directions_run

โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน ”

พื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางณัฏฐภรณ์ แจ่มจำรัส

ชื่อโครงการ โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน

ที่อยู่ พื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 55-01841 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0934

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2012 ถึง 31 ตุลาคม 2013


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 55-01841 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  2. เพื่อให้ประชาชนบ้านปากบ่อมีการบริหารจัดการเรื่องพืชผักปลอดสารพิษที่มีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศการดำเนินโครงการ

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2012 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานของโครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งอย่างยั่งยืนได้เข้าร่วมทำความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ จำนวน 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจในการดำเนินโครงการ และกิจกรรมในการทำงาน 

     

    0 0

    2. ประชุมชี้แจงโครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพฯ

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2012 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงโครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งและยั่งยืน/จัดทำแผนการปฏิบัติงานโครงการ - ให้ความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเคมีและการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ การทำน้ำหมักชีวภาพ และการพฤติกรรมตนเองในชีวิตประจำวันที่ถูกต้อง - รับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการโดยพี่เลี่ยงจากสสส.เจ้าหน้าที่รพ.สต.ทะเทรัพย์และคณะทำงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 165 คนได้มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเคมีและการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ การทำน้ำหมักชีวภาพ และมีพฤติกรรมในชีวิตประจำวันที่ถูกต้อง(จำนวนผู้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากแผนที่ตั้งไว้ จาก 150 เป็น 165 คน)โดยวิทยากรจากกศน.ปะทิวและผอ.รพสต.ทะเลทรัพย์

     

    0 0

    3. สำรวจข้อมูลผักพื้นบ้าน

    วันที่ 24 พฤศจิกายน 2012 เวลา 09:00-15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมคณะทำงานโครงการจำนวน 5 คน ได้ลงสำรวจครัวเรือนที่ปลูกผักพื้นบ้านและผักปลอดสารพิษ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทราบข้อมูลครัวเรือนที่มีการปลูกผักพื้นบ้านจำนวน 50 ครัวเรือน และผักปลอดสารพิษ จำนวน 20 ครัวเรือน

     

    0 0

    4. รณรงค์การบริโภคผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 5 ธันวาคม 2012 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเดินรนณงค์ร่วมกับกลุ่มอื่นๆเนื่องในวันพ่อแห่งชาติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีส่วนร่วมของประชาชน215คน

     

    0 0

    5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการทำปุ่ยอินทรีย์

    วันที่ 22 ธันวาคม 2012 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาดูงานโครงการส่วนพระองค์หนองใหญ่อ.เมืองจ.ชุมพรมีผู้เข้าร่วมจำนวน55คนมีวิทยากรจำนวน5คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้มีความรู้แต่ไม่เป็นตามเป้าหมายเพราะบางคนติดงานด่วน              ผู้เข้าร่วมจำนวน55คน จำนวน1วัน

     

    0 0

    6. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพจากผลไม้และผัก

    วันที่ 10 มกราคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำระเบียบ/ข้อบังคับและทะเบียนสมาชิกจำนวน 5๐คน 2.อบรมการปลูกผักปลอดสารพิษ การทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาเอนกประสงค์ จำนวน 6๐ คนโดยทีมวิทยากรจากเกษตรกรรมสวี 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุมและสมัครเป็นสมาชิกปลูกผักปลอดสารพิษทั้งหมด 60 คน

     

    0 0

    7. ทีมสจรส.เยี่ยมโครงการครั้งที่๑

    วันที่ 14 มกราคม 2013 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมสจรส.นิเทศติดตามโครงการร่วมกับภาคีเครือข่ายจังหวัดชุมพร ระนอง และสุราษกร์ธานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เพื่อติดตามการทำงานของแต่ละกิจกรรม -ติดตามการใช้เงินและเอกสารต่างๆ -คณะทำงาน 3คน

     

    0 0

    8. จัดประชุมคณะกรรมการและจัดตั้งกลุ่มเกษตรอินทรีย์

    วันที่ 7 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการและผู้เข้าร่วมประชุม พร้อมทั้งทำการจัดตั้งกลุ่มเกษตรอนทรีย์ ซึ่งได้จัดทำร่างระเบียบกลุ่มฯเพื่อให้การดำเนินการของกลุ่มโดยกำหนดว่า สมาชิกกลุ่มต้องใช้สารอินทรีย์ในการเพาะปลูกในแปลงผักสวนครัว ไม่ใช้สารเคมี ปลูกอย่างต่อเนื่อง แบ่งปันให้ผู้อื่นและเหลือขาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการและกรรมการอื่นๆจำนวน32คน และมีการกำหนดว่าจะนำระเบียบที่กำหนดไปปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในกลุ่มสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ

     

    0 0

    9. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการพูดคุยถึงปัญหาและการแก้ไขปัญหาการปลูกพืชผัก เช่น ขาดน้ำเนื่องจากบ่อน้ำตื้นเขิน/น้ำประปาไม่ไหล ปัญหาแมลงศัตรูพืช เป็นต้น มีผู้เข้าร่วมจำนวน37คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้จัดทำแนวทางการแก้ไขปัญหา ด้วยการแจ้งให้เทสบาลตำบลทะเลทรัพย์ทราบถึงข้อขัดข้องของน้ำประปา พร้อมทั้งปรึกษาปราชญ์ชาวบ้านในเรื่องการใช้พืชสมุนไพรในการปราบศัตรูพืชที่เกิดขึ้น ซึ่งได้รับความร่วมืออย่างดีจากสมาชิกโครงการ

     

    0 0

    10. ประชุมติดตามประเมินผลฯ

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมคิด ร่วมทำ และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงานในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 11 คนมาร่วมกันวิเคราะห์สรุปผลงานตามแผนงานที่กำหนดและสรุปผลสำเร็จของงาน ปัญหา อุปสรรค หาแนวทางแก้ไข

     

    0 0

    11. พบพี่เลี่ยงสจรส.

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการพบทีมพี่เลี้ยงจากสจรส.มอ.เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยกันระหว่างโครงการในสามจังหวัดภาคใต้ตอนบน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับรู้ถึงข้อมูลของแต่ละโครงการเพิ่มเติมสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางให้กับโครงการของตนเองได้ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมจากสามจังหวัดได้แก่ ชุมพร-ระนอง-สุราษฎร์ธานีทำให้มีความรู้และความเข้าใจในกิจกรรมชุมชนยั่งยืนอย่างหลากหลายกิจกรรม

     

    0 0

    12. พบพี่เลี้ยงสจรส

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่อนเรียนโครงการสรุปโครงการเพื่อต่อยอด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานเข้าร่วมรับฟังการนำเสนอโครงการและแนวคิดในการต่อยอดโครงการจากท่านวิทยากร(อ.พงษ์เทพ)อย่างเข้มข้นและเต็มความสามารถของผู้ฟังที่ท้อแท้

     

    0 0

    13. ประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 10 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการเพื่อติดตามงานและจัดวางแผนการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับแผนงานและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 19คน

     

    0 0

    14. สำรวจแปลงผัก

    วันที่ 30 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการตรวจพื้นที่พบว่ามีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษและใช้นำหมักชีวภาพที่ชุมชนจัำดทำขึ้นในแต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในชุมชนปลูกพืชผักปลอดสารพิษแต่ละครัวเรือนจำนวนกว่า20ครัวเรือนใช้ในการบริโภคส่วนใหญ่และนำไปจำหน่ายบ้างบางส่วน

     

    150 20

    15. สำรวจแปลงผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการลงสำรวจแปลงพืชผักของสมาชิกร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้ลงตรวจสภาพการปลูกพืชผักปลอดสารพิษพร้อมทั้งให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดว่าได้ดำเนินการในส่วนของปลูกพืชผักและใช้นำหมักชีวภาพจริงจำนวน 7 ครัวเรือน

     

    0 0

    16. สำรวจแปลงผักปลอดสารพิษสมาชิก

    วันที่ 2 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจพืชผักที่เข้าร่วมโครงการผักปลอดสารพิษและใช้น้ำหมักชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้ทำการให้คะแนนครัวเรือนสมาชิกโครงการอย่างต่อเนื่องสมาชิกได้ปลูกพืชผักไว้บริโภคและจำหน่ายจริงเป็นวันสุดท้าย พร้อมทั้งมีการจัดรวบรวมคะแนนอย่างเป็นธรรม

     

    0 0

    17. จัดซื้อถุงใส่ผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำถุงใส่ผักปลอดสารพิษโดยมีเครื่องหมายของสสส.เพื่อการประชาสัมพันธ์โครงการและให้สมาชิกนำมาใส่ผักปลอดสารพิษเพื่อจำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกได้นำถุงใส่พืชผักให้กับลูกค้าที่ตลาดนัดชุมชนทุกวันพุธ อย่างต่อเนื่องและมีการเบิกถุงปลอดสารพิษมาใช้เป็นงวดๆ

     

    150 150

    18. ประชุมติดตามประเมินผลฯ

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการพูดคุยกันถึงปัญหาและการแก้ปัญหาต่างในการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะกรรมการมาไม่ครบตามเป้าหมายที่มาประชุมจำนวน11คน

     

    17 11

    19. พบพี่เลี่ยงสสส.ลงบันทึกกิจกรรม

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงบันทึกกิจกรรมและพูดคุยถึงกิจกรรมที่ผ่านมาและกำลังดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงบันทึกกิจกรรมและพูดคุยถึงกิจกรรมที่ผ่านมาและกำลังดำเนินงานต่อไป

     

    0 0

    20. ทีมสจรส.มอ.นิเทศติดตามโครงการ

    วันที่ 2 สิงหาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พีเลี้ยงตรวจสอบเอกสารแนะนำข้อผิดพลาดให้ทำการแก้ไขให้ถูกต้องและนำเสนอในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เอกสารไม่ครบ และ ลงรายละเอียดในบันทึกไม่ชัดเจน

     

    0 0

    21. จัดประชุมคณะกรรมการแกนนำสมาชิกผู้บริโภคและกลุ่มเครือข่าย ผู้ปลูกและผู้จำหน่าย

    วันที่ 7 สิงหาคม 2013 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการมาประชุมทั้งหมด37คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการมาประชุมไม่ตรงเป้าหมาย

     

    50 37

    22. ประชุมติดตามประเมินผลสรุปผลงานตามแผนงาน

    วันที่ 10 สิงหาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการมาประชุมทั้งหมด14คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการมาประชุมไม่ครบตามเป้าหมาย

     

    17 14

    23. จัดเวทีสรุปโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและประกวดครอบครัวสุขภาพดี

    วันที่ 17 สิงหาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปงานและจัดมอบรางวัลผู้ที่เข้าร่วมโครงการปลูกพืชผักปลอดสารพิษที่ได้รับรางวัลผู้ที่เข้าร่วมเจ้าหน้าที่รพสต/เทศบาลและประชาชนทั่วไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนเข้าร่วมเกินคาดตามเป้าหมายจำนวน 430คน และมีผู้ได้รับรางวัลและเกียรติบัตรทั้งหมดจำนวน 42คน และมีการเสนอข้อมูลต่อผู้ใหญ่บ้านและสามชกเทศบาลเพื่อนำเรียนนายกเทศมนตรีและคณะเพื่อเป็นผลงานชุมชนต่อไป

     

    200 430

    24. จัดประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 10 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปผลการดำเนินทั้งหมดของโครงการ ตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดประเมินผลโครงการ โดยมีคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมาร่วมประประชุมทั้งหมด17คนและผู้ทรงคุณวุฒิ 3คนมีการสรุปการดำเนินงานทั้งหมดเทียบกับเป้าหมายโครงการที่กำหนดไว้

     

    17 20

    25. พบพี่เลี้ยงสจรส.

    วันที่ 20 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ส่งรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ส่งรายงาน

     

    5 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
    ตัวชี้วัด : 1.1 มีความรู้เรื่องและบริโภคผักปลอดสารพิษ 1.2 มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี

     

    2 เพื่อให้ประชาชนบ้านปากบ่อมีการบริหารจัดการเรื่องพืชผักปลอดสารพิษที่มีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 2.1 มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. 2 มีการบริหารจัดการเป็นระบบที่เหมาะสม 2.3 มีเครือข่ายพืชผักปลอดสารพิษ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) เพื่อให้ประชาชนบ้านปากบ่อมีการบริหารจัดการเรื่องพืชผักปลอดสารพิษที่มีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน

    รหัสโครงการ 55-01841 รหัสสัญญา 55-00-0934 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ประชาชนรักตนเองกันมากขึ้น มีการตรวจสุขภาพ เจาะเลือดดูสารพิษในร่างกาย ตลอดจนกระทำให้ร่างกายสะอาดอยู่เสมอ การตรวจร่างกายประจำปีของประชาชนและกลุ่มเสี่ยง

    แหล่งในชุมชน/ชาวบ้าน

    รณรงค์การตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษจากแปลงผักของตนเองและเพื่อนบ้านกันมากขึ้น

    ทะเบียน/แหล่งชุมชน

    รณรงค์การบริโภคอาหารปลอดภัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    มีแกนนำ ลด ละ เลิก สูบบุหรี่โดยมีผู้ใหญ่บ้านพระสงฆ์เป็นต้นแบบ

    ผู้ใหญ่/พระสงฆ์

    รณรงค์ให้ชาวบ้านลด ละ เลิกในการสูบบุหรี่ต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการใช้สารเคมีลดลงและหันมาใช้ปุ๋ยชีวภาพกันมากขึ้น มีการปลูกพืชผัดปลอดสารพิษโดยใช้สมุนไพรในการกำจัดศัตรูพืช ทำให้สุขภาพกายดีขึ้นและสิ่งแวดล้อมดีขึ้น

    ข้อมูลของรพสต.การสอบถามในแหล่งชุมชนหมู่บ้าน

    รณรงค์ต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ทำให้ประชาชนมีอาชีพเสริมและสร้างรายได้เพิ่มขึ้น

    ข้อมูลชุมชน

    รณรงค์ต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    การมีบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ได้ ทั้งผู้ใหญ่บ้านและพระภิกษุจำนวน ๕ รูป ทำให้ประชาชนเจริญรอยตามเมื่อบุคคลต้นแบบมีสุขภาพดี/ค่าใช่้จ่ายครัวเรือนลดลง เป้นต้น

    ข้อมูลหมู่บ้านและรพ.สต.ทะเลทรัพย์

    รณรงค์และพัฒนาต่อเนื่องสู่ชุมชนพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการณรงค์ให้ปลูกพืชผักปลอดสารพิษอย่างต่อเนื่องและรณรงค์ให้หมู่บ้านอื่นด้วยในเขตเทศบาลเป็นต้น

    แหล่งชุมชนในหมู่บ้าน

    มีการรณรงค์ต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการอยู่อย่างพอเพียงได้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคพืชผักสวนครัว ได้ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในชุมชน และนอกชุมชน

    ชุมชนในหมู่บ้าน

    มีการรณรงค์ต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีการวางแผนในการดำเนินงานส่วนใหญ่จะมาจากการลงมติในที่ประชุม

    ข้อมูลหมู่บ้าน

    มีการประชุมประจำเดือนและรณรงค์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ผู้รับผิดชอบโครงการรู้สึกว่าตัวเองก็มีความสามารถในการรวมกลุ่มหมู่คนมากเข้ามามีส่วนร่วมในชุมชน และกลุ่มต้นแบบมีความภาคภูมิใจในตนเองและมีใจเอื้ออาทรต่อเพื่อนบ้าน

    ชาวบ้านในชุมชน

    ผู้นำรณรงค์ให้ชาวบ้านตื่นตัวในการเข้าร่วมสังคม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    กิจกรรมชุมชนส่วนใหญ่ใช้การโหวดเพื่อที่จะดำเนินการต่อไปหรือยุติกิจกรรม เป็นต้น

    บันทึกกิจกรรมของหมู่บ้าน

    ให้ชาวบ้านรักและสามัคคีกันตลอดไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    มีการเอื้อเฟื้อเผื่อซึ่งกันและกันใช้ชีวิตเรียบง่ายและพอเพียง ด้วยการแบ่งปันพืชผักปลอดสารพิษที่ตนเองมีแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้าน การช่วยเหลือในกิจกรรมสาธารณะ โดยไม่ต้องใช้เงิน

    ภาพถ่ายและบันทึกกิจกรรมของหมู่บ้าน

    รณรงค์ให้ชาวบ้านมีความเอื้อเฟื้อกันอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป้นอย่างดีตามกำลังความสามารถแต่ยังไม่ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

    ประชาชนในชุมชน

    ดำรงไว้ซึ่งความช่วยเหลือกันและกันต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    มีการวิเคราะห์ตนเองหลังจากการได้รับความรู้เรื่องสุขภาวะทุกด้าน มีความเข้าใจมากขึ้น มีการทำตนให้เป็นแบบอย่าง(ผู้ใหญ่และแกนนำ)เมื่อคิดแล้วว่าทำแล้วตนเองได้ประโยชน์และได้สุขภาพดีกลับคืนมา เป็นต้น

    ประชาชนในชุมชน

    ขยายความเป็นคนมีสุขภาวะต่อไปให้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการบ้านปากบ่อชุมชนต้นแบบสร้างสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 55-01841

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางณัฏฐภรณ์ แจ่มจำรัส )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด