แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01873
สัญญาเลขที่ 55-00-0951

ชื่อโครงการ โครงการเชื่อมร้อยยกระดับศักยภาพศูนย์เรียนรู้ในชุมชน
รหัสโครงการ 55-01873 สัญญาเลขที่ 55-00-0951
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายวินิจ ชุมนูรักษ์...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 27 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 กันยายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายเผด็จ โต๊ะปลัด... 395หมู่ 18ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล รหัสไปรษณีย์ 91110... 087-8362929...
2 นางอรวรรณ ขุนรายา... 254หมู่ 18ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูลรหัสไปรษณีย์ 91110...

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้เกิดการเชื่อมร้อยการพัฒนาศักยภาพของศูนย์เรียนรู้ในชุมชน

-มีการรวมองค์กรเครือข่ายในชุมชนที่เข้มแข็ง -การพัฒนาศักยภาพกลุ่มองค์กรที่มีความหลากหลาย

2.

เพื่อสร้างให้เกิดกระบวนการพัฒนาการขับเคลื่อนในการดำเนินกิจกรรมของชุมชน

-มีกระบวนการเรียนรู้

-มียุทธศาสตร์กระบวนการมีส่วนร่วม

-มีวิสัยทัศน์

-เวทีสาธารณะ

-โมเดลการจัดการชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน

-ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชนและนอกชุมชน

3.

เพื่อเป็นการยกระดับการพัฒนากลไกการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และเป็นนโยบายสาธารณะ

-มีโครงสร้างการบริหารจัดการที่สามารถตรวจสอบได้ -มีกฎกติกาข้อตกของกลุ่มองค์กรในชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

จัดระบบศูนย์เรียนรู้ในชุมชน เกิดกลไกการทำงานในชุมชน มีข้อตกลงข้อมกติการร่วมกันให้เกิดการตรวจสอบ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เกิดโครงสร้างของคน ภารกิจ กติกาของแต่ละกลุ่ม เกิดระเบียบที่ว่าด้วยตัวคน ว่าด้วยงาน และว่าด้วยเงิน และระเบียบที่ว่าด้วยการสร้างเครือข่ายชุมชน กลุ่ม ชรบ. กลุ่มข้าวซ้อมมือ กลุ่มทำขนม กลุ่มปูนิ่ม กลุ่มปุ๋ยหมัก

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีระเบียบกติการทำงานภายในกลุ่มที่ชัดเจน ร่วมทั้งหารพัฒนาระบบเครือข่ายระหว่างกลุ่ม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  1. เพื่อให้ทีมคณะทำงานได้มีการเตรียมความพร้อมของแต่ละภารกิจแต่ละครั้งของการดำเนินงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นระบบและต่อเนื่อง
  2. เพื่อติดตามตรวจสอบประเมินผลกิจกรรมต่างๆ ภารกิจ
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

การประชุมคณะทำงานชุมชนเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมเวทีประกาศเจตนารมณ์นโยบายสาธารณะบ้านโคกพยอม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เป็นการประชุมหารือ ผลการทำงานที่ผ่านพูดตุยปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นตลอดจนการรายงานผลการใช้จ่ายเงิน และประมาณการการใช้จ่ายเงินงบประมาณ การจัดเวทีประกาศเจตนารมณ์นโยบายสาธารณะบ้านโคกพยอม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของชุมชน  พิจารณาร่างระเบียบองค์กรชุมชน  และเพิ่มเติมรายละเอียดเครือข่ายองค์กรชุมชนบ้านฏโคกพยอม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • สมาชิกองค์กรชุมชนบ้านโคกพยอม
  • ผู้ใหญ่บ้านโคกพยอม
  • โรงเรียนบ้านโคกพยอม
  • นายกองค์การบริหารส่วนตำบลละงู  อ.ละงู  จ.สตูล -ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จ.สตูล

พิจารณาร่างระเบียบองค์กรชุมชน  และเพิ่มเติมรายละเอียดเครือข่ายองค์กรชุมชนบ้านฏโคกพยอม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะทำงานประชุมเพื่อทบทวนการทำงานที่ผ่านมาและวางแผนการทำกิจกรรมต่อไป

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะทำงานประชุมเพื่อทบทวนการทำงานที่ผ่านมาและวางแผนการทำกิจกรรมตลาดนัดชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เกิดแผนการดำเนินงาน การแบ่งหน้าที่บทบาทการทำงาน การจัดการงบประมาณ การหาภาคีสนับสนุนร่วม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

จัดกิจกรรมตลาดนัดชุมชนเพื่อกำหนดให้เป็นศูนย์รวมของการเปิดตลาดที่ชุมชนได้มีส่วนร่วมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู็็้ และร่วมกันจัดตลาดนัดชุมชนเพื่อให้คนในชุมชนมีการนำสินค้ามาวางจำหน่าย ของสมาชิกกลุ่มต่างๆ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เป็นเวทีเชื่อมประสานกิจกรรมของเครือข่ายกลุ่มต่างๆให้เป็นไปตามข้อตกลง กติการ่วมของชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทบทวนการทำงานที่ผ่านมา และถอดชุดประสบการณ์การทำงานเพื่อหาแนวทางการขับเคลื่อนงานในรูปแบบองค์กรเครือข่าย

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เป็นการประชุมแกนนำกลุ่มต่างๆ ร่วมกับคณะทำงานโครงการ ผู้นัชุมชน เพื่อทบทวนบทบาท ปัญหา อุปสรรค และวางแผนการเคลื่อนงานต่อ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เป็นการจัดกระบวนการถอดบทเรียน โดยมีผู้มีประสบการณ์ร่วมในการดำเนินงานโครงการ ได้รับความร่วมมือจากวิทยากรกระบวนการ จาก สกว c9jpy'w,jgsHogonhvdkli6x

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เข้าร่วมประชุมกับเครือข่ายภาคใต้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับการปฏิบัติงาน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เข้าร่วมห้องใหญ่ และห้องย่อยประเด็นสิ่งแวดล้อม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ได้พบปะ แลกเปลี่ยนรู้การทำงานในระดับองค์กรเครือข่ายชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทำรายงาน ปิดโครงการ รายงานการเงิน ส๒  ส๓ ส๔ ง๑ ง๒

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ทำรายงาน ปิดโครงการ รายงานการเงิน ส๒  ส๓ ส๔ ง๑ ง๒

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ศักยภาพของทีมงานในการจัดทำรายงานมีความก้าวหน้าและเข้าใจระบบมากขึ้นแต่ยังต้องเพิ่มเติมเรื่องเทคนิคการเขียนรายงานในเว็บการบรรยาายกระบวนการทำงานเพื่อสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การยังขาดความชำนาญในเรื่องการบริหารจัดการในระบบของ สสส. และ สจรส

ประสานงานกับพี่เลี้ยง และเจ้าหน้าที่ สจรส.อย่างใกล้ชิด

ทีมงานควรได้รับการกระตุ้น และพัฒนาศัยภาพเป็นระยะ

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 4 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

วัตถุประสงค์ โครงการเพื่อการเชื่อร้อยของกลุ่มองค์กรต่าง ๆในชุมชนเพื่อยกระดับศักยภาพให้เป็นโมเดลการ      จัดการตนเอง กลุ่มองค์กรในชุมชนมีการจัดการแบบบูรณการ แกนนำรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาจัดการชุมชนน่าอยู่และพัฒนาแผนชุมชน มีทีมหรือกลไกที่มีความรับผิดชอบขับเคลื่อนงานและผู้ประสานการขับเคลื่อนในชุมชนของแต่ละด้าน มีโครงสร้างที่สามารถขับเคลื่อนไปตามแผนที่กำหนดไว้อย่างมีทิศทางและเป็นระบบ ทั้งหมดยังไม่เป็นผลเท่าที่ควร เนื่องจากกระบวนการที่ออกแบบไว้ยังเป็นการสร้างกลไกแบบหลวมๆ การพัฒนาศักยภาพที่ต่างคนต่างวทำเสียมากกว่า รวมทั้งพลังของทีมประสานงานเพื่อเชื่อมร้อยกลุ่มต่างๆยังเป็นเพื่อการจัดกิจกรรมย่อยเท่านั้นยังไม่เป็นเชิงขบวนชุมชนเท่าไรนัก ยังต้องอาศัยการออกแบบการมีส่วนร่าวมจากทั้งภายในและภายนอกชุมชนซึ่งมีภาคีสำคัญๆมากมาย

สร้างรายงานโดย วินิจ ชุมนูรักษ์