แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ ”

บ้านโตระหมู่ ๘,๙,๑๓ ตำบลตำนาน

หัวหน้าโครงการ
นายมนูญ เกื้อมิตร

ชื่อโครงการ ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ

ที่อยู่ บ้านโตระหมู่ ๘,๙,๑๓ ตำบลตำนาน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 55-01913 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0910

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านโตระหมู่ ๘,๙,๑๓ ตำบลตำนาน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ



บทคัดย่อ

โครงการ " ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านโตระหมู่ ๘,๙,๑๓ ตำบลตำนาน รหัสโครงการ 55-01913 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 203,080.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ลำคลอง
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูลำคลอง
  3. ชุมชนมีกลไกร่วมในการบริหารจัดการและกำหนด กฎ กติกา ข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ระบบนิเวศของคลอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุม เวทีสร้างความเข้าใจ/เรียนรู้ข้อมูล/ค้นหาคณะทำงานในการดำเนินงานตามโครงการ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าให้กับตัวแทนหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คน รวมเป็น 60 คน
    2. ค้นหาคณะทำงานจำนวน 15 คนเพื่อเป็นตัวแทนในการขยายผลของโครงการ
    3. ให้ความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ มีตัวแทนของหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 20 คน รายละเอียดดังนี้ 1. หมู่ที่ 8 นำโดย นายพิเชษฐ์ จันทร์ใหม่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4 คน สมาชิก อบต. 2 คน แกนนำชุมชน 4 คน มีผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน 2. หมู่ที่ 9 นำโดย นายณรงค์ บุญฤทธิ์ กำนันตำบลตำนาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3 คน สมาชิก อบต. 2 คน แกนนำชุมชน 4 คน มีผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 1 คน 3. หมู่ที่ 13 นำโดย นายทวี เกื้อเส้ง ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3 คน สมาชิก อบต. 2 คน แกนนำชุมชน 2 คน มีผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ผู้นำกลุ่ม 3 คน
    มีคณะทำงาน 15 คน นำโดย
    -นายมนูญ เกื้อมิตร ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดตำนาน
    -นางสุจิตรา อินทรสมบัติ ครูโรงเรียนวัดตำนาน -นางพิกุล ศรีแก้ว ครูโรงเรียนวัดตำนาน -นางอัมภา ปราบหนุน ครูโรงเรียนวัดตำนาน -พระคุณเจ้า 3 รูป -กรรมการสถานศึกษา 5 คน -สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน 3 คน เชิงคุณภาพ 1. ตัวแทนของหมู่บ้านมีความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ 2. มีคณะทำงานที่เป็นตัวแทนในการขยายผลของโครงบการต่อไป

     

    0 0

    2. ร่วมประชุมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ โซนภาคใต้ตอนบน

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน เข้าร่วมประชุมรับฟังการบรรยายจากวิทยากรเพื่อสร้างความเข้าใจในการรายงานกิจกรรมต่อพี่เลี้ยงและการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ ผู้รับผิดชอบจำนวน 3 คน
    โดยมี
    1. หัวหน้าโครงการ 2. เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ 3. ผู้จัดทำโครงการ เข้าร่วมรับฟังคำแนะนำการจัดทำโครงการ เชิงคุณภาพ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในขั้นตอนการรายงานกิจกรรม 2. เจ้าหน้าที่การเงินโครงการเกิดความเข้าใจในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน

     

    0 0

    3. จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจรายละเอียดของโครงการเพื่อเป็นตัวแทนขยายผลไปยังกลุ่มอื่นในหมู่บ้าน

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจรายละเอียดของโครงการให้กับตัวแทนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ติดลำคลองครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 57 ครัวเรือน รวมเป็น 57 คน และคณะทำงานจำนวน 3 คนเพื่อเป็นตัวแทนขยายผลไปยังกลุ่มอื่น ๆ ในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ 1. ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ 8 9 และหมู่ 13 จำนวน 57 ครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คน 2. คณะทำงานจำนวน 3 คน เชิงคุณภาพ 1. ตัวแทนครัวเรือนเกิดความเข้าใจในรายละเอียดและข้อตกลงของโครงการดังนี้ -ไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลลงในลำคลอง -ช่วยกันดูแลรักษาต้นไม้บริเวณริมลำคลอง -ปลูกพืชผักสวนครัวริมลำคลอง อย่างน้อย 1 แปลง -ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับบริเวณริมลำคลอง -ช่วยกันอนุรักษ์พันธ์ปลา 2. ตัวแทน 1 คน สามารถนำรายละเอียดและข้อตกลงของโครงการไปขยายผลไปยังครัวเรือนอื่นอีก 1 ครัวเรือน

     

    0 0

    4. จัดประชุมชี้สร้างความเข้าใจวีธีการในการตรวจสอบคุณภาพของน้ำให้กับนักเรียน จำนวน

    วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการตรวจสอบคุณภาพน้ำให้แก่นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คนและมีคณะทำงาน 5 คน โดยกำหนดจุดที่นักเรียนเก็บตัวอย่างน้ำจำนวน 4 จุด และแบ่งกลุ่มนักเรียนจำนวน 6 กล่ม กลุ่มละ 10 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ 1. นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คน 2. คณะทำงานจำนวน 5 คน นำโดย -ประธานสภานักเรียน 1 คน -รองประธานสภาพนักเรียน 4 คน เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนทราบสภาพค่าออกซิเจนในน้ำ 2.บันทึกผลเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าออกซิเจน 3.นักเรียนสามารถนำวิธีการเก็บคุณภาพน้ำไปยังครัวเรือนของตนเองต่อไป

     

    0 0

    5. จัดประชุมการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง

    วันที่ 22 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเพื่อจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งสิ้นจำนวน 55 คน โดยมีครูโรงเรียนวัดตำนานจำนวน 7 คนนักเรียนจำนวน 20 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 10 คน สมาชิกอบต. 10 คน คณะทำงาน 5 คน วิทยากรจำนวน 3 คน  รวบรวมข้อมูลต่าง  ๆ เช่น ประวัติลำคลอง พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ขนาดความกว้าง ยาว พื้นที่การใช้บริการ ข้อมูลการอาศัยของสัตว์น้ำ และข้อมูลพันธ์ไม้ริมคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 55 คน โดยมี 1. ครูโรงเรียนวัดตำนาน จำนวน 7 คน 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 20 คน 3. ปราชญ์ชาวบ้านจำนวน 10 คน 4. สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน จำนวน 10 คน 5. คณะทำงานจำนวน 5 คน โดยมีประธานสภานักเรียนจำนวน 1 และรองประธานสภานักเรียนจำนวน 4 คน 6. วิทยากรจำนวน 3 คน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง 2. นักเรียนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของแม่น้ำลำคลอง 3. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการแบ่งกลุ่มเพื่อค้นหาข้อมูลในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง

     

    0 0

    6. ติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 1

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและคำแนะนำจากพี่เลี้ยงโครงการในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงินและการรายงานกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน เข้าร่วมประชุมรับฟังคำชี้แจง เชิงคุณภาพ 1. มีความเข้าใจในขั้นตอนและรายละเอียดของการจัดทำเอกสาร รายงาน ส.1 และรายงาน ง.1 ได้ชัดเจนมากขึ้น 2. เข้าใจขั้นตอนการจัดรายงานกิจกรรมต่าง ๆ

     

    0 0

    7. ติดตามโครงการโดยพี่เลี้ยง

    วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงินจากพี่เลี้ยงโครงการ
    2. รับฟังคำแนะนำในการจัดทำเอกสาร ส.1 และ ง.1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน โดยมี -หัวหน้าโครงการ -เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ -ผู้จัดทำโครงการ เข้าร่วมรับฟังคำชี้แจงจากพี่เลี้ยงโครงการ เชิงคุณภาพ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการเกิดความเข้าใจในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน
    2. สามารถเข้าใจในขั้นตอนของการรายงานกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้วและเข้าใจถึงรายงาน ส.1 และรายงาน ง.1

     

    0 0

    8. จัดประชุม เตรียมการการลงแขกปลูกต้นไม้

    วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมเพื่อเตรียมการลงแขกปลูกต้นไม้โดยมีคณะกรรมหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ,9และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คนเป็นจำนวน 60 คน
    2. เพื่อปรึกษาในเรื่องการจัดทำภูมิทัศน์บริเวณริมลำคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิงปริมาณ 1. คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ,9 และหมู่ที่ 13 จำนวน หมู่บ้านละ 20 คน โดยมี
    1. หมู่ที่ 8 นำโดย นายพิเชษฐ์ จันทร์ใหม่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 4 คน สมาชิก อบต. 2 คน
    แกนนำชุมชน 4 คน ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน 2. หมู่ที่ 9 นำโดย นายณรงค์ บุญฤทธิ์ กำนันตำบลตำนาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน สมาชิก อบต. 4 คน แกนนำชุมชนจำนวน 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 1 คน 3. หมู่ที่ 13 นำโดยนายทวี เกื้อเส้ง ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน 2 คน แกนนำชุมชน 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ผู้นำกลุ่ม 3 คน เชิงคุณภาพ 1. คณะกรรมการหมู่บ้านเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกต้นไม้ 2. มีการแบ่งกลุ่มกันเพื่อจัดหาพันธ์ไม้ 3. เกิดการวางแผนร่วมกันในการปรับภูมิทัศน์บริเวณลำคลอง

     

    0 0

    9. เข้ารับการติดตามการดำเนินงานงวดที่ 1 โดย สจรส.

    วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการเข้ารับการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงิน
    2. รายงานกิจกรรมให้ครบถ้วนสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เข้าใจขั้นตอนของการรายงานกิจกรรมที่ถูกต้องและสมบูรณ์
    2. เกิดความเข้าใจในการจัดทำ และจัดเก็บเอกสารทางด้านการเงิน

     

    0 0

    10. เปิดสะพานคลองลำหลิง

    วันที่ 15 มีนาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประเพณีทำบุญเลี้ยงพระ และร่วมกันปล่อยปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์จากการมีสะพานข้ามคลอง และใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

     

    0 0

    11. ออกเก็บข้่อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

    วันที่ 1 เมษายน 2556 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนนักเรียนจำนวน 60 คนออกเก็บข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนำมาสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ชุมชนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ลำคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อนำข้อมูลมาจัดพิมพ์เป็นหลักสูตรท้องถิ่น

     

    0 0

    12. จัดพิมพ์หลักสูตรท้องถิ่น จำนวน 100 เล่ม

    วันที่ 15 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูโรงเรียนวัดตำนานและคณะทำงานร่วมกันจัดพิมพ์หลักสูตรท้องถิ่น จำนวน 100 เล่ม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีหลักสูตรท้องถิ่นจำนวน 100 เล่ม เพืื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน

     

    0 0

    13. ทำบุญสุสานเด็ก

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ทำบุญเลี้ยงพระ 2.ร่วมกันปลูกต้นไม้ 3.ร่วมกันปล่อยปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เกิดประเพณีวัฒนธรรมในชุมชนเพื่อให้คนรุ่นหลังได้ถือปฏิบัติต่อไป 2.ได้มีการปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น 3. มีการปล่อยปลาเพื่อขยายพันธ์ปลาให้เพิ่มมากขึ้น

     

    0 0

    14. ติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 3

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานความก้าวหน้ากิจกรรมโครงการฯ โดยมีคณะทำงาน 3 คน เข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานความก้าวหน้าของกิจกรรมในโครงการ

     

    3 3

    15. ขุดลอกวัชพืชในลำคลอง ความยาว ๒ กิโลเมตร

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อให้คณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน ๖๐ คน ครูนักเรียนโรงเรียนวัดตำนาน จำนวน ๗๐ คน และประชาชนใน ๓ หมู่บ้าน จำนวน ๑๗๐ คน ร่วมลงแขกขุดลอกวัชพืชในลำคลอง ความยาว ๒ กิโลเมตรจำนวน ๑ ครั้ง โดยใช้กำลังคน ๓๐๐ คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถขุดลอกวัชพืชในลำคลองความยาว ๒ กิโลเมตรและได้ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับภูมิทัศน์ริมลำคลองให้สวยงามร่มรื่นยั่งยืนตลอดไป

     

    300 300

    16. ประชุมตัวแทนครัวเรือนเพื่อ ให้ความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2556 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ตัวแทนครัวเรือนที่อยู่ติดลำคลองจำนวน 47 ครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 47 คน เพื่อให้ตัวแทนนำไปขยายผลต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 47 ครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คน สามารถนำความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษไปขยายผลต่อคนในครอบครัวและครัวเรือนใกล้เคียงได้

     

    47 47

    17. กิจกรรมเรียนรู้การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรให้ความรู้  และสอนให้ทำปุ๋ยชีวภาพ แก่ -สมาชิกปลูกผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน -ตัวแทนกลุ่มทำนา จำนวน ๓๐ คน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกปลูกผักปลอดสารพิษจำนวน 30 คน และตัวแทนกลุ่มทำนา จำนวน 30 คน ได้รับความรู้ในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและสามารถนำไหปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

     

    80 80

    18. มีการจัดแบ่งพื้นที่ริมคลองเป็น ๓ โซน มีครัวเรือนที่อยู่ริมคลองแบ่งพื้นที่กันดูแลรักษาต้นไม้ที่ปลูกไว้

    วันที่ 10 สิงหาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดแบ่งพื้นที่ริมคลองเป็น ๓ โซน  โดยมีคณะกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 60 คน ครูนักเรียนโรงเรียนวัดตำนาน จำนวน 70 คน ประชาชนใน 3 หมู่บ้านที่อยู่ริมคลองจำนวน 170 คนแบ่งพื้นที่กันดูแลรักษาต้นไม้ที่ปลูกไว้ละซ่อมแซมต้นไม้ที่ตายไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดแบ่งพื้นที่ริมคลองเป็น 3 โซน โดยมีครัวเรือนที่อยู่ริมคลองแบ่งพื้นที่กันดูแลรักษาต้นไม้ที่ปลูกไว้โดยใช้เงินสมทบจากชุมชนจำนวน 38000 บาท

     

    300 170

    19. จัดประชุมเสวนาคณะกรรมการหมู่บ้าน เพื่อ กำหนดกฎ กติกา และข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ริมลำ

    วันที่ 13 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเสวนาคณะกรรมการหมู่บ้าน เพื่อ  กำหนดกฎ กติกา และข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ริมลำ -  กำหนดข้อห้าม - กำหนดบทลงโทษ - กำหนดสารวัตรดูแลคลองโดยมีคณะกรรมการหมู่บ้าน 60 คน คณะกรรมการโรงเรียน 10 คน คณะกรรมการวัด 15 คน และคณะทำงาน 5 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    Loading...

     

    90 90

    20. จัดทำป้ายข้อความ

    วันที่ 14 กันยายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายข้อความ - ข้อห้ามจับปลาในเขตสงวนพันธุ์ จำนวน ๕ จุด
    -  มีข้อห้ามการทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลในลำคลอง จำนวน ๕ จุด - มีข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ลำคลองจำนวน ๓ จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีป้ายข้อความ - ข้อห้ามจับปลาในเขตสงวนพันธุ์ จำนวน ๕ จุด
    -  มีข้อห้ามการทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลในลำคลอง จำนวน ๕ จุด - มีข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ลำคลองจำนวน ๓ จุด เพื่อให้เกิดกฎ กติกา ในการรักษาความสะอาด

     

    20 20

    21. การลงแขกร่วมปลูกไม้ยืนต้นริมลำคลอง ความยาว ๒ กิโลเมตร

    วันที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 60 คน ครูนักเรียนโรงเรียนวัดตำนาน จำนวน 70 คน ประชาชนในหมู่บ้านจำนวน 170 คนลงแขกร่วมปลูกไม้ยืนต้นบริเวณริมลำคลอง ความยาว ๒ กิโลเมตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการลงแขกร่วมปลูกไม้ยืนต้นริมลำคลอง ความยาว 2กิโลเมตร จำนวน 600 ต้น ประกอบด้วย ต้นมะขาม 150 ต้น ต้นขี้เหล็ก 150 ต้น ต้นมะพร้าว 150 ต้น ต้นมะม่วงหิมพานต์ 150 ต้น

     

    300 300

    22. ติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 5

    วันที่ 17 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานความก้าวหน้าและค่าใช้จ่ายของการดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานการดำเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้ครบถ้วน

     

    2 2

    23. ออกสำรวจเก็บข้อมูลสภาพน้ำ เพื่อนำตัวอย่างตรวจสอบหาค่าออกซิเจนกับสำนักงานสาธารณสุข

    วันที่ 26 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มอบหมายให้นักเรียนจำนวน 20 คน ออกเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อตรวจสอบหาค่าออกซิเจน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เก็บตัวอย่างน้ำแล้วนำไปตรวจสอบค่าออกซิเจน ว่าคุณภาพของน้ำอยู่ในระดับใด เพื่อจะได้หาทางป้องกันและแก้ไขให้สภาพน้ำกลับมาดีดังเดิม

     

    20 20

    24. ร่วมขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่(งานสร้างสุขภาคใต้)

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ เช่น ประเด็นเกษตร อาหาร เด็กเยาวชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่

     

    2 3

    25. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ เช่น ส3 ส4 เอกสารการเงินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อทำรายงานสรุปปิดโครงการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ลำคลอง
    ตัวชี้วัด : 1. ระบบนิเวศของคลองรวมถึงคุณภาพของน้ำในลำคลองดีขึ้น

     

    2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูลำคลอง
    ตัวชี้วัด : 2.1 มีจำนวนผู้เข้าร่วม 43 ครัวเรือน และ มีกระบวนการเฝ้าระวังลำคลองจาก 3 หมู่บ้าน(ระวังขยะ/สารเคมี/ปัจจัยกระทบอื่น) 2.2 มีการปลูกไม้ยืนต้นจำนวน 600 ต้น บริเวณริมคลองทั้ง 2 ด้าน จำนวน 300 คน 2.3 มีกิจกรรมการทำความสะอาดคลอง ขุดลอกวัชพืชในลำคลองโดยการลงแขกร่วมแรงของคนทั้ง 3 หมู่บ้านระยะทางยาว 2 กม. จำนวน 1 ครั้ง /ปี 2.4 มีแปลงปลูกพืชผักปลอดสารพิษริมลำคลอง จำนวน 50 ครัวเรือน 2.5 มีการเรียนรู้การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ ในกลุ่มปลูกผักและกลุ่มทำนา

     

    3 ชุมชนมีกลไกร่วมในการบริหารจัดการและกำหนด กฎ กติกา ข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ระบบนิเวศของคลอง
    ตัวชี้วัด : 3.1 มีการประชุมร่วมกันของคนทั้ง 3 หมู่บ้านเพื่อร่วมกันกำหนด กฎ กติกา ข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ระบบนิเวศของลำคลอง 3.2 มีหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องลำคลองเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน 3.3 มีกระบวนการติดตาม/ประเมินผล/การรายงานผลการดำเนินของโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ลำคลอง (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูลำคลอง (3) ชุมชนมีกลไกร่วมในการบริหารจัดการและกำหนด กฎ กติกา ข้อปฏิบัติในการอนุรักษ์ระบบนิเวศของคลอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ

    รหัสโครงการ 55-01913 รหัสสัญญา 55-00-0910 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    มีหลักสูตรความรู้เรื่องลำคลองและประวัติความเป็นมาของลำคลอง

    หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง

    นำหลักสูตรท้องถิ่นมาใช้ประกอบการเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เกิดกลุ่มอาสาพัฒนาร่วมกันระหว่างคนใน3 ชุมชน

    คณะทำงานโครงการ

    ตัวแทนครัวเรือนขยายผลต่อไปยังคนในครัวเรือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการขี่จักรยานริมลำคลอง/การพายเรือล่องลำคลอง

    มีเรือบริการจำนวน 8 ลำ

    มีการปรับภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดบริเวณลำคลอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    จากคณะทำงานหมู่บ้านละ 20 คน ร่วมประชุมเพื่อกำหนดการดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณ จาก สสส. ที่ประชุมเห็นร่วมกำหนดพื้นที่สาธารณะในการลด ละ เลิกอบายมุข

    โรงเรียนและวัดตำนาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและรายละเอียดของลำคลองในการจัดทำหลักสูตรและคู่มือการเรียนรู้

    หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องอนุรักษ์ลำคลอง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    เกิดสถานที่พักผ่อนและสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา

    ภาพถ่ายสุสานเด็ก

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีพื้นที่สุสานรกร้างได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้เป็นสถานที่ที่ใช้ทำกิจกรรมร่วมกันในทุกปี และจะมีการปล่อยปลาในทุกครั้งที่มีการทำบุญสุสาน

    ภาพถ่ายสุสานเด็ก

    มีประเพณีการทำบุญสุสานในทุก  ๆ ปี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีกิจกรรมตลาดน้ำสาธิตของโรงเรียนและชุมชน

    ตลาดน้ำสาธิต

    จัดกิจกรรมตลาดน้ำสาธิตเป็นประจำทุกปี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีข้อห้ามในการจับปลา ทำให้มีพื้นที่อนุรักษ์เพิ่มขึ้น

    ป้ายห้ามจับปลา

    กำหนดโทษในการฝ่าฝืนข้อห้าม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายคลอง 3 สาย คือ คลองสายนาท่อม/สายตำนาน/สายท่าแค

    ภาพถ่าย

    มีการประสานงานเพื่อร่วมกันอนุรักษ์ลำคลองอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการระดมทุนในการจัดทำสะพาน/ศาลา และทำถนนริมคลอง

    ภาพถ่าย สะพาน/ศาลา

    ร่วมกันพัฒนาถนนบริเวณลำคลองอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    คนในชุมชนสละเวลา แรงกาย และมีส่วนร่วมในการสร้างสะพานข้ามคลองและศาลาเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน

    ภาพถ่ายสะพานข้ามคลองจำนวน 3 จุด และศาลา
    2 จุด

    สร้างสะพานข้ามคลองเพิ่มขึ้นอีก 1 จุด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 55-01913

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมนูญ เกื้อมิตร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด