directions_run

โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ”

พื้นที่ ม.6 ต.เกาะต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง บริเวณอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

หัวหน้าโครงการ
นายเจริญ รามณีย์

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

ที่อยู่ พื้นที่ ม.6 ต.เกาะต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง บริเวณอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 55-01864 เลขที่ข้อตกลง 55-00-1033

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ ม.6 ต.เกาะต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง บริเวณอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ ม.6 ต.เกาะต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง บริเวณอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม รหัสโครงการ 55-01864 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,900.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำของชุมชน
  2. เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อ่างเก็บน้ำป่าพะยอม ให้เอื้อต่อสุขภาวะของคนในชุมชน
  3. เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการป่าต้นน้ำอย่างยั่งยืน
  4. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรม การฝึกปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้และสามารถจัดการระบบรายงานข้อมูงโครงการผ่านเว็ฐไซด์ happynetwork.org ได้

     

    3 3

    2. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการประชุมคณะทำงานซึ่งมีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม ๑๓ คน แลได้มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในกิจกรรมที่กำลังจะดำเนินการต่อไปตามแผนงาน
    • พี่เลี้ยงโครงการได้มาชี้แนะแนวทางการจัดทำรายงบานต่าง ๆ รวมถึงการรายงานผลผ่านเว็บไซด์ของ สสส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีคณะกรรมการเข้าร่วมจำนวน ๑๓ คน
    • คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำเอกสารทางการเงินและเอกสารรายงานต่าง ๆ

     

    15 13

    3. สำรวจข้อมูลทรัพยากรการท่องเที่ยวของชุมชน

    วันที่ 24 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการรับสมัครอาสาสมัคร
    • มีการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลป่าต้นน้ำ จำนวน ๔ วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีอาสาสมัครเข้าร่วมสำรวจทรัพยากรจำนวน ๑๘ คน และมีการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลจริงจำนวน ๔ วัน ได้ข้อมูลพันธ์พืชและสัตว์รวม ๘๓ ชนิด

     

    20 18

    4. เวทีคืนข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติสู่ชุมชน

    วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดกิจกรรมคืนข้อมูลโดยเผยแพร่ผ่านเอกสารรวบรวมข้อมูลฐานทรีพยากรธรรมชาติ พันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ ที่มีอยู่ในป่าต้นน้ำ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการสร้างการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษืได้ และมีการเปิดเวทีเพื่อนำเสนอข้อมูลโดยคณะทำงานโครงการร่วมกับกิจกรรมของหมู่บ้านเพื่อให้เกิดความสนใจและ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนได้รับทราบข้อมูลทรัพยากรป่าต้นน้ำผ่านสื่อเอกสารเผยแพร่และจากการชี้แจงรายละเอียดของคณะทำงาน ซึ่งจัดเวทีคืนข้อมูลร่วมกับกิจกรรมในท้องถิ่น มีผู้เข้าร่วม 82 คน

     

    80 82

    5. ติดตามโครการร่วมกับ สจรส.

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการได้นำเสนอผลการดำเนินโครงการในช่วงที่ผ่านมาและเสนอเอกสารการเงินให้เจ้าหน้าที่ของ สจรส ช่วยตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะทำงานเข้าร่วม 2 คน และได้นำเสนอรายงานทางการเงินให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ

     

    3 3

    6. ติดตามโครการร่วมกับ สจรส.

    วันที่ 6 มีนาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้ร่วมชี้แจงผลการดำเนินงานประจำงวดและเสนอเอกสารต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะทำงานเข้าร่วม 4 คน แต่รายงานเอกสารยังไม่เรียบร้อยสมบูรณ์

     

    3 3

    7. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 27 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมและเสนอระเบียบวาระการประชุมเพื่อให้คณะทำงานพิจารณาแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการแต่ละท่านในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป รวมถึงแนวทางในการสื่สารประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานเข้าร่วมประชุมจำนวน 13 คน และได้มีการแบ่งหน้าที่คตวามรับผิดชอบของคณะกรรมการแต่ละท่านในกิจกรรมครั้งต่อไป

     

    15 13

    8. เวทียกร่างข้อบังคับและแนวทางการบริหารจัดการเส้นทางการท่องเที่ยว

    วันที่ 22 เมษายน 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนในพื้นที่ร่วมกับคณะกรรมการโครงการยกร่างข้อบังคับและแนวทางการบริหารจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวที่ทางคณะทำงานและประชานในพื้นที่ได้ร่วมกันพัฒนาขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุมเพื่อยกร่างข้อบังคับทั้งสิน 45 คน

     

    40 45

    9. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 25 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานเพื่อตรวจสอบกลั่นกรองร่างแผนบริหารจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวและกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนแผนดังกล่าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุมพร้อมด้วยตัวแทนจากเวทียกร่างแนวทางบริหารจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวรวมจำนวน 17 คน

     

    15 17

    10. เวทีพิจารณาข้อบังคับการใช้ประโยชน์เส้นทางท่องเที่ยวชุมชน

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนในพื้นที่บ้านวังเลนและบ้านปากเหมืองซึ่งเป็นหมู่บ้านที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางท่องเที่ยวเข้าร่วมเวทีประชาพิจารณาร่างข้อบังคับการใช้ประโยชน์เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และการมีส่วนร่วมในกองทุนเส้นทางท่องเที่ยวป่าต้นน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนจากบ้านปากเหมืองและบ้านวังเลนเข้าร่วมเวทีประชพิจารณาจำนวน 112 คน

     

    100 112

    11. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานประชุมเพื่อกำหนดแนวทางในการจัดเวทีประชาคมเพื่อพิจารณาแนวทางการบริหารจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุม จำนวน 14 คน

     

    15 14

    12. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 28 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครธทำงานโครงการประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินการในช่วงที่ผ่านมา และพิจารณาปัญหาและข้อเสนอแนะต่อการจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานเข้าร่วมจำนวน 12 คน

     

    15 12

    13. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการร่วมกันสรุปผลการดำเนินการในช่วงเดือนที่ผ่านมา และร่วมกันวิเคราะห์แนวทางการดำเนินงานในช่วงต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โดยสรุปผลการปรัะชุมคณะทำงานโครงการ มีการรายงานผลการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมาว่าล่าช้ากว่าแผนพอสมควรเนื่องจากสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย และมีการรายงานสถานะการเงินของโครงการจากเจ้าหน้าที่การเงิน จากนั้นคณะทำงานได้มอบหมายผู้รับผิดชอบประสานงานในกิจกรรมครั้งต่อไป

     

    15 14

    14. ลงแขกปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว ครั้งที่ 4

    วันที่ 6 สิงหาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและอาสาสมัครร่วมกันพัฒนาพื้นที่บริเวณต้นน้ำของอ่างเก็บน้ำวังเลน ซึ่งเป็นพื้นที่ปลายของเส้นทางท่องเที่ยวที่โครงการกำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่ได้รับการพัฒนามีการตัดหญ้า ถางเส้นทาง และจัดทำป้ายบอกเส้นทางและป้ายบอกจุดสำคัญของพืชต้นน้ำ

     

    20 18

    15. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 27 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานและมีอาสาสมัครเข้าร่วมด้วยจำนวนหนึ่ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานรายงานผลการจัดกิจกรรมต่อที่ประชุม และอาสาสมัครรายงานผลการปรับปรุงพื้นที่เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ พร้อมด้วยปัญหาอุปกรณืที่ทำให้การพัฒนาพื้นที่ล่าช้า เนื่องจากมีฝนตกชุกในช่วงนี้ อย่างไรก็ตามพื้นที่ก็ยังคงได้รับการพัฒนาตามเป้าหมายที่วางไว้

     

    15 16

    16. กิจกรรมยื่นข้อเสนอแนวทางมาตรการบริหารจักการการท่องเที่ยวชุมชนแบบมีส่วนร่วมต่อท้องถิ่น

    วันที่ 20 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและตัวแทนจากชุมชนได้เข้าพบตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อยื่นข้อเสนอแนวทางและมาตรการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนต่อองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม เพื่อนำไปออกเป็นข้อบัญญัติของเทศบาลหรือนำไปบรรจุในแผนพัฒนาตำบลต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการยื่นข้อเสนอแนวทางการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนต่อองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเต่า และเจรจาต่อรองเพื่อให้ทางองค์การบริหารส่วนตำบลนำไปบรรจุไว้ในแผนพัฒนา 3 ปี ขององค์การบริหารส่วนตำบล

     

    20 25

    17. กิจกรรมรณรงค์การท่องเที่ยววิถีชุมชน

    วันที่ 20 กันยายน 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน ตัวแทนท้องที่ ท้องถิ่น และอาสาสมัคร เข้าร่วมมากกว่า 90 คน ร่วมกันออกแบบ จัดทำ และติดตั้งป้ายรณรงค์ต่าง ๆ ในเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกันคิด วิเคราะห์ และจัดทำเนื้อหาเพื่อใช้ในแผ่นพับ แผ่นป้าย และร่วมกันจัดทำแผ่นป้ายรณรงค์ในพื้นที่เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

     

    100 92

    18. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 26 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการดำเนินการในช่วงเดือนที่ผ่านมา และร่วมกันวิเคราะห์แนวทางการดำเนินงานในช่วงต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและผู้แทนขากชุมชนได้ร่วมกันสรุปและซักถามข้อมูลผลการดำเนินการในช่วงที่ผ่านมา รวมถึงเสนอแนะปัญหาอื่นๆ ที่ยังคงมีอยู่ในชุมชน

     

    15 18

    19. สรุปโครงการและสังเคราะห์ชุดความรู้ร่วมกับ สจรส.

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้แทนโครงการเข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีกับกลุ่มผู้ดำเนินการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นกับ สจรส และผู้ดำเนินการในพื้นที่อื่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้แทนโครงการเข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีกับกลุ่มผู้ดำเนินการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นกับ สจรส และผู้ดำเนินการในพื้นที่อื่น

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.1 ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ 1.2 จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน
    • ระดับการมีส่วนร่วมของประชาขนในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับดี แต่ละครั้งของการจัดกิจกรรมมีประชาชนเข้าร่วมประมาณร้อยละ 80
    • จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมร่วมของคนในชุมชน โดยเฉลี่ยเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งอยู่ในระดับที่น่าพอใจและเป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ
    2 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อ่างเก็บน้ำป่าพะยอม ให้เอื้อต่อสุขภาวะของคนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2.1 ร้อยละของพื้นที่เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ได้รับการพัฒนาต่อพื้นที่ทั้งหมด 2.2 ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่ใช้ประโยชน์จากเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
    • พื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาคิดเป็นพื้นที่ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยในปีแรกมุ่งเน้นพื้นที่ต้นน้ำที่มีทรัพยากรสมบูรณืก่อน จึงทำให้พื้นที่ได้รับการพัฒนาค่อนข้างจำกัด
    • ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่ใช้ประโนชน์จากพื้นที่เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อยู่ในระดับดี โดยส่วนใหญ่พอใจในข้อมูลความรู้ที่เส้นทางจัดทำและนำเสนอในเส้นทางท่องเที่ยว
    3 เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการป่าต้นน้ำอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : 3.1 จำนวนภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมเป็นกลไกการดำเนินงานกองทุนเส้นทางท่องเที่ยวป่าต้นน้ำ 3.2 จำนวนอาสาสมัครนำเที่ยวเชิงอนุรักษ์
    • ภาคีที่เข้าร่วมในการจัดทำเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีจำนวน 5 เครือข่าย ประกอบด้วย กลุ่มคนรักษ์เกาะเต่า  กลุ่มสื่อนักจัดรายการวิทยุคลื่นประชาคม  กลุ่มเยาวชน กลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มผู้นำท้องที่
    • จำนวนอาสาสมัครซึ่งได้จากการสมัครใจเข้าร่วมโครงการและร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องจำนวน 21 คน
    4 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ
    ตัวชี้วัด : 4.1 การเข้าร่วมประชุมกับสจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 4.2 มีภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ มีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่แสดงในสถานที่จัดประชุม/ในชุมชน มีการจัดส่งรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ให้กับสสส.
    • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมประชุมกับ สจรส.มอ. จำนวน 3 ครั้ง จากทั้งหมด 4 ครั้งคิดเป็นร้อยละ 75
    • ผู้รับผิดชอบโครงการได้รายงานผลโครงการพร้อมแนบภาพถ่ายเป็นระยะผ่านระบบรายงานผ่านเว็บไซด์ คนใต้สร้างสุข

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำของชุมชน (2) เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อ่างเก็บน้ำป่าพะยอม ให้เอื้อต่อสุขภาวะของคนในชุมชน (3) เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการป่าต้นน้ำอย่างยั่งยืน (4) เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

    รหัสโครงการ 55-01864 รหัสสัญญา 55-00-1033 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    กระบวนการพูดคุยกันของคนในชุมชน จากเดิมการดำเนินการใดๆ เกี่ยวกับการพัฒนาอ่างเก็บน้ำป่าพะยอมและพื้นที่ต้นน้ำ จะถูกจัดการโดยหน่วยงานรัฐเป็นหลัก คือกรมป่าไม้และชลประทาน แต่หลังจากดำเนินโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ได้มีกระบวนการใหม่ที่คนในชุมชนสามารถมาพูดคุย ปรึกษาหารือ และกำหนดกิจกรรมในการพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอมได้โดยคนในชุมชนเอง หน่วยงานราชการเป็นเพียงหน่วยหนุนเสริม  ซึ่งถือเป็นกระบวนการทางสังคมใหม่ที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน

    • ภาพถ่ายกิจกรรมการประชุมหารือของชุมชน
    • รายงานการประชุมคณะทำงานโครงการที่ร่วมกับคนในชุมชนในการกำหนดกิจกรรมการพัฒนาต่าง ๆในพื้นที่ป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มอาสาสมัครอนุรักษืป่าต้นน้ำป่าพะยอม จำนวน 20 คน ซึ่งเป็นคนในพื้นที่และได้เข้าร่วมกิจกรรมในการสำรวจทรัพยากรป่าต้นน้ำ ร่วมวางแผนในการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้นน้ำป่าพะยอม

    • ภาพถ่ายการลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรป่าต้นน้ำของกลุ่มอาสาสมัคร
    • ใบลงทะเบียนเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครอนุรักษืป่าต้นน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เกิดแหล่งเรียนรู้ใหม่ในชุมชนคือ เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้นน้ำป่าพะยอม  ซึ่งภายในเส้นทางการท่องเที่ยวนี้ประกอบด้วยป้ายแสดงองค์ความรู้เกี่ยวกับพันธ์พืชในพื้นที่ป่าต้นน้ำ  ฐานการเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในพื้นที่ป่าต้นน้ำ ซึ่งเยาวชนและผู้สนใจสามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ และมีกลุ่มอาสาสมัครอนุรักษืป่าต้นน้ำ เป็นวิทยากรให้ความรู้

    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยวป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการใช้ภูมิปัญญาของท้องถิ่นในการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในพื้นที่ป่าต้นน้ำ มาใช้ในชีวิตประจำวัน มีการถ่ายทอดความรู้เหล่านั้นให้กับเยาวชนผ่านเวทีคืนข้อมูลชุมชน ทำให้มีการปรับพฤติกรรมในการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นในการรักษาโรค และนำมาใช้ในการบริโภคด้วยบางส่วน  นอกจากนี้ยังได้นำภูมิปัญญาการขยายพันธ์พืชสมุนไพรและพืชพื้นถิ่นหายากมาถ่ายทอดให้กลุ่มอาสาสมัครได้นำมาใช้ในการขยายพันธุ์พืชด้วย

    • ภาพถ่ายเวทีคืนข้อมูลชุมชน
    • ภาพถ่ายกิจกรรมการเพาะขยายพันธุ์พืชพื้นถิ่น

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพคือการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษืป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม ซึ่งมีการสำรวจ จัดการปรับปรุงให้มีความสะดวกในการเดินทางเยี่ยมชม มีการจัดทำป้ายความรู้ต่าง ๆ ตลอดเส้นทาง จนกลายเป็นที่พักผ่อนและที่เรียนรู้แหล่งใหม่ของชุมชน

    • ภาพเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพบริเวณริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอมและในเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม ซึ่งกลุ่มเยาวชนและประชาชนทั่วไปสามารถมาใช้ประโยชน์ในการพักผ่อนหย่อนใจ และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน เช่นงานลอยกระทอง งานสงกรานต์ เป็นต้น

    • ภาพถ่ายพื้นที่สาธารณะริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    จากการสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้น้ำป่าพะยอม เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ทำให้กลุ่มอาสาสมัครอนุรักษ์ป่าต้นน้ำมีรายได้จากอาชีพใหม่คือการนำเที่ยวเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ ทำให้เพิ่มรายได้ อีกทั้งยังเป็นกาลดรายจ่ายของบางครอบครัวที่หันมาใช้ประโยชน์จากพืชผักพื้นบ้านที่มีอยู่ในพื้นที่ป่าต้นน้ำเป็นอาหาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อพืชผักจากท้องตลาดได้อีกทางหนึ่งด้วย

    • ภาพกิจกรรมการนำเที่ยวเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    คณะทำงานได้มีการประชุมร่วมกับประชาชนในชุมชนและกำหนดเป็นกติกาชุมชนในการอนุรักษ์พื้ยที่ป้่าต้นน้ำ  มีการจำกัดการใช้ทรัพยากร มีการห้ามจับสัตว์ป่า การจับปลาที่ผิดวิธี ซึ่งคนในชุมชนส่วนใหญ่ยอมรับกติกาดังกล่าวและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการสอดส่องดูแลผู้ที่ไม่ทำตามกติกาของชุมชนด้วย อย่างไรก็ตามกติกาดังกล่าวยังไม่มีบทลงโทษ เป็นเพียงมาตรการทางสังคมของชุมชนจึงยังมีผู้ฝ่าฝืนอยู่บ้าง

    • กติตาชุมชนในการอนุรักษ์พื้นที่ป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    มีการกำหนดกติกาและประกาศให้ชุมชนรับราบแต่ยังไม่ถึงกับการกำหนดมาตรการลงโทษ จึงเป็นเพียงมาตรการทางสังคมที่บังคับใช้ร่วมกัน คนต่างชุมชชนหรือในพื้นที่ใกล้เคียงจึงยังอาจไม่ทราบและเข้ามาดำเนินการบางอย่างที่ขัดกับกติกาของชุมชนอยู่บ้าง

    • กติตาชุมชนในการอนุรักษ์พื้นที่ป่าต้นน้ำอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการเชื่อมโยงการทำงานกันภายในชุมชนทั้งภาครัฐและผู้นำชุมชน นอกจากนี้ยังมีภาคคีเครือข่ายภายนอกชุมชนที่เข้ามาร่วมดำเนินโครงการและสนับสนุนให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จประกอบด้วย สภาองค์กรชุมชนตำบลเกาะเต่า และศูนย์การเรียนรู้ร้อยหวันพันธ์ป่า ซึ่เข้าร่วมให้ความรู้และสนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ

    • ภาพบรรยากาศการทำงาน่วมระหว่างสภาองค์กรชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ชุมชนได้เรียนรู้กระบวนการจัดการพัฒนาต่างๆ ในชุมชน ผ่านกระบวนการทำงานของคณะทำงานโครงการที่ใช้การวางแผน การปฎิบัติ และการประเมินโครงการเป็นระยะ ทำให้คนในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการได้เรียนรู้และนำไปปรับใช้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ใช้กระบวนการเวทีคืนข้อมูลและการเก็บข้อมูลโดยคนในชุมชนเองเป็นกระบวนการตั้งต้นในการจัดการความรู้ของชุมชน เมื่อได้ข้อมูลจากการเก็บข้่อมูลของคนในชุมชนแล้วก็นำมาประมวลเป็นความรู้ชัดแจ้ง ก่อนนำไปถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน ผ่านเวทีคืนข้อมูลชุมชน ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายโยงความรู้จากความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน มาสู่การประมวลความรู้ และถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบ

    • ภาพถ่ายการเก็บข้อมูล
    • บรรยากาศการประมวลความรู้
    • เวทีถ่ายทอดความรู้ด้วยการคืนข้อมูลสู่ชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    คนในชุมชนโดยรอบพื้นที่เส้นทางกานท่องเที่ยวเชิงอนุรักษืและกลุ่มอาสาสมัครเกิดความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาพื้นที่และมีคนเข้ามาเยี่ยมชม ให้ความสนใจ และได้มีบทบาทสำคัญในการให้ความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรป่าต้นน้ำ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 55-01864

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเจริญ รามณีย์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด