 ครัวเรือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการนำผักที่ปลูกไว้มาแลกกันโดยไม่ยึดติดกับปริมาณ ราคา และชนิดผัก ให้กับสมาชิกโครงการได้บริโภค

    กลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน

    สมาชิกได้บริโภคผักปลอดสารพิษและลดการบริโภคผักที่ซื้อจากตลาด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 55-01917

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอาเขตร์ หมัดเจะเร๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด