directions_run

โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ”

หมู่ที่ 2 ตำบลทรัพย์อนันตื อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางวงเดือน ศรีสุเทพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลทรัพย์อนันตื อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 55-01903 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0943

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลทรัพย์อนันตื อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลทรัพย์อนันตื อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 55-01903 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมคณะกรรมการชุมชน

    วันที่ 29 ตุลาคม 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดประชุมคณะกรรมการชุมชน กลุ่มแม่บ้าน และสมาชิกเครือข่ายกลุ่มองค์กรในชุมชน เพื่อปรึกษาหารือในการพัฒนากลุ่มอาชีพในชุมชน
    -วิทยากรจำนวน 2 ท่านให้ความรู้ด้านการดำรงชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในวันที่ 29 ตุลาคม 2555 เวลา 8.00 น. - 15.00 น. ณ ศาลาหมู่บ้านนาหวาน -จัดประชุมกลุ่มแกนนำโครงการ/จัดตั้งคณะกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการ และได้รับความรู้ด้านการดำรงชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากวิทยากร ซึ่งสามารถนำไปปรับใช้กับการดำเนินงานโครงการ และมีการจัดตั้งคณะกรรมการโครงการเพิ่มเติมจากกลุ่มแกนนำเดิม โดยการประชุมมีจำนวนผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น  62 คน และเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการโครงการจำนวน 22 คน โดยมีมติให้มีการนัดหมายเพื่อประชุมคณะกรรมการครั้งต่อไปพร้อมกับการประชุมหมู่บ้านในวันที่ 5 ของทุกเดือน

     

    0 0

    2. สนับสนุนการทำน้ำหมักชีวภาพและใช้ในแปลงสาธิต

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำน้ำหมักจากเปลือกผลไม้เปรี้ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำน้ำหมักจากเปลือกผลไม้เปรี้ยว ได้จำนวน 10 ถัง ๆละ 200 ลิตร

     

    0 0

    3. ประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่ามสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่โซนภาคใต้ตอนบน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  ผู้รับทุนและทีมงานเข้าร่วมปฐมนิเทศครบตามเวลาที่กำหนด -  ผู้รับทุนและทีมงานสามารถลงรายงานเบื้องต้นได้

     

    0 0

    4. ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน
    • แจ้งให้ทราบถึงหน้าที่และภาระรับผิดชอบของคณะกรรมการ เสนอรายชื่อ และร่วมกันหาผู้รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะกรรมการโครงการและสมาชิกในหมู่บ้านเข้าใจถึงหลักการและเหตุผลของโครงการ
    • คณะกรรมการทราบถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคนที่มีต่อการทำงานโครงการ โดยได้รับความร่วมมือจากคณะทำงานที่เข้าร่วมประชุมทุกคนเป็นอย่างดี
    • การประชุมมีคณะกรรมการเข้าร่วมจำนวน 8 คน สมาชิกในหมู่บ้านจำนวน 22 คน รวมผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้นจำนวน 30 คน

     

    0 0

    5. จัดอบรมเรื่องการใช้สารเคมีและสาธิตการทำปุ๋ยหมักในครัวเรือน

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 เวลา 8.30 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมเรื่องการใช้สารเคมีและสาธิตการทำปุ๋ยหมักในครัวเรือนใน ชุมชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประโยชน์และภัยจากการใช้สารเคมีที่เกิดขึ้นรวมทั้งประโยชน์จากการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะกับสภาพของดิน - มีผู้เข้าร่วมประชุม  97 คน - วิทยากร 2 คน -เกษตรจำนวน  70 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  ประชาชนในชุมชนมีความรู้และความตระหนักเรื่องการใช้สารเคมี -  เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประโยชน์และภัยจากการใช้สารเคมีที่เกิดขึ้นรวมทั้งประโยชน์จากการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะกับสภาพของดินสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป - มีการปรับเปลี่ยนและลดการใช้สารเคมี

     

    0 0

    6. จัดทำแปลงปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ (ขยายปลูกทุกครัวเรือน)

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแปลงปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ (ขยายปลูกทุกครัวเรือน)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำแปลงปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ (ขยายปลูกทุกครัวเรือน)

     

    0 0

    7. จัดอบรมเรื่องการใช้สารเคมีและสาธิตการทำปุ๋ยหมักในครัวเรือน

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สนับสนุนการทำน้ำหมักชีวภาพและใช้ในแปลงพืชสาธิตเพื่อใช้ในแปลงสาธิตและในกลุ่มจัดตั้งเศรษฐกิจชุมชน - เพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยชีวภาพทดแทน - พื้นที่ต้นแบบจำนวน 1 แห่ง - จำนวนผู้เข้าร่วม 132 คน - วิทยากร  2 คน - กลุ่มเศรษกิจชุมชนจำนวน  30 ครัวเรือน - มีการขยายไปปลูกผักทุกครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชากรในพื้นที่ทราบถึงวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อใช้ในแปลงพืช
    • เพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยชีวภาพทดแทน
    • จัดทำแปลงปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้เป็นพื้นที่กลางของชุมชนที่ ประชาชนร่วมกันจัดทำขึ้นและร่วมกันปลูก แบ่งหน้าที่ดูแล บำรุงรักษา และปลูกทดแทนจำนวนผู้เข้าร่วม 132 คน วิทยากร  2 คน กลุ่มเศรษกิจชุมชนจำนวน  30 ครัวเรือน มีการขยายไปปลูกผักทุกครัวเรือน

     

    0 0

    8. พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๑

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๑

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๑

     

    0 0

    9. จัดทำทีมเก็บข้อมูลรายรับ รายจ่าย

    วันที่ 12 ธันวาคม 2555 เวลา 08.30 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้เข้าร่วมประชุม  106  คน
    • จำนวนครัวเรือน  120  ครัวเรือน
    • จัดตั้งทีมงานร่วมกันลงเก็บข้อมูลรายรับรายจ่ายของครัวเรือน -ให้ความรู้เกี่ยวกับบัญชีรายรับรายจ่าย เพื่อให้ทีมงานเข้าใจและทราบถึงวิธีการเก็บข้อมูลเพื่อที่จะนำมาใช้เป็นตัววิเคราะต่อไป
    • มีวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการจัดเก็บข้อมูล 2 ท่าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  มีการจัดตั้งทีมงาน - ได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลรายรับรายจ่ายได้ทราบว่าเมื่อทำเเล้วมีประโยชน์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง - สามารถเป็นแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลรายรับรายจ่าย

     

    0 0

    10. ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    วันที่ 5 มกราคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการโครงการมีผู้มาประชุม  10 ท่าน
    • ประชุมร่วมกับโรงไฟฟ้าแจ้งถึงเรื่องที่จะปรับปรุงโรงงาน
    • แจ้งให้ที่ประชุมทราบถึงเรื่องที่จะมีการแข่งกิฬาภายในหมู่
    • ผู้เข้าประชุมทั้งหมด 32 ท่าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทราบการทำงานของโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้ดำเนินการอยู่
    • รับทราบถึงวิธีการและสิ่งที่เกิดขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงของโรงไฟฟ้า

     

    0 0

    11. ทีมสจรส.นิเทสติดตามโครงการครั้งที่๑

    วันที่ 14 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมสจรส.และพี่เลี้ยงโครงการพบปะผู้เรับผิดชอบโครงการร่วมกับภาคีเครือข่ายจังหวัดชุมพร ระนองและสุราษฏร์ธานี ที่จ.ชุมพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เพื่อติดตามการทำงานของแต่ละกิจกรรม
    • ติดตามการใช้จ่ายเงินของแต่ละกิจกรรม
    • เพื่อพบปะและแนะนำการเก็บเอกสาร
    • คณะกรรมการและสมาชิก 3คน

     

    0 0

    12. ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      เพื่อติดตามการทำงานที่ได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ เพื่อร่วมกันดูแลแปลงผักสาธิตร่วมกัน/ร่วมทั้งดูรายรับรายจ่ายของกลุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อติดตามการทำงานของคณะกรรมการถงหน้าที่รับผิดชอบ ของแต่ละคนเช่น การติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน การร่วมกันดูแลแปลงผักสาธิตร่วมกัน/ร่วมทั้งดูรายรับรายจ่ายของชมรมรักษ์สุขภาพบ้านนาหวาน จำนวนผู้เข้าร่วม 30 คน มีนายกองค์กรบริหารส่วนตำบล ผู้ใหญ่บ้าน  เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลท่าแซะและคุณสมใจ  ด้วงพิบูลย์เข้าร่วมประชุม

     

    0 0

    13. ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รับทราบการทำงานของคณะกรรมการและติดตามผลการทำงานของโครงการสมาชิกและคณะกรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุมพร้อมทั้งหมด 25 คน

     

    0 0

    14. พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๒

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๒

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่๒

     

    0 0

    15. ทีมสจสร.นิเทศติดตามโครงการ

    วันที่ 2 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมสังเคราะห์เชิงคุณค่าของการดำเนินงานและการพัฒนาต่อยอดโครงการ  ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการโครงการมาด้วยกัน 2 ท่าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้ เข้าใจ การรายงานผลงานและการทำบัญชีี่ถูกต้อง

     

    0 0

    16. ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 9.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ เพื่อจัดตั้งทีมงานเก็บข้อมูล รายรับรายจ่ายของครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทีมงาน เก็บข้อมูลรายรับรายจ่ายของครัวเรือน มีความเข้าใจ และทราบถึงหน้าที่และความรับผิดชอบ
    • การประชุมคณะกรรมการประจำเดือนคณะกรรมเข้าประชุมจำวน 8 คน

     

    50 8

    17. สรุปผลการวิเคราะห์นำเสนอที่ประชุมหมู่บ้าน

    วันที่ 20 มีนาคม 2556 เวลา 9.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมตัวแทนครัวเรือนนำร่อง จำนวน 50 ครัวเรือน แนะนำทีมงานเก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครัวเรือนนำร่อง จำนวน 50 ครัวเรือนได้รับทราบข้อมูลและมีเข้าใจก่อนเริ่มดำเนินการจัดทำบัญชีครัวเรือน

     

    205 42

    18. ประชุมคณะกรรมการประจำเดือน

    วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา 9.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการประจำเดือนจำนวน9 คน และมีผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมจำนวน 33คน ติดตามคาวมคืบหน้าและปรึกษาหารือ ก่อนทำบัญชีรายรับรายจ่ายครัวเรือนนำร่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุมได้รับทราบความคืบหน้าของโครงการ

     

    11 11

    19. นิเทศติมตามโครงการ

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการพบทีมงานสจรส.มอ.เพื่อรายงานผลการดำเนินและตรวจสอบการทำรายงานการเงินและกิจกรรมร่วมกับเพื่อนโครงการจังหวัดชุมพร -ระนอง-สุราษฎร์ธานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการทั้ง3 คนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำรายงานและการลงรายงานทางเว็บไซด์ที่ถูกต้อง

     

    0 0

    20. ประชุมติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2556 เวลา 9 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติมตามผลการดำเนินงาน มีคณะทำงาน 11 คน รวมทั้งมีประชาชนและผู้สนใจเข้าร่วมการประชุม จำนวน 30 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน30 คนได้รับทราบถึงความคืบหน้าของโครงการ

     

    11 11

    21. ประชุมติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 5 มิถุนายน 2556 เวลา 9.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุม ติดตามผล รวมถึงมีการจัดทำสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุม มีจำนวน 34 คน ได้ทราบความคืบหน้าและได้รับข้อมูลเพิ่มมากขึ้น

     

    50 34

    22. พี่เลี้ยงติดตามเยี่ยม

    วันที่ 30 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แนะนำให้โครงการรายงานการทำกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แนะนำให้โครงการรายงานการทำกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข ซึ่งทางโครงการยังขาดความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงแนะนำให้ทางโครงการจัดหาบุคคลอื่นที่มีความรู้เข้ามาช่วยจัดทำรายงานในเว้ปไซร์

     

    0 0

    23. จัดอบรมเสริมสร้างความรู้ฯและครัวเรือนรับสมุดบัญชีและเริ่มจัดทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมให้ความรู้โดย ทีมวิทยากรพัฒนาการอำเภอท่าแซะ และปราขญ์ชาวบ้านมีผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งหมด 71 คน นอกจากนี้มีเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลท่าแซะ และอบต.ทรัพย์อนันต์ จำนวน 5 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าอบรม สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการ จำนวน 71ครอบครัว สมาชิกมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถลงบันทึกบัญชีครัวเรือนตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เป็นต้นไปได้

     

    50 76

    24. พบพี่เลี้ยง

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้วิธีการ ส่งข้อมูล การจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้ ร่วมกับทีมงานโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 5 คน

     

    0 0

    25. พบทีม สจรส นิเทศติดตามโครงการครั้งที่2

    วันที่ 3 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบเอกสารการเงิน และเสนอแนะการจัดทำงานและเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะ สจรส.มอ. แนะนำการทำกิจกรรมในเว็ปไซร์ให้เป็นปัจจุบันและตรวจสอบความถูกของใบสำคัญการรับเงิน และเอกสารต่าง ๆ ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้ถูกต้องอย่างไร

     

    0 0

    26. ประชุมติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 5 สิงหาคม 2556 เวลา 9.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการทำบัญชีครัวเรือนมีรายรับ รายจ่ายเพิ่มขึ้นอย่างไรจำนวน 50 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครัวเรือน ได้ทราบข้อมูลรายรับ รายจ่ายของตนเอง ว่ามีรายรับ รายจ่ายเพิ่มขึ้นหรือลดลงหรือไม่

     

    50 50

    27. ติดตามเยี่ยมโครงการ

    วันที่ 17 สิงหาคม 2556 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ

     

    0 0

    28. จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 25 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 9.00 น. นางสมใจ ด้วงพิบูลย์ ได้พูดสรุปผลการดำเนินโครงการและการต่อยอดโครงการใหม่ที่กำลังจะดำเนินคือโครงการออมวันละ 1 บาทโดยมีนายก อบต.ทรัพย์อนันต์ ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้เข้าร่วมการประชุมได้ทราบลักษณะและแนวทางการดำเนินโครงการในลำดับต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีพี่เลี้ยงนางสมใจด้วงพิบูลย์ นายก อบต.ทรัพย์อนันต์ และผู้ที่สนใจ เข้าร่วมการประชุม 86 คน  ผู้เข้าร่วมการประชุมมีความเข้าใจตรงกันถึงผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมาและยังสนับสนุนในส่วนของการต่อยอดโครงการใหม่ที่จะเกิดขึ้น

     

    50 86

    29. จัดเวทีสรุปผลการดำเนินโครงการและปิดโครงการ

    วันที่ 5 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 9.00 น. ได้ทำการเปิดพิธีในวาระการสรุปผลการดำเนินโครงการ พร้อมทั้งมอบเกียรติบัตร และของรางวัล แก่บุคคลดีเด่นและบุคคลตัวอย่าง ร่วมถึงได้พูดคุยถึงโครงการที่จะดำเนินการในลำดับต่อไป โดยมี นายก อบต.ทรัพย์อนันต์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทรัพย์อนันต์ และพี่เลี้ยงโครงการ ได้เข้าร่วมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 90 คน ประชาชนผู้เข้าร่วมได้ทราบถึงผู้ที่ได้รับเกียรติให้เป็นบุคลดีเด่นและบุคคลตัวอย่าง รวมถึงการต่อยอดโครงการในลำดับต่อไป

     

    311 90

    30. ร่วมขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง(งานสร้างสุขภาคใต้)

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ในประเด็น เกษตร / อาหาร / เด็กและเยาวชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ในประเด็น เกษตร / อาหาร / เด็กและเยาวชน

     

    0 0

    31. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ ได้แก่ รายงานฉบับสมบูรณ์ ส.3 และรายงานสรุปปิดโครงการ ส.4 ตลอดจนเอกสารการเงิน และภาพถ่ายกิจกรรม

     

    11 11

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : 1.1 ชุมชนมีวิถีชิวิตตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 จำนวนเกษตรกรที่มีการปรับเปลี่ยนและลดการใช้สารเคมีโดยใช้ชีวภาพมากขึ้น 1.3 มีพื้นที่ต้นแบบในการใช้ปุ๋ยชีวภาพ 1.4 มีการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

    รหัสโครงการ 55-01903 รหัสสัญญา 55-00-0943 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การมีส่วนร่วมของชุมชนในการนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ด้วยการทำบัญชีครัวเรือน ปลูกผักกินเองเหลือแล้วขาย ทำผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนใช้เอง ออมเงินและนำวัสดุเหลือใช้ เช่น ทะลายปาล์ม/มูลไก่ นำมาผสมกับวัสดุอื่นๆในชุมชน มาทำปุ๋ยชีวภาพ

    แปลงทำปุ๋ยที่บ้านผู้ใหญ่หมู่ที่๒ ตำบลทรัพย์อนันต์ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

    ขยายผลจำนวนครัวเรือนมากขึ้นและส่งเสริมบุคคลรุ่นใหม่ เช่นเยาวชนและกลุ่มอื่นๆ ในชุมชนทรัพย์อนันต์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    บ้านต้นแบบการใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการปลูกพืชผักสวนครัว เช่น ผักหวาน /เหลียง/กุูด/พริก/ผักแว่น/ชะอม/มะแว้ง/ยอดฟักทอง เป็นต้น

    พื้นที่ในสวนยางและสวนผลไม้ในหมู่ที่2 จำนวน 20 ครัวเรือน

    นำพืชผักรวมกลุ่มกันแล้วนำไปขายที่ตลาดนัดและอนาคตจะนำไปขายในโรงพยาบาลท่าแซะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    เน้นให้ชุมชนบริโภคผักที่ปลูกไว้รับประทานเพื่อลดรายจ่ายและบริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

    พื้นที่เพาะปลูกและการบริโภคของสมาชิกในชุมชน

    ขยายแปลงเพาะปลูกพืชผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นเพื่อการบริโภคและขยายผลต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการจัดทำแปลงเพาะพันธ์ผักทำให้มีการใช้กำลังกายมากขึ้นพร้อมทั้งมีการรวมกลุ่มเพื่อตามแรงกัน

    สมาชิกที่เข้ารวมกลุ่มและการเก็บข้อมูลของอาสาสมัครสาธารณสุข

    ทีมงานจะเป็นต้นแบบของการออกกำลังกายกับประชาชนทั่วไปตามนโยบาย ๓อ.๒ส.ของหน่วยงานสาธารณสุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การรวมกลุ่มการปลูกผัก การรับประทาน/การแลกเปลี่ยน และรวมกันขายพืชผักในตลาดนัดชุมชนทำให้ได้พบปะผู้คน มีรายได้ส่วนหนึ่งรวมทั้งเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นการลดความเครียด

    การประเมินความเครียดของอสม.

    นำเสนอต่อทีมท้องถิ่นเพื่อประชาสัมพันธ์การเป็นแบบอย่างกับชุมชนอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    สมาชิกลุ่มได้มีการปลูกและรับประทานพืชสมุนไพรไทยตามคำแนะนำของวิทยากร ซึ่งสมุนไพรบางชนิดสามารถปลูกและนำส่งให้โรงพยาบาลท่าแซะเพื่อการผลิตต่อไป เช่น หญ้าดอกขาว ขมิ้นชัน เพชรสังฆาต และใบย่านาง เป็นต้น

    ทะเบียนสมุนไพรของชุมชน

    ขยายพื้นที่ในการปลูกและประชาสัมพันธ์ต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สมาชิกมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนทำให้ทราบถึงรายได้และรายจ่ายของตนว่าสมดุลเพียงใด ทำให้ครอบครัวที่ทราบว่าตนเองใช้จ่ายสิ่งที่ไม่จำเป็นมีมาก เช่น การเล่นหวย/การพนัน การสูบบุหรี่/ดื่มเหล้า เป็นต้น ทำให้บางส่วนสัญญาว่าจะลด-ละ-เลิก พฤติกรรมดังกล่าว

    ผลสรุปบัญชีครัวเรือน

    สมาชิกยินดีที่จะทำตนเองให้เป็นแบบอย่างที่ดีกับบุคคลรุ่นหลังหรือเยาวชน โดยจะขอไปศึกษาและเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ต้นแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยการลดการใช้สารเคมีและหันมาใช้สารอินทรีย์ รวมทั้งมีการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนในเรื่องขยะสามารถแยกขยะได้เพื่อนำขยะครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพเป็นปุ๋ย เป็นต้น

    ผลการสรุปรายรับ-จ่ายของครอบครัว

    พัฒนาชุมชนให้เป็นชุมชนต้นแบบภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    จัดทำแผงขายพืชผักสวนครัวและผลไม้ของตนพร้อมทั้งจัดทำบัญชีไว้ในกลุ่มแกนนำและพร้อมที่จะขยายสู่ครัวเรือนอื่น ๆ

    ผลสรุปของโครงการ

    จัดทำเครือข่ายการขายร่วมกับตลาดนัดหมู่บ้านและจะจัดแผงในโรงพยาบาลท่าแซะต่อไปเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปที่มารับบริการในโรงพยาบาล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    แกนนำชุมชนร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา วางแผนและร่วมกันแก้ไขปัญหา ประเมินผลและขอความช่วยเหลือพร้อมทั้งการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งผลถึงครอบครัวและชุมชน

    ผลสรุปโครงการและรายงานการประชุม

    นำผลการสรุปข้อมูลชุมชนที่วิเคราะห์แล้วมาวางแผนดำเนินการอย่างมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยการประสานกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการเชิญข้าราชการเกษียณเข้าร่วมเป็นแกนนำกลุ่ม และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิของชุมชน และประสานนายก.อบต.ในการเชื่อมงานในชุมชน

    แผนการพัฒนาชุมชน

    ผู้ทรงคุณวุฒิให้คำแนะนำในการจัดทำโครงการและพัฒนาชุมชนให้มีความต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    แกนนำมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนการดำเนินโครงการร่วมกัน

    โครงการฯต่อยอดที่พัฒนาขึ้นโดยแกนนำชุมชน

    แกนนำโครงการร่วมพัฒนาต่อยอดที่มีการเชื่อมกับชุมชนและท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ทีมผู้รับผิดชอบโครงการมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาท้องถิ่นให้มีความน่าอยู่ ร่วมกันวิเคราะห์ชุมชน และจัดทำแผนร่วมกันท้ังในส่วนที่แก้ไขด้วยตนเองในส่วนของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง การวางแผนแก้ไขปัญหาโครงสร้างร่วมกับท้องถิ่นปัญหาสุขภาพร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

    แผนพัฒนาชุมชน

    ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนามากขึ้นสังเกตจากการสอบถาม เสนอข้อคิดเห็นของตนและเสนอแนะให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ผู้รับผิดชอบโครงการมีความภาคภูมิใจในตนเองที่สามารถขอความร่วมมือกับชุมชนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งเป็นต้นแบบของชุมชนในการใช้เกษตรอินทรีย์

    บ้านของประธานโครงการ

    ยินดีที่จะดำเนินการต่อไปโดยให้ทีมงานช่วยในเรื่องของวิชาการตนเองทำได้ในส่วนของกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    สมาชิกประมาณร้อยละ๒๐ที่มีความคิดถึงส่วนรวมเป็นหลัก ส่วนอีกประมาณรอยละ๒๐ที่เข้าร่วมเป็นบางครั้ง ส่วนที่เหลือร้อยละ๑๐ที่เข้าร่วมได้เมื่อปรับเปลี่ยนเวลา(มีอาชีพ)ส่วนน้อยที่ไม่เข้าร่วมโครงการ

    รายงานการเข้าร่วมประชุม

    ชุมชนบางส่วนจะทำงานโรงงาน(มีโรงงานอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มและโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่)ซึ่งชุมชนต้องปรับตัวให้อยู่กันให้ได้อย่างสมดุล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ชุมชนมีหนี้สินพอสมควรส่วนใหญ่เป็นหนี้สินที่เกิดจากการเกษตร แต่สามารถหมุนเวียนได้

    จากบัญชีครัวเรือน

    ดำเนินการต่อในเรื่องชุมชนให้พอเพียงร้อยละ๑๐๐ต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการช่วยเหลือกันจะเห็นไ้ด้ จากบ้านผู้ใหญ่บ้านเป็นจุดศูนย์รวมของชุมชนที่มีครัวชุมชนทุกคนสามารกประกอบอาหารได้ด้วยตนเอง(มีส่วนร่วมด้วยการนำวัสดุมาร่วมกันปรุงได้ตามศักยภาพของตน)

    บ้านผู้ใหญ่หมู่ที่๒ต.ทรัพย์อนันต์

    เป็นต้นแบบของชุมชนเอื้ออาทร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    ทุกคนเคารพการตัดสินใจของคนส่วนมากหลังจากการร่วมวิเคราะห์

    ทุกคนมีส่วนร่วมการอภิปราย

    ร่วมสร้างให้ชุมชนเข็มแข็งที่แท้จริงได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 55-01903

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวงเดือน ศรีสุเทพ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด