directions_run

โครงการบูรณาการชีวิต คู่เศรษฐกิจพอเพียงของชาวสะกอม

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการชีวิต คู่เศรษฐกิจพอเพียงของชาวสะกอม

รหัสโครงการ 55-01791 รหัสสัญญา 55-00-1047 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดชุดความรู้เกี่ยวกับ การบูรณาการชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง  ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน โดยนำกระบวนการชูรอเป็นตัวขับเคลื่อนกิจกรรมชุมชน ทำให้ความรู้ที่เดินได้(ครูภูมิปัญญา) ได้ถ่ายทอดออกมาเพื่อสืบทอดและต่อยอดต่อไปในอนาคต

เกิดชุดความรู้  เรื่อง การทำบัญชีครัวเรือน  การทำปุยหมักชีวภาพ  การปลูกผักสวนครัวเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

จัดทำชุดความรู้เหล่านี้ ให้เป็นสื่อและให้เป็นฐานปฏิบัติการเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน และเยาวชนในพื้นที่และพื้นที่ใก้ลเคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ทางชุมชนมีเวทีสำหรับปรึกษาหารือ ที่เรียกว่าเวทีชูรอ ประจำทุกเดือน เพื่อประชุมปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมต่าง ๆ ภายในชุมชน .- ครัวเรือน มีการปลูกพืชผักสวนครัวอย่างน้อย 5 ชนิดพร้อมทั้งติดป้ายชื่อและแสดงสรรพคุณ  เกิดแปลงสาธิตการทำปุยหมักชีวภาพพร้อมแสดงข้อมูลขั้นตอนการทำ  เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ที่ผ่านไปมาสนใจ ได้เรียนรู้และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

สภาชูรอชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน  ม.8 ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา - ศูนย์การเรียนรู้ วิถีชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน  ม.8 ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา  พืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ 25 ครัวเรือน  แปลงสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพพร้อมแสดงข้อมูลขั้นตอนการทำ

การทำบัญชีครัวเรือน สู่การออมเข้ากองทุนกุรบานประจำปี  และชารีกาตุ้ลอามานะห์ - การทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ และน้ำหมักชีวภาพ แก๊สชีวภาพจาก เศษอาหาร
- การทำปุ๋ยชีวภาพอัดเม็ดใช้ในชุมชน และจำหน่ายให้กับญาติสนิทมิตรสหาย และชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้หลักธรรมคำสอน และแบบอย่างศาสดาในการใช้ชีวิตประจำวัน ทุกวันเสาร์
.- กองทุนกุรบาน  เป็นการพลีสัตว์(อูฐ วัว แพะ แกะ) ตามหลักการศาสนาอิสลาม ในวันอีด อีดิ้ลอัฎฮา (ปีละครั้ง) -. 25 ครัวเรือน ปลูกพืชผักอย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด
-. การทำปุยชีวภาพโดยกลุ่มผู้เลี้ยงวัวในพื้นที่

-. ทุกวันเสาร์ 19.00-20.30 น. ณ บาลายโต้ะครูอะห์หมัด


-. สมาชิกกองทุนกุรบานฝากเงินเข้ากองทุนวันละ 10 บาท


.-  ครัวเรือนในชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน -. แปลงสาธิตการทำปุยหมักชีวภาพจากขี้วัว

ขยายผลการดำเนินงานไปยังครัวเรือนอื่นๆ  และชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

สภาชูรอชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน  ม.8 ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านต่าง ๆ เป็นที่พึงของชุมชน เพราะสามารถนำเรื่องต่าง ๆ เข้ามาปรึกษาในที่ประชุมของสภาชูรอได้ ตั้งแต่ครอบครัว ถึงระดับประเทศ - ศูนย์การเรียนรู้ วิถีชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน  ม.8 ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา จะเป็นศูนย์เรียนรู้จริยธรรมคู่คุณธรรม ในการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงภายใต้หลักศาสนธรรม

สภาชูรอชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน  ม.8 ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา - ศูนย์การเรียนรู้ วิถีชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน  ม.8 ต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา  พืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ 25 ครัวเรือน  แปลงสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพพร้อมแสดงข้อมูลขั้นตอนการทำ

  • สร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่
  • ตอยอดพัฒนาแห่งเรียนรู้ ให้เป็นแบบอย่าง(ต้นแบบ) ให้ชุมชนอืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การให้ความสำคัญเกี่ยวกับการบริโภคมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

-. ลดการบริโภค พืช ผัก อาหารตามท้องตลาด ที่เสี่ยงต่อยาฆ่าแมลง -. เน้นจัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพในกิจกรรม ต่าง ๆ เช่น กิจกรรมในโครงการ งานบุญ เป็นต้น -. กินพืชผักปอดสารพิษที่ปลูกเอง และแลกเปลี่ยนกันกินในชุมชน

พืชผักสาวนครัวปลอดสารพิษที่ปลูกริมรั้วบ้าน จำนวน 25 ครัวเรือน

-. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนเน้นการกินพืช ผักที่ปลูกเอง และแลกเปลี่ยนกันกิน -. ส่งเสริมปรับเปลี่ยน การทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ ให้เหมาะสมกับคนในครัวเรือน
-. ส่งเสริม พยายามแนะนำ ลูกหลาน โดยให้พ่อแม่เป็นแบบอย่าง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ทุก ๆ เดือนจะมีเวทีสภาชูรอ เพื่อรายงายเหตุการณ์ต่าง ๆ และปรึกษาหารือในเรื่องต่าง ๆ ทั้งปัญหา และแนวทางการพัฒนาปรับปรุง ตั้งแต่ระดับครอบครัวถึงระดับประเทศ
.- ทุกสัปดาห์วันศุกร์ และวันเสาร์ จะมีการให้ความรู้ ฟังเทศนาธรรม โดยผู้นำศาสนา และในขณะเทศนา ธรรมนั้นผู้ฟังสามารถถามได้ ทางโต๊ะครูก็จะตอบให้ความกระจ่าง .- การดูแลพืช ผักปลอดสารพิษ

.- เวทีสภาชูรอ ประจำเดือน .- เทศนาธรรม ศุกร์และเสาร์ .- พืชผักปลอดสารพิษ ริมรั้วบ้าน

จัดเวทีประชาคม เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเบื้องต้นให้กับหมู่บ้านข้างเคียงต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การทำอาหารเมนูสุขภาพปลอดสารพิษที่เหมาะสมกับวัยด้วยการนำพืชผักที่ปลูกขึ้นเอง และแลกเปลี่ยนกันกิน เนื่องจากบางครอบครัวปลูกแตกต่างกัน ทำให้มีพืชผักหลากหลาย .-  เกิดสายใยแห่งความรัก ห่วงใย สามัคคี มีสุขภาวะ -. เกิดความตระหนักในการดูแลรักษาสุขภาพ .- การนำมูลวัวที่มีมากในท้องถิ่น มาทำปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อนำไปใส่พืชผัก ทำให้ปลอดสารพิษ

• . - พืชผักสวนครัวริมรั้วบ้าน จำนวน  25 ครัวเรือน

• .- กระบวนการชูรอ หรือเวทีสภาชูรอ

• .-  ปุ๋ยหมักชีวภาพ

.- ประกวด คัดเลือกครอบครัวต้นแบบ รั้วเขียวบ้านขาว และประชาสัมพันธ์ให้กับหมู่บ้านข้างเคียงต่อไป


.- จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนตระหนักให้ความสำคัญสิ่งแวดล้อม ท้องถิ่น บ้านเกิด เพื่อให้ชุมชนมีสุขภาวะและสร้างเครือข่ายชุมชนสุขภาวะต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

บังคับตนเองให้ออมก่อนจ่าย ครอบครัวลดการซื้อผักจากภายนอก

  • บัญชีครัวเรือน
  • พืชผักสวนครัวรั้วริมบ้าน จำนวน 25 ครัวเรือน
  • ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษครัวเรือนละ 10 ชนิด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การรวมกลุ่มทำปุ๋ยหมักชีวภาพแบ่งกันใช้ ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนปลูกพืชผักปลอดสารพิษริมบ้านเพื่อไว้กินเองและให้มีการแลกเปลี่ยนกันกินเพราะบางครัวปลูกต่างชนิดกันทำให้ความผูกพัน ความรักความสามัคคี ส่งเสริมและเป็นแบบอย่างที่งดงามให้ลูกหลานสืบทอดต่อ ๆ กันไป รวมถึงยังช่วยลดรายจ่ายเล็กน้อยในครัวเรือน จัดทำอาหารเมนูปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน และอื่น ๆ  ที่สำคัญในชุมชนมี สภาชูรอ ทุกเดือนจะมีการนำเรื่องต่าง ๆ ที่มีปัญหาเพื่อรวมกันหาแนวทางแก้ไขปรับปรุง และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ ภายใต้หลักศาสนธรรม และทุกวันศุกร์ เสาร์จะมีการบรรยายธรรม(เทศนาธรรม) ที่มีความสอดคล้องกับวิถีชุมชน ตลอดจนการปฏิบัติศาสนกิจ ซึ่งอิสลามบัญญัติให้แสวงหาปัจจัยยังชีพ พร้อมกับการปฏิบัติศาสนกิจ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เกิดสุขภาวะ

-. กิจกรรมการส่งเสริมการใช้เวทีสภาชูรอ ประจำเดือน .- เทศนาธรรม ศุกร์และเสาร์ .- พืชผักปลอดสารพิษ ริมรั้วบ้าน และการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้ลูกหลานได้ประจักษ์ และในขณะเดียวกันพยายามให้เด็กและเยาวชนลูกหลานในชุมชนมีส่วนร่วมด้วยทุกครั้ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การทำปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อลดค่าใช้จ่าย  และการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ สามารถช่วยลดมลพิษ

หนึ่งกลุ่มปุ๋ยหมักและผักสวนครัวรั้วกินได้ 25 ครัวเรือน

.- การทำปุ๋ยหมักชีวภาพอัดเม็ดเพื่อการจำหน่าย .- การทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-คณะทำงานร่วมกับ อสม.เจ้าหน้าที่อนามัย คณะกรรมการมีสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน โรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ และประชาชนชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชน

.- งานเมาลิดินนบีประจำปี มัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน

ให้ 3 สถาบัน บ้าน โรงเรียน มัสยิด (บรม)ร่วมกันพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่ ให้เกิดความยั่งยืน และร่วมกันคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • มีการประชุมสภาชูรอทุก ๆ เดือนเพื่อนำปัญหาต่าง ๆ มาสรุปหาแนวทางในการแก้ใขและมีการประเมินทุก ๆ กิจกรรม
  • การประชุมสภาชูรอ
  • แบบประเมินกิจกรรม

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เยาวชนในเรื่องของการแก้ปัญหาชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ทุนในชุมชนที่ให้การสนับสนุน เช่น อบต., โรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ. มัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน , ทุนจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน และครูภูมิปัญญาในท้องถิ่น เป็นต้น

.- ศูนย์อบรมจริยธรรมมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน ,สภาชูรอ แหล่งเรียนรู้ชุมชน

ส่งเสริมการเรียนรู้ของเยาวชน ขอสนับสนุนทุนจาก สสส. อบต. มัสยิด เพื่อพัฒนาต่อยอดกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ออกแสดงนิทัศการให้กับชุมชนภายนอก

  • ภาพถ่ายและสมุดเยี่ยม

พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้ทันสมัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

รวบรวมจัดทำองค์ความรู้เป็น เอกสาร เผยแพร่ในชุมชน และชุมชนอื่น ๆ  พร้อมทั้งส่งเสริมครูภูมิปัญญาคิดค้นต่อยอดให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์

  • ความรู้ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  • สูตรอาหารเพื่อสุขภาพ

จัดให้มีสถานที่สำหรับเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ความสามารถที่ทำให้เกิดโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ขึ้นในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

สวนผักปลอดสารพิษในครัวเรือน จำนวน 25 ครัวเรือน กับหนึ่งกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ แลกเปลี่ยนกันกินแบ่งกันใช้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การจัดกิจกรรมเทศนาธรรม ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมมากขึ้นของคนในชุมชน และทำให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ
  • การเข้าร่วมอบรมการทำปู๋ยหมักชีวภาพและการรวมกลุ่มกัน และทำเองที่บ้าน
  • การเข้าร่วมอบรมการทำบัญชีครัวเรือน
  • การเข้าร่วมอบรมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  • การประชุมชูรอ
  • การร่วมกันทำประชาคม
  • จัดวันสำหรับเด็กเพื่อฝึกจริยธรรม
  • วันคนชรา
  • วันผู้ใหญ่
  • กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กตระหนัก รู้จักเสียสละ และหน้าที่ของตน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
  • การปรึกษาหารือ(ชูรอ)ร่วมกัน
  • การบริโภคผักและสมุนไพรที่ปลูกข้นเองในครัวเรือน
  • การทำปุ๋ยใช้เอง
  • สภาชูรอของชุมชนมัสยิดมัจญมูอิตตอลิบีน
  • สวนผักปลอดสารพิษในครัวเรือน จำนวน 25 ครัวเรือน กับหนึ่งกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ
  • ปลูกฝังจิตสำนึกในเด็กและเยาวชนให้รู้จักความพอเพียงและขยายผลไปยังชุมชนใกล้เคียงและชุมชนอื่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
  • การชูรอ  เป็นการสร้างความผูกพันธ์  จากการปลูกพืชผักปลอดสารพิษที่ต่างชนิดกันทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนกันกินในชุมชน และแจกให้ญาติพี่น้องในชุมชนใกล้เคียง รวมถึงการทำปุ๋ยหมักร่วมกันและแจกจ่ายแบ่งกันใช้ในชุมชน
  • สวนผักปลอดสารพิษในครัวเรือน จำนวน 25 ครัวเรือน กับหนึ่งกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ แลกเปลี่ยนกันกินแบ่งกันใช้
  • ปลูกฝังจิตสำนึกในเด็กและเยาวชนให้รู้จักความพอเพียง มีความเอื้ออาทรและขยายผลไปยังชุมชนใกล้เคียงและชุมชนอื่น ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การตัดสินใจโดยการชูรอร่วมกันนำหลักศาสนามาเป็นตัวนำ แล้วได้มติร่วมกันจากการร่วมกันคิด

  • จัดเทศนาธรรมทุกวันเสาร์ที่บาลายโต๊ะครูหมัด
  • ขยายผลไปยังชุมชนอื่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ