แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว ”

หมู่ที่ 9 ต.ชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายก้อเดียด เศษขาว

ชื่อโครงการ จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว

ที่อยู่ หมู่ที่ 9 ต.ชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 55-01919 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0902

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 9 ต.ชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว



บทคัดย่อ

โครงการ " จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 9 ต.ชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง รหัสโครงการ 55-01919 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 203,020.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ
  2. 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะโดยชุนชน
  3. 3. เพื่อให้มีกฏกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงาน และที่ปรึกษาครั้งที่ 1 ตค.55

    วันที่ 31 ตุลาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดตั้งแกนนำโครงการจำนวน 15 คน ปรึกษาหารือแกนนำ จำนวน 6คน ประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา ครั้งแรก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดคณะทำงาน 15 คน ที่ปรึกษา จำนวน 6 คน เพื่อนัดประชุมทุกเดือน ๆ ละ 1ครั้งเพื่อสร้างความเข้าใจในทีมงานร่วมกัน

     

    0 0

    2. ประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ตอนล่าง

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13.00 น - 21.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมและปฐมนิเทศ ลงมือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการทำโปรแกรม กรอกข้อมูลลงปฏิทินโครงการและหัวข้อต่าง ๆ ผ่านเวปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รู้วิธีการส่งรายงาน วิธีการทำบัญชี วิธีลงตารางปฏิทินการปฏิบัติงาน ผ่านทางเวปไซต์

     

    0 0

    3. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาครั้งที่ 2 พย.55

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงให้คณะทำงานและที่ปรึกษาทราบเรื่องการศึกษาดูงานนอกพื้นที่และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการมีความเข้าใจในเรื่องที่ชี้แจงและมีการแบ่งหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบให้แต่ละคนในวันที่ไปศึกษาดูงาน แกนนำเข้าร่วมจำนวน 15 คน และมีผู้เข้าร่วมประชุมคณะทำงานด้วย คือ อสม.ประจำหมู่บ้าน คณะผู้บริหารและพนักงานจากเทศบาลตำบลชะรัด ท้องถิ่นอำเภอกงหรา

     

    0 0

    4. ประชุมตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้าน

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจให้ชาวบ้านได้รับรู้เกี่ยวกับโครงการ จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านให้ความสนใจมาก เพราะเป็นเรื่องที่ชาวบ้านประสบปัญหาเรื่องขยะ โดยไม่รู้ว่าจะกำจัดขยะด้วยวิธีใด เช่นการเผา การฝัง การทำลาย โดยมีกลุ่มเป้าหมายตัวแทนครัวเรือนละ 1 คน ทั้งหมด 110ครัวเรือน มีเข้าร่วมประชุม 64 ครัว

     

    0 0

    5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนที่ ตำบลปริก อ.สะเดา จ.สงขลา

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2555 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -วางแผนก่อนไปศึกษาดูงานคัดเลือกตัวแทน มอนหมายเรื่องที่จะไปดูงานให้ตัวแทน -หลังการศึกษาดูงาน นำมาสรุปใช้ในพื้นที่ -ได้ร่วมศึกษาดูงานการกำจัดขยะ การคัดแยกขยะ ผลประโยชน์จากการคัดแยกขยะ -ได้ดูวิธีการสาธิตการกำจัดขยะ แบบเปียก แบบแห้ง ขยะเหลือใช้ เศษขยะ กลับมาใช้ใหม่
    -ได้ดูสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    -การกำจัดขยะจากหน่วยครัวเรือนไปสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ตามแผนที่วางไว้ เช่นการสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ แบบน้ำหมักชีวภาพ แบบเปียกแบบแห้ง ปุ๋ยหมักอินทรีย์ สาธิตการเผาถ่ายโดยใช้เศษขยะใบไม้หรือเนำกลับมาทำเป็นเชื้อเพลิงอีกครั้ง การนำเศษขยะจากหน่วยครัวเรือนนำมาใช้ประโยชน์สู่หน่วยงานที่ใหญ่ขึ้น แกนนำร่วมไปศึกษาดูงาน จำนวน 15 คน พร้อมคณะทีมงานโครงการท้องถิ่นน่าอยู่บ้านชะรัดโดยมีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชฎัชสงลาเข้าร่วมกิจกรรมด้วย

     

    0 0

    6. 2.ดำเนินการสร้างเครื่องมือในการสำรวจขยะโดยใช้แบบสำรวจ

    วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แนะนำและชี้แจงให้เยาวชนและแกนนำทำการสำรวจขยะในพื้นที่ ม.9 บ้านสะพานแต้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แนะนำการกรอกแบบสอบถาม ได้แบบสำรวจ ได้รู้ชนิด ปริมาณ ประเภทแหล่งที่มาและผลกระทบของขยะ เด็กและเยาวชนพร้อมแกนนำเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน พร้อมเด็กและเยาวชนะชาชนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งหมด 43 คน

     

    0 0

    7. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาครั้งที่ 3 ธค 55

    วันที่ 4 ธันวาคม 2555 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมแกนนำและที่ปรึกษาเรื่องวางแผนการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้รับผิดชอบการสำรวจขยะในครัวเรือนโดยเด็กและเยาวชนเป็นผู้รับผิดชอบในการเดินสำรวจโดยให้แกนนำและที่ปรึกษาเป็นพี่เลี้ยงในการติดตามให้คำปรึกษา กำหนดวันเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจขยะ กำหนดวันที่ 8 ธันวาคม 2555 เพื่อดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน มีแกนนำและที่ปรึกษาเข้าร่วมประชุม 18 คน และประชาชนทั่วไปเข้าร่วมประชุมด้วย

     

    0 0

    8. ให้คำแนะนำและทำความเข้าใจในการรายงานผลการดำเนินงานผ่านเว็บไซด์

    วันที่ 7 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจให้คำปรึกษาหารือและแก้ไขปัญหาในการทำรายงานผ่านทางเวปไซด์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แก้ไขรายงานในเวปไซด์ให้ถูกต้อง

     

    0 0

    9. ดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะครัวเรือน

    วันที่ 8 ธันวาคม 2555 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เด็กเยาวชนได้ทำการสำรวจปริมาณขยะในครัวเรือน จำนวน 2 ครัวเรือนต่อ 1 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กและเยาวชนสำรวจปริมาณขยะในครัวเรือน ตามกลุ่มเป้าหมาย โดยให้แกนนำเยาวชน จำนวน 15 คน ออกสำรวจแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลปริมาณขยะในครัวเรือน

     

    0 0

    10. จัดเวทีคืนข้อมูลจากการไปศึกษาดูงานให้กับชุมชน

    วันที่ 14 ธันวาคม 2555 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับสมัครครัวเรือนนำร่อง จำนวน 60 คัรวเรือน -กำหนดจุดปลอดขยะในชุมชน -กำหนดจุดเรียนรู้เรื่องขยะของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดครัวเรือนนำร่อง
    -เกิดจุดปลอดขยะในชุมชน -มีการกำหนดจุดเรียนรู้เรื่องขยะของชุมชน
    -มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีประชาชนในหมุ่บ้านจำนวน 50 คน

     

    0 0

    11. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจขยะ

    วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่ช่วยแนะนำวิธีการวิเคราะห็ข้อมูลที่ได้มาจากการสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลการจากการวิเคราะห์แบบสอบถามมาเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไป โดยมีแกนนำเข้าร่วม 15 คนพร้อมเด็กและเยาวชนจำนวน 8 คน เข้าร่วมกิจกรรม

     

    0 0

    12. คืนข้อมูลการสำรวจขยะให้กับชุมชน

    วันที่ 28 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนข้อมูลให้กับชุมชนโดยการชี้แจงให้เห็นจำนวนขยะที่มีในชุมชนและชี้แจงถึงปัญหาที่ตามมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ทุกคนมีความเข้าใจและต้องการที่จะแก้ปัญหาเรื่องขยะ โดยเริ่มจากครัวเรือนของตนเองก่อน โดยมีประชาชนในหมู่บ้านเข้าร่วม 54 คน และคณะทีมงานจาก รพ.สต.บ้านชะรัด นักศึกษาฝึกงานจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประชาชนหมู่บ้านใกล้เคียง

     

    0 0

    13. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาครั้งที่ 4 มค56

    วันที่ 4 มกราคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
    ร่วมกันกำหนดมาตรการของชุมชนและแผนเฝ้าระวังในการจัดการขยะ โดยมีประชาชนในพื้นที่และต่างพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มาตรการที่สำคัญของชุมชนและแผนเฝ้าระวังในการจัดการขยะ เช่นขยะจากครัวเรือนนำไปทิ้งที่ใหนหรือนำกลับใปใช้ประโยชน์อย่างอื่น แผนเฝ้าระวังเรื่องขยะล้น โดยร่วมกับ โครงการท้องถิ่นน่าอยู่บ้านชะรัด รพ.สต.บ้านชะรัด ตัวแทนจากเทศบาลตำบลชะรัดโดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน

     

    0 0

    14. การติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ.

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 13.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้การจัดทำเอกสาร และการส่งรายงานการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แก้ไขรายงานที่ผิดให้ถูกต้อง และรายงานให้เป็นปัจจุบัน

     

    0 0

    15. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาครั้งที่ 5 กพ 56

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการช่วยกันเสนอความเห็นในการเตรียมรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำมีความเข้าใจและมีแผนในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์กิจกรรมและมีการแบ่งหน้าที่กัน ในวันรณรงค์ให้เด็กและเยาวชนเดินรณรงค์ ร่วมกับประชาชนในพื้นที่และต่างพื้นที่ร่วมรณรงค์ด้วย โดยมีแกนนำและที่ปรึกษาเขาร่วมพร้อมประชาชนในหมู่บ้านจำนวน 36 คน และคณะผู้บริหารพนักงานเทศบาลตำชะรด นักศึกษาฝึกงานจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะจากอำเภอกงหรา

     

    0 0

    16. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เก็บกวาดขยะในชุมชนให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะตามที่สาธารณะ -รณรงค์การใช้ตะกร้าไปจ่ายตลาด -รณรงค์การคัดแยกขยะ -ใช้สื่อทางหอกระจายข่าวของหมู่บ้านประชาสัมพันธ์ -ในมัสยิดใช้เวลาก่อนการละหมาดวันศุกร์โดยให้โต๊ะอิหม่ามประชาสัมพันธ์รณรงค์ฯเพื่อให้เป็นมัสยิดปลอดขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเก็บกวาดขยะในชุมชนในพื้นที่สาธารณะและบริเวณถนนรอบหมู่บ้าน จำนวนผู้เข้าร่วม 71 คน และประชาชนผู้สนใจเข้าร่วม -ประชาสัมพันธ์รณรงค์ผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้านบ้าน -ประชาสัมพันธ์ในมัสยิดก่อนเวลาละหมาดทุกวันศุกร์

     

    0 0

    17. อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่อง

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ทำตะกล้าลดโลกร้อน ได้ทำปุ๋ยหมักชีวภาพ โดยมีวิทยากรมาให้คำแนะนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้และได้ลงมือปฏิบัติจริงการทำตะกร้าและการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ มีผู้สนใจเข้าร่วม 50คน

     

    0 0

    18. ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาครั้งที่ 6 มีค 56

    วันที่ 1 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาให้คณะกรรมการฟัง ประชุมวางแผนในกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำ นำเเสนอในที่ประชุมเรื่องการทำแก๊สชีวภาพในครั้งต่อไป

     

    0 0

    19. ติดตามประเมินโครงการโดย สจรส.ครั้งที่ ๒

    วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้รับการประเมินผลการทำโครงการและได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับเอกสารทางการเงินและการลงบันทึกกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับการติดตามและประเมินผลจากการดำเนินโครงการจาก เจ้าหน้าที่ สจรส.พัทลุง ให้เสร็จก่อนวันที่  5  มีนาคม  2556

     

    0 0

    20. การติดตามระหว่างการดำเนิน โดย สจรส.มอ

    วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้รายงานกิจกรรมที่ผ่านมาจำนวน 18 กิจกรรม และได้รายงาน ส.1 ส.2 ง.1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานกิจกรรมที่ผ่านมาจำนวน 18 กิจกรรม และได้รายงาน ส.1 ส.2 ง.1 และได้แก้ไขรายงานส่วนที่บกพร่องให้ถูกต้อง

     

    0 0

    21. ประชุมคณะกรรมการทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษา

    วันที่ 19 เมษายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษาและภาคีเครือข่ายเข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะกรรมการและคณะทำงานเข้าร่วมประชุม มีแกนนำและที่ปรึกษาเข้าร่วม จำนวน 19 คน

     

    0 0

    22. การติดตามระหว่างการดำเนิน โดย สจรส.มอ.

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำเสนอโครงการของแต่ละโครงการ ของภาคใต้ตอนล่าง จำนวน 5 จังหวัด ในภาคใต้ตอนล่าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้เป็นโครงการการที่อยู่ในเขตภาคใต้ตอนล่าง

     

    3 2

    23. ประชุมคณะกรรมการทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษา

    วันที่ 27 มิถุนายน 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานและคณะที่ปรึกษา เพื่อปรึกษาหารือเตรียมความพร้อมในการอบรมทำแก๊สชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเข้าร่วมประชุมคณะทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษาจำนวน 19 คน กำหนดวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 เป็นวันอบรมการทำแก๊สชีวภาพ

     

    0 0

    24. อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่อง ในการทำแก๊สชีวภาพ

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้ สอนวิธีการทำแก๊สชีวภาพ สาธิตการทำแก๊ส ฝึกปฏิบัติในแต่ละขั้นตอน ลงมือปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำแก๊สและสามารถนำไปปรับใช้ในครัวเรือนต่อไป มีแกนนำ 15 คน ตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วม 50 ครัวเรือน

     

    75 65

    25. การติดตามระหว่างการดำเนิน โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 4

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการติดตามผลการดำเนินงานการลงข้อมูลตามปฎิทิน ตรวจเอกสารทางการ เงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เข้าร่วมการติดตามผลการดำเนินงานพร้อมทีมงานโครงการที่อยู่ในจังหวัดพัทลุง ทาง สจรส.มอ. ได้ตรวจเอกสารหลักฐานทางการเงิน และข้อมูลที่ลงในเวปไซต์

     

    2 2

    26. ประชุมคณะกรรมการทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษา ครั้งที่ 9

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดำเนินโครงการในครั้งต่อไป  โดยกำหนดวันประชุมเพื่อประกวดครัวเรือนต้นแบบตามกฎเกณ์ โดยมติในที่ประชุมกำหนด วันที่ 24 กรกฎาคม 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำชุมชนเข้าร่วม จำนวน  15 คน และที่ปรึกษาโครงการ จำนวน 6 คน

     

    21 21

    27. ประชุมเพื่อประกวดครัวเรือนต้นแบบตามกฎเกณฑ์ครัวเรือนนำร่อง

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีเข้าร่วมประชุมพร้อมแกนนำเพื่อคัดเลือกคณะกรรมการประเมิน 15 คน เพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในที่ประชุมมีมติให้ อสม.ประจำหมู่บ้านเป็นผู้คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 15 คน และมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมและมีตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วม 50 ครัว

     

    75 65

    28. ลงพื้นที่ประเมินประกวดครัวเรือนต้นแบบตามเกณฑ์ครัวเรือนนำร่อง จำนวน 2 วัน บ้านสะพานแต้ว

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการทั้ง 15 คน ลงพื้นที่ประเมินครัวเรือนต้นแบบเป็น เวลา 2 วันติดต่อกัน เพื่อนำมาพิจารณาและประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 10 ครัวเรือน ที่บริเวณบ้านสะอาด รอบ ๆบ้านมีการปลูกผักปลอดสารพิษ มีการทำน้ำหมักชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือน เก็บกวาดขยะเป็นที่เป็นทาง ปลอดลูกน้ำยุงลาย ชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

     

    15 15

    29. ดำเนินการสำรวจ/วิเคราะห์ข้อมูลขยะครัวเรือน ครั้งที่ 2

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน โดยเด็กและเยาวชนจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำนเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน โดยเด็กและเยาวชนลงพื้นที่เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตามบ้าน ในชุมชนบ้านสะพานแต้ว ม.9

     

    15 15

    30. วิเคราะห์ขอมูลจากการสำรวจขยะครั้งที่ 2

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำและเยาวชนช่วยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้จากการสำรวจขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำและเยาวชนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยมีแกนนำและเยาวชนเข้าร่วม จำนวน 30 คน มีขยะลดลง

     

    30 30

    31. จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชนครั้งที่ 2

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดประชุมชาวบ้านเพื่อรับทราบเกี่ยวกับการจัดการขยะและสถานการณ์แนวโน้มการจัดการขยะในอนาคต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการวิเคราะห์ข้อมูลขยะครั้งที่ 2ปรากฎว่าบ้านมีการคัดแยกขยะเป็นขยะแบบเปียก แบบแห้ง ขยะอันตรายโดยที่ชาวบ้านสามารถนำไปใช้และปรฏิบัติเองในครัวเรือน

     

    115 110

    32. ประชุมคณะทำงานและคณะกรมการที่ปรึกษา ครั้งที่ 10

    วันที่ 5 สิงหาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดประชุมคณะทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษา ร่วมกันเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป เช่นการดำเนินการสำรวจวิเคราะห์ข้อมูล ครั้งที่ 3 การรณรงค์คัดแยกขยะปลูกต้นไม้กินได้ในที่สาธารณะฯ โดยกำหนดวันที่ 12 สิงหาคม 2556 เป็นวันรณรงค์และเพื่อเป็นถวายเป็นราชกุศลในวันเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะทำงานและคณะและคณะกรรมการที่ปรึกษาเข้าร่วมประชุมจำนวน 21 คน

     

    21 21

    33. ดำเนินการสำรวจ/วิเคราะห์ข้อมูลขยะครัวเรือน ครั้งที่ 3

    วันที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน โดยเด็กและเยาวชนจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำนเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน โดยเด็กและเยาวชนลงพื้นที่เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตามบ้าน ในชุมชนบ้านสะพานแต้ว ม.9

     

    15 15

    34. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ ครั้งที่ 3

    วันที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำและเยาวชนช่วยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้จากการสำรวจข้อมูลขยะครั้งที่ 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำและเยาวชนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยมีแกนนำและเยาวชนเข้าร่วม จำนวน 30 คน

     

    30 30

    35. รณรงค์คัดแยกขยะร่วมปลูกต้นไม้กินได้ในที่สาธารณะเพื่อเป็นสัญลักษณ์ฯลฯ

    วันที่ 12 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันปลูกต้นไม้กินได้เพื่อเป็นสัญลักษณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมกันปลูกต้นไม้กินได้บริเวณหอประชุมหมู่บ้านสะพานแต้ว โดยมีแกนนำและเยาวชนและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ปลูกผักปลอดสารพิษ โดยใช้นำหมักชีวภาพ

     

    90 90

    36. จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชนครั้งที่ 3

    วันที่ 14 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเพื่อให้ประชาชนทราบถึงความสำคัญของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือน และขยะที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ และแนวโน้มปริมาณขยะในอนาคต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดประชุมมีผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ประชาชนทั่วไป เยาวชนแก่นนำและที่ปรึกษา ว่าปัจจุบันชาวบ้านได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของขยะและปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาของขยะ และพร้อมร่วมมือกันทำกิจกรรมครั้งต่อไปเพื่อสร้างชุมชนให้น่าอยู่ต่อไป

     

    115 100

    37. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางมาตรการในการลดำรนำเข้าขยะในชุมชนและร้านค้า

    วันที่ 18 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดประชุมเพื่อวางกติกาของชุมชนในการจัดการขยะที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีประชุมชนผู้สนใจพร้อมตัวแทนร้านค้าและแกนนำเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน เพื่อวางกติกา โดยให้ตัวแทนร้านคัดแยกขยะ เป็นขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป ขยะ อันตราย ขยะแห้ง เพื่อนำกลับมาใช้ประโยชน์และขาย เพื่อเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่ง โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 75 คน

     

    120 75

    38. ประชุมคณะกรรมการทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษา ครั้งที่ 11

    วันที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษาเข้าร่วม 21 คน เพื่อปรึกษาหารือการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะกรรมการและคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 21 คน โดยพร้อมเพรียงกัน

     

    21 21

    39. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน ใช้เวลาก่อนการละหมาดวันศุกร์

    วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โต๊ะอิหม่ามประชาสัมพันธ์รณรงค์การเก็บกวาดขยะในบริเวณบ้านเรือนตนเอง สถานที่สาธารณะประโยชน์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โต๊ะอิหม่ามใช้เวลาก่อนการละหมาดวันศุกร์ทุกวันศุกร์เพื่อประชาสัมพันธ์เรื่องการเก็บกวาดขยะบริเวณบ้านเรือน และบริเวณที่สาธารณะประโยชน์

     

    90 120

    40. ดำเนินการสำรวจ/วิเคราะห์ข้อมูลขยะครัวเรือน ครั้งที่ 4

    วันที่ 7 กันยายน 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน โดยเด็กและเยาวชนจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำนเนินการสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน โดยเด็กและเยาวชนลงพื้นที่เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตามบ้าน ในชุมชนบ้านสะพานแต้ว ม.9

     

    15 15

    41. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจขยะ ครั้งที่ 4

    วันที่ 8 กันยายน 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำและเยาวชนช่วยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้จากการสำรวจขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำและเยาวชนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยมีแกนนำและเยาวชนเข้าร่วม จำนวน 30 คน

     

    30 30

    42. จัดเวทีคืนข้อมุลให้กับชุมชนครั้งที่ 4

    วันที่ 10 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเพื่อให้ชุมชนและประชาชนทราบถึงปัญหาขยะและการจัดการระบบขยะในชุมชนเพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบและเป็นชุมชนน่าอยู่ในเขตตำบลชะรัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน สนใจและนำแนวทางการปฏิบัติ ไปใช้ิในชีวิตประจำวันและจะทำให้เป็นชุมชนปลอดขยะ และ เป็นชุมชนน่าอยู่ต่อไปในอนาคต

     

    115 110

    43. ประชุมคณะกรรมการทำงานและคณะกรรมการที่ปรึกษา ครั้งที่ 12

    วันที่ 13 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเพื่อปรึกษาหารือเพื่อสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน กำหนดวันที่จัดกิจกรรม ในที่ประชุมกำหนดให้วันที่ 19 กันยายน 2556  เพื่อสรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน โดยจัดที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัดเพื่อแลกเปลียนเรียนรู้ข้อมูลและจัดบูธนำเสนอผลการดำเนินงานของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการและคณะทำงานเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน จำนวน 21 คน

     

    21 21

    44. สรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน

    วันที่ 19 กันยายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดบูธนำเสนอการดำเนินงานทุกกิจกรรมที่ผ่านมานำสเนอข้อมูลให้กับชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของแต่ละโครงการการที่เข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตัวแทนครัวเรือนในพื้นที่ จำนวน 100 คน แก่นนำ 15 คน ผู้บริหารเทศบาล จำนวน 5 คน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันจากตัวแทนครัวเรือนนำร่องในุมชน ประกาศครัวเรือนต้นแบบ จัดบูธนำเสนอการดำเนินงานทุกกิจกรรมที่ผ่านมาและกำหนดแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน นำเสนอข้อมูลให้ชาวบ้านได้รับรู้

     

    120 100

    45. การติดตามระหว่างการดำเนิน โดย สจรส. ครั้งที่ 5

    วันที่ 24 กันยายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนเอกสาร ลงข้อมูลวันจัดกิจกรรมคืนข้อมูลให้กับชุมชน แนะนำการจัดทำรายงานเข้าเล่มฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกโครงการร่วมกันทำรายงานผ่านเวปไซ์ด และจัดทำแบบรายงานโครงการเพื่อเข้าเล่ม

     

    2 3

    46. ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานร่วมเวทีเสวนาสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯปี 55

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมทบทวนการดำเนินงานโครงการฯ

     

    2 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : 1.ขยะในชุมชนลดลง ร้อยละ60

     

    2 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะโดยชุนชน
    ตัวชี้วัด : 2.คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมร้อยละ 60ของครัวเรือนทั้งหมด.

     

    3 3. เพื่อให้มีกฏกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3.มีกติกาของชุมชนในการจัดการขยะที่ทุกคนมีส่วนร่วมกำหนด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ (2) 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะโดยชุนชน (3) 3. เพื่อให้มีกฏกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว

    รหัสโครงการ 55-01919 รหัสสัญญา 55-00-0902 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชาวบ้านได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะว่าขยะมี 4 ประเภท คือ 1. ขยะอินทรีย์ เช่น เศษผักเหลือจากนำไปปรุงอาหาร ผลไม้ ต่าง ๆ 2. ขยะ รีไซเคิล เช่น ขวดน้ำดื่ม ขวดนม เป็นต้น 3. ขยะทั่วไป เช่น พลาสติก ถุงขนมขบเคี้ยว ถุงนม เป็นต้น 4. ขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆ่าแมลงหลอดไฟ เป็นต้น

    จากบันทึกในที่ประชุม  และภาพถ่ายจากการจัดกิจกรรม

    ชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะและสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้ในครัวเรือนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ได้สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุที่เป็นขยะ คือพลาสติกที่มัดลังใส่ของ นำมาสานตะกร้าเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เช่น นำไปจ่ายตลาดเพื่อลดจำนวนการนำเข้าของถุงพลาสติกในครัวเรือนและได้มีการรณรงค์การถือตะกร้าไปจ่ายตลาด

    จากภาพถ่ายของครัวเรือนนำร่องที่สมัครเข้าร่วมโครงการ และภาพถ่ายจากการทำกิจกรรม

    ครัวเรือนนำร่องที่เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้สามารถนำไปขยายผลและบอกวิธีการสานตะกร้าให้คนในชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    มีการเรียนรู้ข้อมูลเบื้องต้นของขยะเพื่อสร้างความตระหนักต่อด้วยการเรียนรู้จากรูปธรรมของแหล่งเรียนรู้ และต่อด้วยกระบวนการเรียนรู้ การจัดการขยะ เกี่ยวกับการคัดแยก ขยะว่ามีขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย  การทำน้ำหมัก - แห้ง ชีวภาพ การสานตะกร้าลดโลกร้อน การลงมือทำจริงในการคัดแยก และการร่วมกันจัดการขยะที่ผ่านการคัดแยก การทำและสรุปเป็นระยะ และสรุปบทเรียนเพื่อนำมาปรับในระยะต่อไป

    คณะทำงานบ้านสะพานแต้ว

    ครัวเรือนนำร่องที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และสามารถนำไปขยายผลต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มีการประชุมชาวบ้านเพื่อคัดเลือกแกนนำขึ้นมาจำนวน 49 คนประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน ม. 9 คุณ ก้อเดียด เศษขาว ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน อสม. และรับสมัครเยาวชน จำนวน 15 คน มาเข้าร่วมประชุมวางแผนสำรวจจำนวนข้อมูลขยะในชุมชน และดำเนินตามขั้นตอนต่อไป

    จากบันทึกในที่ประชุม และภาพถ่าย ในการจัดกิจกรรม

    แกนนำ ทั้ง 15 คน นี้ ได้มีการสานต่อการจัดการขยะในชุมชนให้น่าอยู่ ได้ ต่อไปจนเสร็จสิ้นโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    การจัดโครงการในครั้งนี้ได้มีศูนย์การเรียนรู้ขึ้นมาใหม่เกิดขึ้นในเขตหมู่ที่ 9 ตั้งอยู่ที่ศาลาหมู่บ้าน บ้านสะพานแต้ว ม. 9 ต. ชะรัด บ่อการทำแก็สชีวภาพ และทำปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อให้คนในชุมชนได้มารับความรู้และสามารถนำไปปรับใช้กับครัวเรือนของตนเองได้

    ศาลาหมู่บ้าน บ้านสะพานแต้ว ม. 9 ต. ชะรัด

    มีการเชิญชวนให้มาศึกษาที่ศูนย์การเรียนรู้ ของหมู่บ้าน ศาลาหมู่บ้าน บ้านสะพานแต้ว ม. 9 ต. ชะรัด เพื่อที่จะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในครัวเรือนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ครัวเรือนในชุมชนที่ได้รับความรู้จากการเข้าโครงการนี้ มีการจัดบริเวณบ้านของตัวเองให้มีความสะอาดอยู่เสมอ มีการคัดแยกขยะต่าง ๆ เพื่อลดพาหะนำโรคติดต่อต่าง ๆ ที่มาจากขยะ เช่น โรคไข้เลือดออก เป็นต้น

    บ้าน นายหร้อเฉด  เหรียญนุ้ย อสม. เลขที่ 148 หมู่ 9 ต. ชะรัด อ. กงหรา

    ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ สามารถนำไปขยายต่อครัวเรือนในหมู่บ้านต่อไปได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ประชาชนในหมู่บ้านมีความปลอกภัยจากสารเคมีมากขึ้น เพราะว่าใช้ปุ๋ยหมักที่ผลิตขึ้นเองมาใช้ ใส่ผักที่ปลูกกินเอง และเมื่อเหลือจากรับประทานแล้ว ก็สามารถนำไปขายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนได้ต่อไป

    บ้านนางฮะหลี้หมะ  เศรฐ์ษขาว หมู่ 9  ต. ชะรัด

    แนะนำให้ชาวบ้านมีการปลูกผักกินเองในครัวเรือน เพื่อความปลอดภัยจากสารเคมี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    ครัวเรือนที่มีแปลงผักคนในครัวเรือนได้ออกกำลังกายร่วมกัน ทั้งการทำปุ๋ยชีวภาพจากขยะและนำมาใช้ในแปลงผัก

    ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 9 จำนวน 49 ครัวเรือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ครัวเรือนในชุมชนแต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะในครัวเรือน มีการคัดแยกขยะที่สามารถขายได้ก็นำไปขาย ส่วนที่สามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยหมักได้ก็นำไปทำเป็นปุ๋ยหมัก ไว้สำหรับใส่แปลงปลูกผัก ต้นไม้ดอก ไม้ประดับ ต่าง ๆ  เป็นต้น

    ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 9 จำนวน 49 ครัวเรือน

    ครัวเรือนนำร่องได้มีการขยายต่อไปยังครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักน้ำและปุ๋ยหมักแห้งเพื่อลดการใช้สารเคมีที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในครัวเรือนและมีการลดการนำเข้าของขยะน้อยลง

    ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 9 จำนวน 49 ครัวเรือน

    ครัวเรือนนำร่องได้มีการขยายต่อไปยังครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีการนำเด็กและเยาวชนนำร่อง มาเข้าร่วมโครงการ มีการสำรวจขยะ มีการรณรงค์เก็บขยะในหมู่บ้านโดยชาวบ้านและเด็ก มีการประกวดบ้านสะอาด และปลูกผักกินเอง มีการนำหลักศาสนา การสอนศาสนาในวันเสาร์-อาทิตย์ สำหรับเด็ก และในวันศุกร์สำหรับผู้ใหญ่และทุก ๆวัน

    จากแบบสำรวจขยะของโครงการนี้ ที่จัดทำขึ้น และจากการสอนของโต๊ะครู ที่มัสยิดนูรุ้ลก่อมารียะฮ์บ้านสะพานแต้ว ม. 9 โดย นายอิดแอ หมินตะแหล๊ะ

    จากแบบสำรวจข้อมูลขยะของหมู่ที่ 9 ที่เก็บรวบรวมมา สามารถนำไปประเมินผลจำนวนของขยะเพื่อจะได้ดำเนินการในขั้นตอนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    เมื่อครัวเรือนนำร่องได้รับความรู้จากการคัดแยกขยะแล้ว สามารถจัดการกับขยะต่าง ๆ ได้ ขยะส่วนที่สามารถขายได้ก็จะช่วยสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน ส่วนขยะอินทรีย์ก็สามารถนำไปทำเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการเกษตรได้เพื่อลดต้นทุนจากการซื้อปุ๋ยเคมี ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ที่มากับสารเคมี

    ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 9 จำนวน 49 ครัวเรือน

    ครัวเรือนนำร่องได้มีการขยายและบอกต่อ ไปยังครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    กลุ่ม อสม. คอยให้คำแนะนำความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของครัวเรือนในชุมชน โดยมีการแนะนำเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของการรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ของตนเองและคนในชุมชนให้รับรู้ข่าวสาร

    กลุ่ม อสม. ในหมู่บ้านที่ 9 จำนวน 14 คน

    กลุ่ม อสม. ได้มีการเดินเยี่ยมบ้านของผู้ป่วยเรื้อรัง และมีการแนะนำการป้องกันเฝ้าระวัง โรคติดต่อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีเขตปลอดขยะในชุมชน เช่นศาลาที่ประชุมหมู่บ้าน ในมัสยิดและบริเวณโดยรอบ

    เขตปลอดขยะและกฎกติกาห้ามทิ้งขยะในสถานที่สาธารณะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการเชื่อมโยงภายในหมู่บ้าน ระหว่างกรรมการหมู่บ้าน อสม.เป็นคณะทำงานร่วมกันโดยมีครัวเรือนนำร่อง ภายนอกกับรพ.สต. บ้านชะรัดหนุนเสริมการประสานงานเรื่องการจัดหาวิทยากรและผู้เข้าร่วมมาให้ความรู้ในเรื่องการจัดการขยะ เพื่อจะได้นำไปจัดการเกี่ยวกับขยะ ในชุมชน และครัวเรือน

    จากบันทึกในที่ประชุม และใช้ภาพถ่ายในขณะทำกิจกรรม

    กรรมการหมู่บ้านและ อสม. ที่เข้าร่วมโครงการนั้นได้รับความรู้และนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีการสำรวจข้อมูลขยะในเบื้องต้นเพื่อนำมาวิเคราะห์ประกอบการตัดสินใจเลือกประเด็นปัญหา โดยประเมินจากการจัดลำดับความคัญและนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นโครงการฯนำมาสู่การปฏิบัติการตามโครงการนี้

    กำหนดการประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการใช้บุคคลในชุมชนคือ ครูสอนศาสนาอิสลาม การใช้โต๊ะอิหม่าม ก่อนการละหมาดวันศุกร์ โดยการสอนการนำหลักการจาก คัมภีร์อัลกรุอ่านที่มีการแปลมาให้ความรู้กับคนในชุมชนเกี่ยวกับความสะอาดของตัวเองภายในครัวเรือนและชุมชน

    มัสยิดนูรุ้ลก่อมารียะฮ์ บ้านสะพานแต้ว โดยโต๊ะอิหม่าม เจ๊ะหลี รอดเด็น ม. 9 ต. ชะรัด

    จะนำความรู้ที่ได้รับไปปลูกฝังให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการวางแผนกิจกรรมที่จะทำต่อเนื่องโดยมีการประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลโครงการและเพื่อการเตรียมการจัดกิจกรรมต่างๆตามโครงการต่อไป

    จากบันทึกในที่ประชุม และภาพถ่าย

    คณะทำงานในที่ประชุมจะได้รับความรู้และสามารถนำไปขยายผลต่อไปได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    การใช้ข้อมูลขยะมาเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกประเด็นทำโครงการ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามโครงการฯ การรายงานและประเมินผลตามโครงการ การทำและสรุปเป็นระยะ  การสรุปบทเรียนการดำเนินงานตามโครงการ

    รายงานผลการปฏิบัติการตามโครงการฯ

    การใช้กระบวนการนี้ในการทำงานประเด็นใหม่ของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีแผนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้  การจัดกิจกรรมและนำกลุ่มเป้าหมายมาประชุม โดยใช้ข้อมูลจากการจัดอันดับความสำคัญของหมู่บ้านมาร่วมกันตัดสินใจ เพื่อหาแนวทางการปฏิบัติครั้งต่อไป การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และการรายงานผลผ่านเว็บไซส์ฯ

    จากบันทึกในที่ประชุม และภาพถ่ายขณะทำกิจกรรม

    สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    สำหรับคณะทำงาน มีความรู้สึกว่าได้รับความรู้มากมาย เกี่ยวกับการทำกิจกรรมนี้ ได้รู้จักเพื่อนต่างหมู่บ้านอีก มากมายและรู้สึกว่าตนเองมีความภาคภูมิใจที่ทำให้ คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับขยะมากขึ้น ส่วน สำหรับคนในชุมชนรู้สึกว่า เขาให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และรู้จักการจัดการเกี่ยวกับขยะมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ทั้งคณะทำงานและคนในชุมชนต้องมีการจัดแบ่งเวลาอย่างเหมาะสมทั้งเวลาของครอบครัว เวลาที่ประกอบอาชีพ เวลาที่ดำเนินงานตามโครงการ และเวลาที่เข้าร่วมกิจกรรมอื่นในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ชาวบ้านในชุมชน ม. 9 มีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายมากยิ่งขึ้น โดยดูได้จากการที่ชาวบ้านนั้นมีการปลูกผังกินเอง ทั้งมีความปลอดภัยและสามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน มีความเป็นอยู่ที่พอเพียงมากขึ้น และในบริเวณรอบ ๆ บ้าน ก็มีความสะอาดมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการแลกเปลี่ยน ให้ระหว่างผู้ทำปุ๋ยชีวภาพจากขยะและปลูกผักปลอดสารในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การใช้ข้อมูลขยะมาเป็นเครื่องมือดำเนินตามโครงการนี้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

    การนำเด็กแลเยาวชนนำร่องมาจัดการขยะ

     

     

    จัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านสะพานแต้ว จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 55-01919

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายก้อเดียด เศษขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด