แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน ”

1. บ้านนายอดทอง,บ้านทุ่งไพร,บ้านกลาง หมู่ที่ 5 ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุจินต์ ไข่ริน

ชื่อโครงการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน

ที่อยู่ 1. บ้านนายอดทอง,บ้านทุ่งไพร,บ้านกลาง หมู่ที่ 5 ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 55-01889 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0865

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 1. บ้านนายอดทอง,บ้านทุ่งไพร,บ้านกลาง หมู่ที่ 5 ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ 1. บ้านนายอดทอง,บ้านทุ่งไพร,บ้านกลาง หมู่ที่ 5 ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง รหัสโครงการ 55-01889 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 199,350.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้คนในพื้นที่มีความเข้าใจเรื่องสิทธิในการจัดการสุขภาวะชุมชน
  2. เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชนทั้ง 4 ด้าน
  3. เพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมทีมงานคณะกรรมการ แบ่งงานหน้าที่รับผิดชอบในการจัดกิจกรรมครั้งแรก

    วันที่ 23 ตุลาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการและทีมงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินงานตามกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการและทีมงานเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนด และมีการแบ่งหน้าที่กันตามความเหมาะสมของแต่ละคน ซึ่งจะทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างที่คาดหวังไว้

     

    0 0

    2. การประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการและผู้รับผิดชอบโครงการร่วสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ เข้าร่วมประชุมและอบรมเรื่องการเขียนรายละเอียดโครงการลงในเว็บไซต์ www.happynetwork.org

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับความเข้าใจในการดำเนินงานตามกิจกรรมและการรายงานผลผ่านทางเว็บไซต์ www.happynetwork.org

     

    0 0

    3. จัดเวทีให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิของชุมชนและระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิของชุมชนและระดมความคิดเห็นของคนในชุมชนเพื่อการจัดการสุขภาพระดับกลุ่มบ้าน ณ โรงเรียนบ้านแหลม หมู่ที่ 3 ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง โดยที่มีวิทยากร คือ 1.นายพิศิษฐ์ ชาญเสนาะ มูลนิธิหยาดฝน จ.ตรัง 2. นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์ เข้ามาให้ความรู้เรื่องสิทธิต่างๆที่พึงจะได้รับ และมีการนำเสนอปัญหาและแนวทางแก้ไข จากคนในชุมชนเอง โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 70 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้เรื่องสิทธิชุมชน และได้รับรู้ถึงสภาพปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน พร้อมทั้งช่วยกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป

     

    0 0

    4. จัดเวทีให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิของชุมชนและระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน

    วันที่ 2 ธันวาคม 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องความเข้าใจในเรื่องสิทธิของชุมชน ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ม.2 บ้านห้วยลึก ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง โดยมีวิทยากรเข้ามาร่วมให้ข้อมูล จำนวน 3 ท่าน คือ 1. นายพิศิษฐ์ ชาญเสนาะ ประธานมูลนิธิหยาดฝน จ.ตรัง 2.อาจารย์เสน่ห์ หมื่นโพธิ์ อดีตข้าราชครู 3. นายประสพ สมาธิ ทนายความ โดยใช้กระบวนการและเทคนิคการมีส่วนร่วมในการระดมความคิดเห็น มาเป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรม โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 108 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านส่วนใหญ่เริ่มมีความเข้าใจในเรื่องของสิทธิชุมชน และสิทธิต่างๆตามรัฐธรรมนูญ ที่พึงจะได้รับ

     

    0 0

    5. จัดเวทีให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิของชุมชนและระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน

    วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีให้ความรู้ ณ บ้านห้วยลึก ต.วังวน (ห้วยลึก-นายอดทอง)เรื่องกระบวนการส่งเสริมสิทธิของชุมชนทั้งในเรื่องสิทธิด้านการจัดการทรัพยากร สิทธิด้านการทำมาหากิน สิทธิตัวบุคคลและสิทธิที่พึงได้รับในเรื่องสุขภาพ โดยได้เชิญวิทยากร 3 ท่าน คือ 1.คุณพิศิษฐ์ ชาญเสนาะ ประธานมูลนิธิหยาดฝน จ.ตรัง 2.อาจารย์เสน่หื หมื่นโพธิ์ อดีตข้าราชการครู 3. คุณประสพ สมาธิ ทนายความ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเวทีให้ความรู้ ณ บ้านห้วยลึก ต.วังวน (ห้วยลึก-นายอดทอง)โดยวิทยากร ในเรื่องสิทธิต่างๆที่ชมชนควรจะได้รับ และบอกกล่าวถึงกรณีศึกษาต่างๆที่ทำให้ผู้เข้าร่วม เห็นถึงบทบาทของคน ชุมชน ที่จะได้รับสิทธิต่างๆตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และมีการระดมความคิดเห็นร่วมกันของคนในชุมชนในเรื่องสภาพปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชนในด้าน ทรัพยากร ความเป็นอยู่ สุขภาพ และอื่น โดยมีคนเข้าร่วมจำนวน 90 คนซึ่งเกินเป้าที่ได้ตั้งไว้ ถือได้ว่าประชาชนให้ความสนใจกับกิจกรรมนี้เป็นอย่างดี

     

    0 0

    6. ติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส. ติดตามโครงการครั่งที่ 1

    วันที่ 12 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยง สสส. ติดตามการดำเนินงานของชุมชน เสนอแนะแนวทางการจัดทำบัญชี และการรายงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงได้ติดตามผลการดำเนินการของโครงการ และร่วมกันเรียนรู้และแก้ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นของโครงการ

     

    0 0

    7. สำรวจและหาข้อมูลทางด้านสุขภาพทั้ง 4 ด้าน (กาย จิต สังคม ปัญญา)

    วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานลงพื้นที่สำรวจ เก็บข้อมูลด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มอาชีพทำดอกไม้จากกระดาษทางจาก ณ โรงเรียนบ้านแหลม ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง ในเรื่องของการจัดการทรัพยากรของชุมชน และการส่งเสริมการประกอบอาชีพเสริมในการประดิษฐ์ดอกไม้จากกระดาษทางจาก โดยมีผู้เข้าร่วม จำนวน 30 คน คือ 1.คณะทำงานสำรวจข้อมูลโครงการ 2. สมาชิกกลุ่มกระดาษทางจาก 3. เจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดตรัง 4.ครูโรงเรียนบ้านแหลม 5.กลุ่มเยาวชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ว่าการดำรงชีวิตของชาวบ้านในปัจจุบันจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีรายได้เสริม เพื่อมาจุนเจือครอบครัว หลังจากที่ว่างจากการประกอบอาชีพหลัก โดยการนำทรัพยากรที่เหลือใช้จากการประกอบอาชีพใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดปัญหาเรื่องขยะจากทรัพยากรในชุมชน และทำให้ชาวบ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

     

    0 0

    8. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัคร 15 คน ลงพื้นที่เพื่อสำรวจและเก็บข้อมูลจากทีม อสม. ณ บ้านนายอดทอง ม.5 ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง เพื่อหาข้อมูลด้านสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน และข้อมูลโรคภัยไข้เจ็บของคนในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วม 20 คน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารจาก รพ.สต.วังวน และจากการสัมภาษณ์ชาวบ้าน และเจ้าหน้าที่ อสม. ซึ่งได้ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ม.5 จาก อสม. ในประเด็นเรื่องโรคภัยไข้เจ็บของคนในชุมชน และประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    0 0

    9. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัคร ร่วมกันจัดเวทีโดยมีอาจารย์จากสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติลงมาให้ข้อมูล การทำข้อมูล CHIA และร่วมกันสำรวจและเก็บข้อมูลสุขภาพด้านทรัพยากร สุขภาพ และปัญญา โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลด้านสุขภาพ มีการลงพื้นที่กระชังหอย กระชังปลา ป่าชายเลนในพื้นที่ ม.3 และม.5 ต.วังวน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลสุขภาพด้านทรัพยากร สุขภาพ และปัญญา จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและมีการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลด้านสุขภาพ โดยมีทีมอาจารย์จาก สช. ร่วมกับทีมอาสาสมัคร ร่วมสำรวจข้อมูลดังกล่าว

     

    0 0

    10. การติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ. ติดตามโครงการครั้งที่ 2

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สจรส.ลงติดตามการดำเนินงานโครงการ ครั้งที่2 มีการสรุปรายงานกิจกรรม และรายงานการเงินของโครงการ เพื่อส่งให้ สจรส. ตรวจผลการดำเนินงานงวดที่ 1 ณ มูลนิธิหยาดฝน จ.ตรัง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการสรุปรายงานกิจกรรม และรายงานการเงินของโครงการ เพื่อส่งให้ สจรส. ตรวจผลการดำเนินงานงวดที่ 1

     

    0 0

    11. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 4 มีนาคม 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัคร 15 คนและชาวบ้าน ลงพื้นที่เพื่อสำรวจและเก็บข้อมูลจากทีม  เพื่อหาข้อมูลด้านทรัพยากรชายฝั่ง และประเด็นเรื่องสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน และข้อมูลโรคภัยไข้เจ็บของคนในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วม 30 คน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารจาก การสัมภาษณ์ปราชณ์ชาวบ้าน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องทรัพยากร และประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    12. ให้ความรู้ด้านสิทธิชุมชน

    วันที่ 18 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้ด้านสิทธิชุมชนเพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนจากกรณีที่มีนโยบายพัฒนาของรัฐที่กระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นของคนในชุมชนท้องถิ่น โดยมีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดตรัง เข้าร่วมเป็นและสนับสนุนกิจกรรม ซึ่งในกิจกรรมได้มีวิทยากรจากจังหวัดตรังมาร่วมให้ความรู้ในเรื่องของกระบวนการสิทธิชุมชนในประเด็นต่างๆ มีการฉายภาพเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณืของทรัพยากรในลุ่มน้ำปะเหลียน และทะเลตรัง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีให้ความรู้ด้านสิทธิชุมชน เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสิทธิชุมชนและสิทธิด้านสุขภาพของคนในชุมชน มีการแลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการจัดทำแผนสุขภาพและการเข้าใจถึงสิทธิชุมชนต่อไปในอนาคต

     

    100 100

    13. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 2 เมษายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    14. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 21 เมษายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    15. ติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 3

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้-ผู้รับผิดชอบ สร้างสุขภาวะภาคใต้ ที่โรงแรมวัฒนาพาร์ค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมแลกเปลี่ยนกับโครงการอื่นๆ และได้ประเมินจุดอ่อน จุดแข็งของโครงการที่ทำ

     

    4 4

    16. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 29 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครู กศน.อ.ยานตาขาวมาอบรม ให้ความรู้ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน รวมถึงชาวบ้านและทีมงานกรรมการโครงการ15 คน เรื่องการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามถามเกี่ยวกับสุขภาพของคนในชุมชนบ้านนายอดทอง-ทุ่งไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครทั้ง 15 คน ชาวบ้านและทีมงานคณะกรรมการ 15 คน ได้ความรู้และแนวทางในการเก็บข้อมูลแบบสอบถามในด้านสุขภาพของคนในชุมชน

     

    15 0

    17. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 3 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    18. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    19. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 23 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    20. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้า

    วันที่ 27 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    21. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 29 มิถุนายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    22. สำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 2 กรกฎาคม 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    23. สำรวจและเก็บข้อมูลทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเองรวบรวมมานำเสนอเพื่อปรับปรุงและสรุปเป็นรายงานสรุปข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    24. สำรวจและเก็บข้อมูลทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    25. สำรวจและเก็บข้อมูลทั้ง 4 ด้าน

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชนทั้ง 15 คน ลงสำรวจและเก็บข้อมูลชุมชนด้านสุขภาพ ซึ่งมีการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลทั้งจากการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และจากประชาชนในบ้านนายอดทองเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชน ในประเด็นเรื่องสาธารณสุข ของคนในชุมชน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นแผนสุขภาพของชุมชน

     

    15 0

    26. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพชุมชน

    วันที่ 16 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานอาสาสมัครชุมชน จำนวน 15 คน และร่วมกับทางประชาชนในชุมชน 15 คน รวมเป็น 30 คน ร่วมกันประชุมสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพชุมชนที่ได้รวบรวมมานำเสนอเพื่อปรับปรุงและสรุปเป็นรายงานสรุปข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชนจากการที่อาสาสมัครจัดเก็บข้อมูล และประชาชนที่เข้าร่วมเวทีสรุปข้อมูล ได้ร่วมกันสรุปข้อมูลด้านสุขภาพทั้งหมดออกมาเป็นรายงาน เพื่อจะได้นำไปสู่การยกร่างแผนสุขภาพชุมชน

     

    30 30

    27. เวทียกร่างแผนสุขภาพชุมชน

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาจารย์จาก ม.หาดใหญ่,มูลนิธิหยาดฝน,บัณฑิตอาสา มอ.,แกนนำจาก 3 พื้นที่,นักเรียนโรงเรียนวัดวารีวงและประชาชนในพื้นที่ จำนวน 56 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมาก และมีการเสนอแผนสุขภาพทั้ง 4 ด้าน มีการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพทั้ง 4 ด้าน  ทำให้ได้แผนและแนวทางการแก้ไข เพื่อนำไปสู่กระบวนการทำแผนสุขภาพชุมชน

     

    15 56

    28. ติดตามโครงการครั้งที่ 4 และสังเคาระห์ความรู้

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่ สจรส. ตรวจสอบบัญชีการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้คำแนะนำ การรายงานการจ่ายเงินอย่างถูกต้องตามหลักการของ สจรส.มอ.

     

    0 0

    29. กิจกรรม พี่เลี้ยงติดตามโครงการ

    วันที่ 19 กันยายน 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงตรวจสอบความเรียบร้อยและให้ข้อเสนอแนะในการทำโครงการปิด มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 3 โครงการ จำนวน7 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลนาตาล่วง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงตรวจความเรียบร้อยของโครงการที่รายงานผ่านเว็บไซต์ www.happynetwork.org

     

    0 3

    30. ประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อจัดเวทีประชาคมรับรองแผนสุขภาพของชุมชน

    วันที่ 20 กันยายน 2556 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานจำนวน 21 คน ร่วมกันปรึกษาหารือและแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในวันทำกิจกรรมเวทีประชาคม ณ ศุนย์การเรียนรู้เกษตรตำบลวังวน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมงานแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการทำงานในวันทำกิจกรรมเวทีประชาคมเพื่อรับรองแผนสุขภาพชุมชน

     

    0 21

    31. เวทีสาธารณะเพื่อนำเสนอแผนสุขภาวะชุมชน

    วันที่ 22 กันยายน 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีสาธารณะเพื่อนำเสนอแผนสุขภาวะชุมชนให้กับประชาชนในตำบลทราบเพื่อที่จะมีการปรับปรุงแก้ไข โดยมี นักวิชาการร่วมกันวิเคราะห์และเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงแผน เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของชุมชน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังวน ซึ่งมีผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ข้อมูลดังนี้
    1.คุณชัยพร จันทร์หอม 2.นายชวน สองแก้ว 3.นายปราโมทย์ แก่นอินทร์
    และทีมงานอีกหลายท่าน โดยกิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 198 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในกิจกรรมมีผู้ทรงคุณวุฒินักวิชาการ ผู้นำ ชาวบ้าน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันวิเคราะห์และเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงและพัฒนาแผนสุขภาพแผน เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของชุมชน และเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการของคนในชุมชน และเพื่อให้ในอนาคต ชุมชนได้มีแผนการพัฒนาด้านสุขภาวะที่เป็นของชุมชนเอง และเป็นแผนที่เกิดขึ้นจากความต้องการของชุมชนโดยแท้จริง

     

    100 198

    32. เวทีประชาคมเพื่อรับรองแผนสุขภาพชุมชน

    วันที่ 22 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดเวทีสาธารณะเพื่อนำเสนอแผนสุขภาวะชุมชนให้กับประชาชนในตำบลทราบเพื่อที่จะมีการปรับปรุงแก้ไข โดยมี นักวิชาการร่วมกันวิเคราะห์และเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงแผน เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของชุมชน แลพมีการยกมือเพื่อรับรองแผนในการนำไปปฏิบัติใช้ต่อไป ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังวน ซึ่งมีผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ข้อมูลดังนี้ 1.คุณชัยพร จันทร์หอม 2.นายชวน สองแก้ว 3.นายปราโมทย์ แก่นอินทร์ และทีมงานอีกหลายท่าน โดยกิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 198 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -กิจกรรมมีผู้ทรงคุณวุฒินักวิชาการ ผู้นำ ชาวบ้าน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันวิเคราะห์และเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงและพัฒนาแผนสุขภาพแผน เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของชุมชน และเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับความต้องการของคนในชุมชน และเพื่อให้ในอนาคต ชุมชนได้มีแผนการพัฒนาด้านสุขภาวะที่เป็นของชุมชนเองโดยที่ชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ทั้งหมดยกมือเห็นด้วยและรับรองแผนสุขภาพของชุมชนฉบับดังกล่าว เพื่อนำมาปฏิบัติใช้กับชุมชนต่อไป

     

    200 198

    33. ร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมรับฟังการเสวนาเรื่อง คุณค่าของการจัดการชุมชนท้องถิ่ที่น่าอยู่ในบริบทวิถีคนใต้ประสบการณ์การขยับงานในพื้นที่จริง และเข้าร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ละเสวนาการขยับปฏิบัติการระดับพื้นที่เพื่อไปสู่การแสวงหาพื้นที่ การนโยบาย
    โดยมีคณะทำงานโครงการเข้าร่วมจำนวน 3 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมรับฟังการเสวนาเรื่อง คุณค่าของการจัดการชุมชนท้องถิ่ที่น่าอยู่ในบริบทวิถีคนใต้ประสบการณ์การขยับงานในพื้นที่จริง และเข้าร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ละเสวนาการขยับปฏิบัติการระดับพื้นที่เพื่อไปสู่การแสวงหาพื้นที่ การนโยบาย 

     

    0 0

    34. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในวันที่ 30 กันยายน 2556 มีการถอนเงินเปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปปิดการเงิน

     

    0 0

    35. ทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่ สจรส.ให้คำแนะนำและตรวจสอบการทำรายงานสรุปปิดโครงการในเดือนกันยายน ณ โรงแรมวัฒนาพาร์ค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่ สจรส.ตรวจสอบความเรียบร้อยของการทำรายงานปิดโครงการ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้คนในพื้นที่มีความเข้าใจเรื่องสิทธิในการจัดการสุขภาวะชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. คนชุมชนเกิดความรู้เรื่องสิทธิของชุมชนในการจัดการสุขภาวพอย่างน้อย 80 % 2. ได้ข้อคิดเห็นของกลุ่มบ้านในการจัดการสุขภาวะชุมชน จำนวน 3 ชุด 3. ชุมชนมีความรู้และมีแนวทางในการดำเนินการของชุมชนในการปกป้องสิทธิชุมชนอย่างน้อย 80%

     

    2 เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชนทั้ง 4 ด้าน
    ตัวชี้วัด : 1. ได้ข้อมูลพื้นที่ด้านสุขภาพทั้ง 4 ด้านของชุมชน

     

    3 เพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. ได้แผนสุขภาพชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้คนในพื้นที่มีความเข้าใจเรื่องสิทธิในการจัดการสุขภาวะชุมชน (2) เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของชุมชนทั้ง 4 ด้าน (3) เพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน

    รหัสโครงการ 55-01889 รหัสสัญญา 55-00-0865 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
    • การพัฒนาแบบสำรวจชุมชน สุขภาพ 4 มิติ เพื่อค้นหาข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะของชุมชน
    • แบบสอบถามความรู้ในเรื่องสิทธิชุมชน เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจต่อเรื่องสิทธิชุมชน
    • แบบฟอร์มสำรวจชุมชน
    • แบบสอบถามความรู้ในเรื่องสิทธิชุมชน
    • การพัฒนาแบบฟอร์มอื่นๆ เพื่อการจัดเก็บข้อมูล และการตรวจสอบผลการดำเนินโครงการอื่นๆในพื้นที่
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่
    • “การทำแผนสุขภาพชุมชน”  จากเดิมเป็นเพียงผู้ให้ข้อมูลแก่หน่วยงาน สู่การทำแผนโดยชุมชน ตั้งแต่การจัดทีมในการทำแผน การทำความเข้าใจในการทำแผน การจัดทีมเก็บข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ โดยขอข้อมูลจากสำนักงานบริหารจัดการป่าชายเลนที่ 30  ด้านเศรษฐกิจ จากสำนักงานเกษตรอำเภอกันตัง อบต.วังวน สำนักงานประมงอำเภอกันตัง ด้านสังคม ขอข้อมูลด้านศึกษา จาก กศน.อำเภอ ด้านวัฒนธรรมประเพณี  ด้านสุขภาพ ขอข้อมูลจาก รพ.สต.วังวน การยกร่างแผนสุขภาพ 4 มิติ
      การจัดเวทีสาธารณะนำเสนอร่างแผน และการประชาคมเวทีรับรองแผนสุขภาพ 4 มิติ
    • แผนสุขภาพ 4 มิติ บ้านนายอดทอง
    • การดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการในแผนสุขภาพ  4 มิติ ทั้งกิจกรรมที่สามารถดำเนินการได้ด้วยศักยภาพของพื้นที่และการประสานงานกับหน่วยงานพัฒนาทั้งในและนอกพื้นที่
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    -

    -

    -

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
    • เดิมแกนนำชุมชนมีความเครียดเนื่องจากมีความเห็นแตกต่างต่อเรื่องการจะสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่ บ้างโดนขมขู่คุกคามว่าไม่มีสิทธิในการไม่เห็นด้วยต่อโครงการ ต่อมาภายหลังมีการทำความเข้าใจเรื่องสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญ ทำให้แกนนำและชาวบ้านคลายความเครียด สบายใจมากขึ้นว่าสิ่งที่พวกเขาแสดงออกเป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ
    • สัมภาษณ์แกนนำชุมชน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

    -

    -

    -

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
    • การจัดทำพัฒนาแผนสุขภาพ 4 มิติของชุมชนบ้านนายอดทอง ด้วยกระบวนค้นหาข้อมูลศักยภาพของชุมชนทั้งทางด้านมิติฐานทรัพยากร ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย ข้อมูลทางสังคม การร่วมวิเคราะห์ข้อมูลและการนำข้อมูลมาออกแบบกิจกรรมโครงการตามยุทธศาสตร์แต่ละด้านทั้งทางด้านกาย ด้านจิต ด้านสังคม และด้านปัญญา
    • แผนสุขภาพ 4 มิติของชุมชนบ้านนายอดทอง
    • การนำแผนสุขภาพ 4 มิติของชุมชนนำไปสูการปฏิบัติทั้งการดำเนินการเองโดยชุมชน และการประสานหน่วยงานทั้งในและนอกชุมชน

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    • การประสานตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนบ้านนายอดทองในการมาเรียนรู้สิทธิชุมชน
    • การเชื่อมประสานตัวแทนกลุ่มอื่นๆนอกชุมชนเช่น พื้นที่ ม.1บ้านท่าเรือ  ม.2 บ้านห้วยลึก ม.3  บ้านแหลมมาเรียนรู้ เรื่องสิทธิชุมชนตัวแทนกลุ่มองค์กร
    • ใบลงทะเบียนกิจกรรมเวทีเรียนรู้สิทธิชุมชน
    • เลือกกิจกรรมตามแผนสุขภาพชุมชน 4 มิติ บางกิจกรรมที่สามารถทำร่วมกันทุกกลุ่มองค์กรในชุมชนมาทำร่วมกัน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • จากเป็นผู้ร่วมกิจกรรมโครงการ มาเป็นผู้รับผิดชอบโครงการเกิดทักษะในการจัดการโครงการ การแบ่งบทบาทหน้าที่  การเตรียมเวที การเงิน การสรุปงาน
    • รายงานสรุปโครงการ รายงานทาง www.happynetwork.org
    • การนำทักษะการบริหารจัดการไปปรับใช้การทำโครงการอื่นๆ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

    -

    -

    -

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • ได้ทำให้ประชาชนได้รู้สิทธิชุมชน ท่ามกลางการข่มขู่คุกคาม
    • สัมภาษณ์แกนนำ และชาวบ้าน

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    -

    -

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
    • ที่ผ่านมาชุมชนส่วนใหญ่มีความขัดแย้ง มีฝั่งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ใช้อารมณ์ความรู้สึกในการพูดคุยจากการมีข่าวจะมีการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่ ต่อมาเมื่อชุมชนมีการเรียนรู้เรื่องสิทธิชุมชน และการใช้การเก็บข้อมูลศักยภาพพื้นที่ ทำให้แกนนำชุมชนมีความมั่นใจในการเลือกวิถีการพัฒนาที่สอดคล้องกับฐานทรัพยากรในพื้นที่
    • แกนนำสามารถพูดถึงเรื่องสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญ และสามารถพูดถึงศักยภาพ ฐานทรัพยากรในพื้นที่
    • ขับเคลื่อน ผลักดันแผนสุขภาพ 4 มิติร่วมกัน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

    -

    -

    -

    ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิชุมชน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 55-01889

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุจินต์ ไข่ริน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด