directions_run

รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ”

พื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านป่ากอ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายศรี แก้วลาย

ชื่อโครงการ รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

ที่อยู่ พื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านป่ากอ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 55-01837 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0869

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านป่ากอ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่



บทคัดย่อ

โครงการ " รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านป่ากอ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 55-01837 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 140,450.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาอาชีพ “เสริมรายได้ ลดรายจ่าย”
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพตามแนวคิด“สุขภาพพึ่งตน”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00-21:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ฝึกปฏิบัติการใช้เว็บไซต์ happynetwork.org (คนใต้สร้างสุข)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้เว็บไซต์คนใต้สร้างสุข
    2. สามารถรายงานผลการดำเนินงาน และกิจกรรมโครงการผ่านเว็บไซด์คนใต้สร้างสุข
    3. ได้รับความรู้ในเรื่อง การบริหารจัดการเรื่องการเงิน ของโครงการ

     

    0 0

    2. กิจกรรมจัดทำป้ายรณรงค์ปลอดบุหรี่

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 เวลา 11.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายกิจกรรมปลอดบุหรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดทำป้ายปลอดบุหรี่ทั้งหมด 2 ป้าย ป้ายเล็ก 60x120 ซม. และป้ายใหญ่ 120x120 ซม. ซึ่งโครงการฯจะใช้ในการประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ที่มีการจัดกิจกรรม

     

    0 0

    3. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานของโครงการ

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการโครงการฯ เพื่อจัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม ตลอดจน การวางแผนการทำกิจกรรมเสริมรายได้ลดรายจ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะกรรมการโครงการเข้าร่วมประชุมและได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้
          1.นายศรี แก้วลาย หัวหน้าโครงการ
          2.นางสุพิศ  สวนแก้ว เลขานุการ
          3.นางสาวรุ่งกวิณ ศรีปรางค์ เหรัญญิก
          4.ว่าที่ร้อยตรี สมภพ ศรีปรางค์ ผู้ช่วยเหรัญญิก
          5.นางฉิ้น ชิรงค์ ประชาสัมพันธ์
          6. นายบุญฤทธิ์ เมืองทวี ประสานงานภายในชุมชน
          7.นางสุบิน อันทะแขก ประสานงานภายในชุมชน
          8.นายประกอบ ชิตพงค์ ประสานงานภายในชุมชน
          9.นายวิจิตร ชิตพงค์ ประสานงานภายในชุมชน
          10.นายสะมะอิน จับปรั่ง ประสานงานภายในชุมชน
    2.ได้ร่วมวางแผนการดำเนินกิจกรรมเสริมรายได้ ลดรายจ่าย ในครัวเรือน ซึ่งจะมีการเชิญให้ทางเจ้าหน้าที่ ธกส.และพัฒนาการอำเภอ มาเป็นวิทยากรในการให้ความรู้
    3.จัดเตรียมงานเพื่อประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนที่มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม

     

    0 0

    4. ประชุมวางแผนการดำเนินงานและอบรมบัญชีครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 22 ธันวาคม 2555 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในการอบรมบัญชีครัวเรือน
    2.รับสมัครสมาชิกกลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมกิจกรรม  เสริมรายได้ ลดรายจ่าย
    3.อบรมให้ความรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน

    4.จัดตั้งกฎกติกาการติดตามผลการทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิก เพื่อติดตามให้คำแนะนำช่วยเหลือและการสร้างขวัญกำลังใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นายชลอ หนูนาคและนางวิมล ฮ่อยี่ซี่ เจ้าหน้าที่พัฒนาการอำเภอกันตัง  ได้ให้ความรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน การรวมกลุ่ม กฎกติกา และการบริหารจัดการของกลุ่ม  ตลอดจนตั้งกลไกการติดตามผลการให้กำลังใจ  และคำแนะนำแก่สมาชิก
    2.คนในชุมชนที่มีความสนใจในการทำบัญชีครัวเรือน ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน เข้ารับการอบรม 3.เกิดกลุ่มสมาชิก 40 คน ที่มีความสนใจในการทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งกลุ่มได้มีการนัดพบปะในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เดือนละ 1 ครั้ง เป็นการติดตามผล และการร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมเสริมรายได้ ลดรายจ่าย ในครัวเรือน เนื่องจากชุมชนบ้านป่ากอเป็นชุมชนที่ทำอาชีพเกษตรกรรม ทำสวนยางพารา ดังนั้นกลุ่มจึงให้ความสนใจในการปลูกผักพืชบ้าน (ผักเหรียง )เสริมในแปลงสวนยางพารา นอกจากจะลดภาระในรายจ่ายของค่าอาหารแล้วสามารถจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้ครัวเรือนได้อีก

     

    0 0

    5. ติดตามความก้าวหน้าโครงการฯ ทีม สจรส

    วันที่ 12 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ โดยทีม สจรส  ซึ่งเป็นทีมสนับสนุนการทำงานของโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ ดูเอกสารการเงินโครงการ  การจัดทำรายงานข้อมูล        ในเว้ปไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายศรี แก้วลาย หัวหน้าโครงการ รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ได้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งทางทีม สจรส. ได้ให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสารการเงินโครงการฯ  การลงข้อมูลในเว้ปไซต์คนใต้สร้างสุข ซึ่งทางหัวหน้าโครงการ ไม่สามารถทำคอมพิวเตอร์ได้ เนื่องจากอายุที่มากขึ้น ซึ่งทางหัวหน้าโครงการจะมีการจัดหาบุคคลากรในการเข้ามาช่วยทำข้อมูล

     

    0 0

    6. ประชุมให้ความรู้การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก การดูแลรักษา ฯ

    วันที่ 27 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วิทยากรได้ให้ความรู้การเตรียมพื้นที่ในการปลูกผักพื้นบ้าน (ผักเหรียง ) การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวผลผลิต การทำบรรจุภัณฑ์ แก่สมาชิกกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 49 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.วิทยากร นายบุญฤทธิ์ เมืองทวี ให้ความรู้การเพาะปลูกพันธุ์ผักเหลียง การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวผลผลิต ให้กับสมาชิก จำนวน 49 คน  ที่เข้าร่วม ซึ่งสมาชิกได้มีความรู้และเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในการปลูกผักเหรียงซึ่งเป็นผักพื้นบ้าน
    2.วิทยากรและสมาชิกได้ร่วมกันทำถุงบรรจุภัณฑ์  เพื่อใช้ใส่ผักเหรียง ให้ดูสวยงาม ลดการบอบชำ การเหี่ยวเฉา ของผักหลังการเก็บเกี่ยว

     

    0 0

    7. สนับสนุนต้นพันธุ์ผักพื้นบ้าน (ผักเหรียง)

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10:00 - 12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้สนับสนุนต้นพันธุ์ผักพื้นบ้าน (ผักเหรียง )จำนวน 500ต้น ให้กับสมาชิกที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สนับสนุนต้นพันธุ์ผักพื้นบ้าน (ผักเหรียง )จำนวน 500 ต้น ให้กับสมาชิกที่มาเข้าร่วมประชุมจำนวน 50 คน คนละ 10 ต้น โดยให้สมาชิกได้นำไปปลูกในพื้นที่แปลงสวนยางพารา ซึ่งต้นผักเหรียงเป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่ที่มีลักษณะร่มเงา มีแสงสว่างน้อย จึงเหมาะที่จะปลูกร่วมกับสวนยางพารา เป็นการลดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่เกษตร  ตลอดจนรณรงค์ให้เกษตรกรได้ปลูกพืชที่หลากหลายขึ้น โดยเฉพาะพืชอาหาร

     

    0 0

    8. พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการของบ้านป่ากอ

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ดูเอกสารการเงินโครงการฯ
    2.ดูการบันทึกรายงานกิจกรรมในเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงได้ให้คำแนะนำในการทำกิจกรรม ,เอกสารการเงิน ,การเขียนรายงานผู้รับผิดชอบในเว้ปไซต์คนใต้สร้างสุข ซึ่งทางคณะทำงานโครงการที่เข้าร่วมจำนวน 3 คน ที่ประกอบด้วยหัวหน้าโครงการฯ ฝ่ายการเงินโครงการฯ ฝ่ายบันทึกข้อมูลโครงการ มีความเข้าใจในการจัดทำเอกสารมากขึ้น

     

    0 0

    9. ให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักแห้ง

    วันที่ 1 มีนาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อบรมให้ความรู้การทำปุ่ยหมักแบบแห้ง
    2.สาธิตการทำปุ่ยหมักแบบแห้ง
    3.สมาชิกร่วมกันทำปุ่ยหมักแบบแห้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วิทยากรได้ให้ความรู้แก่สมาชิกในการทำปุ่ยหมักแบบแห้ง  มีสมาชิกเข้าร่วมประมาณ 30 คน ได้ร่วมกันทำปุ่ยหมัก ณ.ศูนย์ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงบ้านป่ากอ ตำบลคลองชีล้อม อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง  จากที่สมาชิกได้ร่วมกันทำ ปริมาณปุ่ยที่ทำได้จำนวน 2 ตัน  สมาชิกช่วยกันบรรจุใส่กระสอบ โดยพักไว้ที่ศูนย์ฯ รอให้ปุ่ยคลายความร้อน มีอุณหภูมิเย็นตัวลง ก็จะมีการปันสัดส่วนของปุ่ยให้กับสมาชิกในโอกาสต่อไป

     

    0 0

    10. คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 1 มีนาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชี 500บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท

     

    0 0

    11. พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 2 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจติดตามผลการทำบัญชีการเงิน การลงสมุดเงินสด  การลงข้อมูลในเว็ปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เอกสารการเงินจัดเป็นหมวดกิจกรรมๆ
    2.รายงานข้อมูลในเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข ยังต้องมีการปรับเพิ่มเติมข้อมูลให้มีเนื้อหามากขึ้น

     

    0 0

    12. นำส่งรายงานการดำเนินงานในงวดที่1

    วันที่ 8 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำส่งรายงานการดำเนินงานโครงการ งวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำส่งรายงานการดำเนินงานโครงการ งวดที่ 1

     

    0 0

    13. ติดตามสนับสนุน จาก สจรส มอ และพี่เลี้ยง

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2556 เวลา 12:00-20.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ตรวจ ทบทวนการรายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข
    2.ทำแบบประเมินคุณค่าโครงการ
    3.นำเสนอคุณค่าของกิจกรรมในโครงการที่ดำเนินงาน ว่าเกิดสิ่งดี มีคุณค่าอะไรบ้างในที่ประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.การตรวจเช็คและรายงานผลการทำกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข
    2.ทำแบบประเมินคุณค่าโครงการ ซึ่งจากการประเมินในสิ่งที่ทำพบว่า คนในชุมชนเกิดความตระหนักในการทำเกษตรแบบผสมผสาร ลดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวโดยเฉพาะแปลงยางพารา  มีการปลูกพืชร่วมยางมากขึ้น เช่น ผักเหรียง  สะตอ เนียง และไม้ใช้สอย ซึ่งเป็นพืชอาหารและใช้สอยในครัวเรือน  ทำให้ชุมชนสามารถสร้างรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน
    3.เคลียร์ค่าใช้จ่ายในใบสำคัญรับเงินติดตามการสนันสนุนการดำเนินงานโครงการ ประชุมเตรียมเอกสารรายงานงวดที่ 1 ณ มูลนิธิอันดามัน และค่าเดินทางนำส่งรายงานงวดที่1 ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา  ไป-กลับ โดยมารายงานค่าใช่จ่ายร่วมในเดือน พ.ค.  56 รวมเป็น 1,300 บาท

     

    0 0

    14. ประชุมคณะกรรมการโครงการ

    วันที่ 4 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมกรรมการโครงการ โดยมีกรรมการเข้าร่วม 7 คน ร่วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์การทำปุ่ยหมักน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กรรมการเข้าร่วมประชุม 7 คน โดยร่วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์การทำปุ่ยหมักน้ำ ซึ่งทางคณะทำงานได้กำหนดการทำปุ่ยในวันที่ 8 มิ.ย. 56 ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตำบลคลองชีล้อม

     

    0 0

    15. ทำปุ๋ยหมักน้ำ

    วันที่ 8 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ฝึกอบรมและทำปุ่ยหมักน้ำจากเศษอาหาร,เศษผักผลไม้ โดยวิทยากรให้ความรู้ในกระบวนการทำตั้งแต่การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ การนำไปใช้ และการเก็บรักษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การทำปุ่ยหมักน้ำมีคนเข้าร่วม จำนวน 33 คน โดยวิทยากรได้ให้ความรู้ วิธีการทำ การนำไปใช้  ซึ่งผู้เข้าร่วมฝึกอบรมร่วมกันทำปุ่ยหมักน้ำ  โดยใช้วัสดุจากเศษผักผลไม้ และเศษหัวปลา ซึ่งหลังจากได้ร่วมกันทำ ได้ปุ่ยน้ำ จำนวน 2,000 กก. โดยปุ่ยจะหมักเก็บไว้ที่ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลา 1 เดือน ก่อนจะทำการแจกจ่ายให้กับสมาชิก ในการนำไปใช้ในแปลงเกษตร

     

    0 0

    16. ประชุมให้ความรู้โครงการ" สุขภาพการพึ่งตนเองตามแนวหมอเขียว

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:00-15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อบรมให้ความรู้  สุขภาพพึ่งตนเองตามแนวหมอเขียว โดยนายมะหมูด หล้าหลั่น  เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลชุมชนตำบลคลองชีล้อม มาให้ความรู้ ซึ่งมีคนในชุมชนเข้าร่วม จำนวน 37 คน
    2.ตรวจสุขภาพ โดยวัดความดัน ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว โดยทีม อสม. ตำบลคลองชีล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.อบรมให้ความรู้  สุขภาพพึ่งตนเองตามแนวหมอเขียว โดยมีคนเข้าร่วม จำนวน 37 คน โดยนายมะหมูด หล้าหลั่น มาให้ความรู้เกี่ยวกับ การกิน เช่น ลดการกินจำพวกแป้งให้น้อยลง  ลดการกินเนื้อไก่ เนื้อหมู เนื้อวัว ในคนที่สูงอายุ การลดกินอาหารรสจัด เน้นการกินผักให้มากขึ้น การอยู่ การใช้ชีวิตประจำวัน โดยให้ออกกำลังกายอย่างสมำ เสมอ การควบคุมอารมณ์ไม่ให้เกิดความเครียด ของคนในชุมชนเพื่อลดการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคเครียด ความดัน เบาหวาน
    2.ตรวจสุขภาพ โดยวัดความดัน ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว

    3.การนัดหมายครั้งต่อไปในการฝึกการล้างพิษด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ในเดือนสิงหาคม 2556

     

    30 37

    17. พี่เลี้ยงติดตามความก้าวหน้าของโครงการ

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำเอกสารในเรื่องของรายละเอียดโครงการและการเงินแล้วทำการบันทึกลงในเว๊บไซต์ 2.ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายศรี แก้วลายได้บันทึกข้อมูลและรายละเอียดของโครงการลงในเว๊บไซต์โดยให้ผู้ช่วยในการบันทึกข้อมูลเป็นคนบันทึกและตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารก่อนจะบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง

     

    0 0

    18. การติดตามสนับสนุนของ สจรส. ม.อ.และพี้เลี้ยง

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      การลงข้อมูลในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข และการตรวจเอกสารการเงินในทุกกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      การลงข้อมูลในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข และการตรวจเอกสารการเงินในทุกกิจกรรม

     

    0 0

    19. กิจกรรม จัดงานกินรู้ทัน ลดโรค สู่สุขภาพพึ่งตนเอง

    วันที่ 3 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ร่วมพูดคุยเสวนา ชวนคุย กินอย่างไรลดโรค การบริโภคอาหารในแต่มื้อ แต่ละวันมีผลต่อสุขภาพ และการดำเนินชีวิต

    2. ชุมชนร่วมกันจัดนิทรรศการประเภทของอาหาร จำนวน 6 ซุ้ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คนในชุมชนรู้ถึงการบริโภคอาหารที่ดีที่มีประโยชน์
    2.คนในชุมชนรู้จักการรักษาและพึ่งตนเองในการลดอาการของโรคที่กำลังเป็นและบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

    3.นักเรียนโรงเรียน บ้านคลองชีล้อมและโรงเรียนบ้านหนองเสม็ด ร่วมจัดซุ้มอาหาร จำนวน 2 ซุ้ม เกี่ยวกับอาหารประเภท เห็ด และชาวบ้านคลองชี้ล้อม ร่วมจัดซุ้มอาหาร จำนวน 6 ซุ้ม  ประเภทอาหาร ได้แก่  เมนูผักพื้นบ้าน , เมนูปลา,เมนูประเภทยำ ,เมนูแกง ฯลฯ

    4.ประชาชนในพื้นที่ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 178 คน และวิทยากรจากภายนอกมาร่วมแลกเปลี่ยน ได้แก่ เจ้าหน้า รพสต.ตำบลคลองชีล้อม

     

    200 178

    20. พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าของโครงการในการทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 14 กันยายน 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แนะนำจัดทำรายงานและเอกสารตรรวจสอบความถูกต้องและบันทึกข้อมูลลงสู่เว๊บไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานโครงการที่ยังไม่เสร็จในเรื่องของรายละเอียด ของรายงาน ส.3 ดังนั้นจึงให้ทางโครงการนำกลับไปทำต่อที่บ้าน ให้แล้วเสร็จ

     

    0 0

    21. ร่วมขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง(งานสร้างสุขภาคใต้)

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ร่วมแสดงความคิดเห็นของชุมชน

    2.แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้ชุมชนข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนความรู้ของชุมชนเพื่อพัฒนาให้เป็นชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ในเรื่องของ ทรัพยากร,เกษตร,อาหาร,ฯลฯและร่วมแสดงความคิดเห็นของชุมชน

     

    0 0

    22. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานและสรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายศรี แก้วลาย หัวหน้าโครงการ รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ได้นำส่งเอกสารฉบับสมบรูณ์ ส.3  , เอกสารการเงินโครงการฯ  ส.4 ให้กับ สสส.

     

    6 6

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาอาชีพ “เสริมรายได้ ลดรายจ่าย”
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 50ครอบครัวมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น 2.มีหลักฐานเอกสารข้้อตกลงกฏกติกาการบริหารของกลุ่ม 1 ฉบับ 3.ร้อยละ80 มีความรู้เกี่ยวกับการเตรียมที่การดูแล และการเก็บเกี่ยวและการทำบรรจุภัณฑ์ 4.มีการนำต้นพันธ์ไปปลูกจริงในพื้นที่ 100 % มีอัตราการรอดอย่างน้อย 90% 5.สามารถทำปุ๋ยใช้เองลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

     

    2 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพตามแนวคิด“สุขภาพพึ่งตน”
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างน้อย 50%

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาอาชีพ “เสริมรายได้ ลดรายจ่าย” (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพตามแนวคิด“สุขภาพพึ่งตน”

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

    รหัสโครงการ 55-01837 รหัสสัญญา 55-00-0869 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ  มีการบริโภคผักในแต่ละมื้อมากขึ้น ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง
    2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทำเกษตรแบบเชิงเดี่ยวมาเป็นแบบปลูกผสมผสาร มีการปลูกพืชร่วมยางพารามากขึ้น โดยเแพาะพืชอาหาร เช้น ผักเหรียง และไม้ใช้สอย
    3. ชุดความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชนและการใช้พืชสมุนไพรในการบริโภค และการรักษาโรค เช่น หัวไพร กระทือ บอระเพ็ด เถาวัลย์เปรียง ฯลฯ
    4. ธรรมนูญชุมชน เป็นกฎระเบียบ ข้อตกลงในการทำเกษตร
    1. ทะเบียนครัวเรือนการปลูกผักกินใบ เช่น ผักเหรียง
    2. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชนบ้านป่ากอ
    3. กฎระเบียบ  ข้อตกลง  ของชุมชน

    การเพิ่มพื้นที่ในการปลูกผักประเภทกินใบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
    1. สมุนไพรพลังงานแสงอาทิตย์  เป็นการเก็บรักษาพืชสมุนไพรโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น
    2. ผักเหรียงจากป่ายาง ผักเหรียงเป็นไม้กินใบที่สามารถเติบโตได้ดีในสวนยางพารา สามารถสร้างเป็นรายได้เสริมให้กับครัวเรือน และคุณค่าทางอาหาร มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ
    3. หมักแห้ง หมักน้ำ ลดสารเคมี  การทำปุ๋ยหมักที่นำเอาขี้ไก่ไข่ และขี้ไก้เนื้อมาเป็นส่วนผสมในการทำปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยมีคุณภาพดีกว่าการใช้แกลบเพียงอย่างเดียว
    4. ไม้กินใบ หลักสูตรสาระท้องถิ่นเกษตรอินทรีย์โดยมีกลุ่มนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองชีล้อม โรงเรียนบ้านหนองเสม็ด และศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนตำบลคลองชีล้อม ได้เข้ามาศึกษา เรียนรู้การขยายพันธุ์ไม้ การปลูกพืชและการใช้สมุนไพร

    ปราชญ์ชาวบ้าน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการตรวจสุขภาพ จาก อสม

    โรงพยาบาลสุขภาพชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    สนใจบริโภคผักที่ปลูกเองมากขึ้นเพราะประหยัด และปลอดภัย

    ศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียง ,รายงานส 3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    เดิน-แอโรบิค

    ส.อ.บ.ต นำเต้น / อ.ส.ม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ภูมิปัญญา เรื่องแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน ในการรักษาโรคและบริโภคเป็นผักพื้นบ้าน

    ศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียงบ้านป่ากอ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน

    พัฒนาชุมชน อำเภอ รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    รณรงค์ในเรื่องการปลูกพืช ทำปุ๋ยหมักแห้ง-ปุ๋ยหมักน้ำใช้เอง

    รายงาน ส 3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    สุขภาพคนในชุมชนดีขึ้นทุกครอบครัวเป้าหมายมีรายได้เสริมจากการปลูกผักกินเอง และผู้คนในชุมชนหันเข้ามาปฏิบัติภารกิจทางด้าน ศาสนามากขึ้น ทำให้มีการขัดเขลาจิตใจมากขึ้น

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    การปลูกผักเหมียง

    รายงาน ส 3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ทุกครัวเรือนเป้าหมายปลูกผักไว้กินเองและสร้างรายได้ให้กับครอบครัว

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ประสานงานระหว่างกลุ่มชุมชนท่าด่านและชุมชนบ้านแหลม

    ผู้นำชุมชน,ชุมชนใกล้เคียง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    การขับเคลื่อน ประเมิน วางแผน การปฏิบัติ ด้วยคณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการ

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีแกนนำที่มีจิตใจสาธารณะที่เป็นทุนและทรัพยากรบุคคล

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    แกนนำฯเรื่องของชุมชนมาปรึกษาเพื่อพัฒนา อย่างต่อเนื่อง

    รายงานการประชุม/รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีคณะทำงานที่มีทักษะในด้านความคิดใช้ข้อมูล ร่วมตัดสินใจ ในการทำแผนปฏิบัติการ

    รายงานการประชุม/รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    คณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการภูมิใจ ในการสร้างงาน สร้างอาชีพเสริม เพื่อความสุขของคนอย่างยั่งยืน

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงานมากขึ้น

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

    รายงาน ส3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    รายได้มั่นคง สุขภาพแข็งแรง บ้านป่ากอพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 55-01837

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายศรี แก้วลาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด