directions_run

โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน ”

หมู่ที่ 6 บ้านควนดิน ตำบลทุ่งตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางสายใจ ปราบภัย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน

ที่อยู่ หมู่ที่ 6 บ้านควนดิน ตำบลทุ่งตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 55-01840 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0914

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านควนดิน ตำบลทุ่งตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านควนดิน ตำบลทุ่งตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 55-01840 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูป่าชายเลนบ้านควนดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำชายฝั่งอย่างถาวรและพืชสมุนไพร
  2. เพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ม.6 บ้านควนดิน จำนวน 2 คนมาเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ โซนภาคใต้ตอนบน จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และสุราษฎร์ธานี โดยได้เรียนรู้เรื่องการลงรายงานกิจกรรมผ่านเว็ปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ม.6 บ้านควนดิน จำนวน 2 คน ได้ฝึกปฏิบัติและลงรายกิจกรรมต่างๆของโครงการที่ทำแล้ว/วางแผน ผ่านทางเว็ปไซต์

     

    2 2

    2. ค้นหา/คัดเลือกอาสาสมัครรักษาสิ่งแวดล้อมและชายฝั่ง และเยาวชนกลุ่มอนุรักษ์ป่า พืชสมุนไพร พันธุ์สัตว์น้ำ

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชาวบ้านเพื่อชี้แจงโครงการและค้นหา/คัดเลือกอาสาสมัครรักษาสิ่งแวดล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ประชุมชี้แจงโครงการให้กับชาวบ้านหมู่ที่ 6 บ้านควนดิน จำนวน 217 คนและมีหน่วยงานได้แก่ อำเภอทุ่งตะโก, อบต.ตะโก,สถานีตำรวจทุ่งตะโก โรงเรียนทุ่งตะโกวิทยาและโรงเรียนวัดท่าทอง โดยผู้รับผิดชอบโครงการชีแจงถึงกิจกรรมที่จะดำเนินการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน โดยมีการวางแผนการทำงานปลูกป่าเสริม ปล่อยพันธุ์สัตว์ เช่น กุ้ง ปูดำ หอยจุ๊บแจง หอยกัน โดยวางแผนในการซื้อพันธ์จากนอกพื้นที่มาดำเนินการปล่อยในแหล่งป่าชายเลนในชุมชน ซึ่งมีพื้นที่ 2,000 กว่าไร่ ซึ่งการที่ต้องซื้อพันธุ์สัตว์น้าดังกล่าวเนื่องในชุมชนมีพันธุ์สัตว์จำนวนน้อยลง จำเป็นต้องเร่งขยายพันธุ์

    2.หน่วยงานในพื้นที่ และชุมชนได้ร่วมแสดงความคิดเห็นว่าเป็นโครงการที่ได้ทำต่อเนื่องจากกิจกรรมที่ อบต.ดำเนินการในช่วงวันสำคัญในแต่ละปี และเป็นกิจกรรมที่ทางชุมชนได้ดำเนินการกันเอง

    3.กำหนดวันปลูกป่าชุมชน โดยได้การสนับสนุนพันธุ์ต้นกล้าจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งสวี พันธุ์ไม้ที่ได้รับการสนับสนุน ได้แก่ ต้นพังกาหัวสุม คุณสมบัติของต้นไม้ดังกล่าวช่วยรักษาหน้าดิน ให้ร่มเงากับสัตว์ป่า และในอนาคตชาวบ้านสามารถใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้

     

    0 0

    3. ติดตามการดำเนินโครงการ/เข้าร่วมกิจกรรมการจัดเสวนา

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:30-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมเสวนาเครือข่าย รสทช.ชุดใหม่และชุดเก่าและจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการจัดการป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง(รสทช.)และประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 215 คน ได้แลกเปลี่ยนความรู้การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การอาศัยของพันธู์สัตว์น้ำรวมทั้งพืชสมุนไพรซึ่งมีวิทยากรจากสำนักงานทรัพยากรป่าชายเลนและชายฝั่ง รวมทั้งนายอำเภอทุ่งตะโก อาจารย์โรงเรียนทุ่งตะโกวิทยา

    2.ผู้เข้าร่วมเสวนาจำนวน 215 คน ร่วมกันปลูกป่าต้นพังกา จำนวน 6,000 ต้น ในพื้นที่ประมาณ 30 ไร่

    3.เกิดการติดตามต้นกล้าที่ทำการปลูกไปแล้ว พบว่า อัตราการรอดของต้นกล้าประมาณ 90 เปอร์เซ็น

     

    0 0

    4. จัดกลุ่มอาสา3 กลุ่ม คือกลุ่มดูแลป่า พืชสมุนไพร และอนุรักษ์พันธ์สัตว์น้ำ และสำรวจข้อมูลเพื่อทำแผนที่ทรัพยากรชุมชน

    วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชน/นักเรียน/แกนนำทั้ง 3 กลุ่ม ร่วมออกสำรวจข้อมูลทรัพยากรและร่วมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ/ปลูกพืชสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เกิดกลุ่มอาสาสมัคร จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดูแลป่า จำนวน 80 คนที่ประะกอบด้วยประชาชนในชุมชน (รสทช.)โดยกลุ่มจะมีบทบาทในการดูแลป่า ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลุ่มพืชสมุนไพร จำนวน 30 คน ประกอบด้วยนักเรียนทุ่งตะโกวิทยาและโรงเรียนวัดท่าทอง กลุ่มมีบทบาทเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรในป่าชายเลน พืชสมุนไพรที่พบในป่าชายเลนได้แก่ต้นขลู่ ต้นแก้มสมอ ต้นเหงือกสมอ กำแพงเจ็ดชั้น หัวร้อยรูฯลฯ พืชสมุนไพรดังกล่าวมีสรพคุณในการรักษาโรคความดัน เบาหวาน ซึ่งชาวบ้านในชุมชนที่นำสมุนไพรข้างต้นมาชงน้ำร้อนกินเพื่อดูแลสุขภาพ และยังพบข้อมูลอีกว่าพื้ชสมุนไพรบางตัวมีคุณค่าในเชิงเศรษฐกิจ อาสาอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 90 คน ประกอบด้วยนักเรียนและชาวบ้าน มีบทบาทในการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในป่าชายเลน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    2.มีกิจกรรมปล่อยพันธุ์หอยจุ๊บแจง หอยกัน จำนวน 5,000 ตัว ปูดำ จำนวน 200 ตัว คนเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่นักเรียน ชาวบ้าน และหน่วยงาน จำนวน 211 คน

     

    0 0

    5. จัดเวทีเสนอแผนที่ทรัพยากรชุมชนทั้ง 3 กลุ่ม

    วันที่ 10 มกราคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีนำเสนอแผนที่ทรัพยากรชุมชน ทั้ง 3 กลุ่ม ให้ชุมชนทั้งชุมชน ฟัง/รับรู้/ช่วยวิเคราะห์/ช่วยกันวางแผน โดยแกนนำกลุ่มละ 15 คน และประชาชนทั่วไปประมาณ 105 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตัวแทนอาสาสมัครกลุ่มปลูกป่า พืชสมุนไพรและกลุ่มอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ได้ร่วมประชุมติดตามผลการดำเนินกิจกรรมทั้งเรื่องการปลูกป่า ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ โดยกลุ่มปลูกป่าได้วางแผนในการปลูกทดแทนต้นกล้าที่ตายไป ปลูกขยายเพิ่มเติมในแปลงที่เหลืออยู่ และระดมแรงในการตกแต่งกิ่งต้นกล้าและกำจัดวัชพืชที่เลื้อยคลุมต้นกล้า สำหรับกลุ่มพืชสมุนไพร จะมีแนวทางขยายพันธุ์พืชสมุนไพรเข้ามาในแปลงปลูกใหม่ในป่าชายเลน กลุ่มอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ จะปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มเติมในป่าชายเลน

     

    0 0

    6. ประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่สจรส มอ ในการติดตามผลการดำเนินงาน

    วันที่ 14 มกราคม 2556 เวลา 13:00-15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจกับเอกสาร เช่น เอกสารการเงิน และการจัดทำข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจการดำเนินกิจกรรมโครงการ

     

    3 4

    7. ปลูกป่าชายเลน

    วันที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลนและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ประชาชน นักเรียนโรงเรียนวัดท่าทอง นักเรียนโรงเรียนทุ่งตะโก หน่วยงานราชการในพื้นที่/อำเภอ(อบต.ตะโก/นายอำเภอ/หน่วยงานทรัพยากรทะเลและชายฝั่งฯ เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 213 คน ร่วมกิจกรรมปลูกป่าในพื้นที่นากุ้งที่ถูกยึดมาจากการบุกรุกป่าชายเลน โดยพื้นที่มีลักษณะเป็นคันบ่อกุ้ง ทำให้การปลูกป่าต้องปลูกไม้มะกอกตานี สะเดาเทียม และกระทินณรงค์ โดยมีพื้นที่ปลูกประมาณ 30 ไร่ ต้นกล้าประมาณ 3,000 ต้น 2.ให้เด็กนักเรียนได้เยี่ยมชมวิถีชีวิตของคนรอบๆริมคลองตะโก บางมุดและถ้ำพระในหมู่บ้าน เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมในชุมชน

     

    0 0

    8. 9:30น.ได้ประชุมกับเจ้าหน้าที่สจรสติดตามประเมินดำเนินการ

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจกับเอกสาร เช่นเอกสารการเงิน และการจัดทำข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจการดำเนินกิจกรรมโครงการ

     

    3 3

    9. พบเจ้าหน้าที่สจรส ที่เทศบาลวังไผ่ตวจสอบประเมินผลโครงการ

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำตามโครงการที่เสนอไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจกิจกรรมโครงการ

     

    3 3

    10. พบเจ้าหน้าที่สจรส ที่เทศบาลวังไผ่ตวจสอบประเมินผลโครงการ

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2556 เวลา 00:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจโครงการีที่่เสนอไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจกิจกรรมโครงการ

     

    3 4

    11. คนในชุมชนร่วมกัน ตัดแต่งกิ่ง เก็บขยะ ตัดหญ้า

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:30 -12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตกแต่งกิ่ง เก็บขยะ ตัดหญ้า กำจัดวัชพืช 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ศูนย์วิจัยสวี/อบต.ตะโก/โรงเรียนทุงตะโกวิทยา/ประชาชนในหมู่บ้าน

     

    0 0

    12. ติดตามโครงการ/ร่วมประชุมการจัดข้อตกลงของแต่ละกลุ่ม

    วันที่ 8 มิถุนายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แต่ละกลุ่มจัดประชุมเพื่อกำหนดข้อตกลงในการดูแลรักษาป่า,สัตว์นำ้,สมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบต.ตะโก,อำเภอทุ่งตะโก,รร.ทุ่งตะโกวิทยา,รสทช.บ้านควนดิน

     

    0 0

    13. แต่ละกลุ่มดำเนินการจัดแหล่งเรียนรู้1. จัดทำข้อมูลเพื่อการเรียนรู้/บอร์ด/แผ่นพับ/แผนการเรียนการสอนเรื่องการอนุรักษ์ฯ/การจัดการ2. จัดทีมวิชาการชุมชนทั้ง 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน โดยการสมัครใจเป็นวิทยากร

    วันที่ 25 มิถุนายน 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ศูนย์วิจัย,อบต.ตะโก

     

    0 0

    14. ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานให้หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ/เอกชนให้รับรู้และเชิญชวนมาเรียนรู้กับชุมชน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนเรียนรู้กับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ศูนย์วิจัย/อบต.ตะโก

     

    100 100

    15. ประชุมติดตามประเมินผลและจัดเวทีสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีสรุปผลงานเชิงนโยบายเสนอชุมชนท้องถิ่นเพื่อการต่อยอดและขยายผลให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดขยายผลใหกิดความยั่งยืน

     

    100 100

    16. มารายงานความก้าวหน้าโครงการต่อสจรส.ม.อ.

    วันที่ 2 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการจำนวน 4คนเข้าร่วมรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการจำนวน 4คนเข้าร่วมรายงานผล

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อฟื้นฟูป่าชายเลนบ้านควนดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำชายฝั่งอย่างถาวรและพืชสมุนไพร
    ตัวชี้วัด : 1.1 ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง

     

    2 เพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้
    ตัวชี้วัด : 2.1 มีการอนุรักษ์และขยายพันธุ์พืชและสัตว์น้ำทางทะเลเพิ่มขึ้น 2.2 เครือข่ายในการร่วมกันดูแลป่าชายเลน 2.3 ศูนย์เรียนรู้กลางแจ้ง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูป่าชายเลนบ้านควนดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำชายฝั่งอย่างถาวรและพืชสมุนไพร (2) เพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน

    รหัสโครงการ 55-01840 รหัสสัญญา 55-00-0914 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีสมาชิกอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดแล้มทางทะเลและชายฝั่งเพิ่มขึ้น

    คนในชุมชน

    ขยายเครือข่ายไปยังหมู่บ้านใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ศูนย์เรียนรู้ป่าชายเลน บ้านควนดิน

    ป่าชายเลน

    มีสัตว์นำ้และป่าเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    ปลูกผักปลอดสารพิษ

    นางสายใจ  ปราบภัย

    ไว้บริโภคเองและขาย

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    เลิกเหล้า และบุหรี่

    นายชาญณรงค์  ศรีเพชร

    อยากให้คนในชุมชนเลิกเหล้า เลิกบุหรี่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    นำสมุนไพรพื้นบ้านในในชุมชนมาใช้

    ในป่าชายเลน

    อนุรักษ์พืชสมุนไพรในหมู่บ้านและขยายพันธุ์พืชสมุนไพรให้มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

    นางสายใจ  ปราบภัย

    จัดไม่ต้องสวยหรูแต่พอดูดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    แยกขยะ นำขยะบางประเภทมาทำปุ๋ยหมัก

    คนในชุมชน

    ทำปุ๋ยหมักใช้เอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีอพปร.ในหมู่บ้านช่วยกันดูแลทรัพย์สินในหมู่บ้าน

    หมู๋บ้านควนดิน

    ให้ความรู้ในการใช้รถและสร้างทีมอพปร.เยาวชนในหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ประมงชายฝั่ง ปลูกผักปลอดสารพิษ และทำการเกษตร

    หมู่บ้านควนดิน

    แนะนำคนในหมู่บ้านให้ทำมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    มีการนำพืชสมุนไพรพื้นบ้าน เช่น ต้นขลู่ ต้นแก้มสมอ หัวร้อยรู และกำแพง7ชั้น เป็นต้น

    นายชั้น พรหมมุสิก 32 ม.6ต.ตะโก อ.ทุ่งตะโก จ. ชุมพร

    โดยนำไปเผยแพร่ในทางวิชาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ห้ามเสพยาเสพติดและห้ามตัดไม้ทำลายป่า

    ในวาระในวันที่ประชุม

    ถ้ามีบุคคลที่ทำผิดกฏกติกาต้องทำโทษตามกฏกติกาของหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    ห้ามบุกรุกที่ป่าชายเลน ห้ามบุกรุกที่สาธารณะ ห้ามตัดไม้ทำลายป่า ห้ามจับสัตว์ในที่ป่าอนุรักษ์

    ในพื้นที่ป่าชุมชนของหมู่บ้าน

    มีการเฝ้าระวังดูแลของคนในพื้นที่และมีป้ายอนุรักษ์พื้นที่ป่าชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    มีการบันทึกและลงลายเซ็นของผู้ใหญ่บ้านแล้วเจ้าหน้าที่ของรัฐ

    ในพื้นที่ชุมชนของหมู๋บ้าน

    เพื่อเป็นข้อบังคับของหมู่บ้านอย่างเด็ดขาด

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ขอความสนับสนุนจากสมาชิกของกลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมอนุรักษ์ทรัพยากรประมงและชายฝั่งร่วมภาครัฐต่างๆ เช่น อำเภอ อบต. โรงเรียน และ รพ.สต.

    พื้นที่ป่าชุมชนของหมู๋บ้าน

    ร่วมกันพัฒนาและให้ความรู้แก่บุคคลภายในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีการวางแผนและระดมความคิดร่วมกันในการดำเนินงานและรู้ปัญหาในชุมชน

    แลกเปลี่ยนเรี่ยนรู้และรับฟังปัญหาของชุมชนโดยการประชาคมของหมู่บ้าน

    แนวทางการปฏิบัติตามความเป็นจริงและความเป็นไปได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการระดมในการดำเนินในชุมชนเช่น ขนกล้าไม้ ทำกิจกรรมร่วมกัน

    การใช้รถของนายชาญณรงค์ ศรีเพรช นายทิวา ปราบภัย นายบุญจวน ส่งเสริม

    มีการจัดตั้งธนาคารต้นกล้าที่ยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการสำรวจ ปลุก และดูแลอนุรักษ์อย่างต่อเนื่อง

    มีการจดบันทึกในการลงพื้นที่ป่าชายเลน

    การสร้างทีมงานและเครือข่ายดูแลป่าชุมชนและเป็นแหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์ทรัพยากร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    โดยนำวิทยากรมาความรู้ในชุมชนในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนและด้านสุขภาพ

    ทุกวันที่10ของเดือน

    ประสานหน่วยงานภาครัฐมาให้ความรู้ในวันประชุมหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีรายละเอียดในการทำงานและวันเวลาในการดำเนินงาน

    จะรายงานการทำงานและจะนำเข้าวาระประชุมของทุกเดือน

    ทำงานเป็นทีมและร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการดำเนินงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีความสำเร็จในโครงการปลูกป่าและพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน

    มีป่า พันธุ์ไม้ และสัตว์นำ้เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ป่าชุมชนของหมู่บ้าน

    ปลูกจิตสำนึกให้คนในชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียงหันมารักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีป่าที่สมบูรณ์และเป็นแหล่งอาหารในชุมชนที่มีอยู่ใกล้บ้าน

    ป่าชุมชนในหมู่บ้าน

    เกิดความสมบูรณ์ของป่าไม้และเป็นที่อาศัยของสัตว์ต่างๆเป็นแหล่งพืชสมุนไพรพื้นบ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ปลูกผักปลอดสารพิษเลี้ยงสัตว์ไว้บริโภคเพื่อให้คนในหมู่บ้านอยู่แบบพอเพียง

    นางสายใจ ปราบภัย นางสุพร พรหมเวช นางสุชีพ  อ้นสถตย์ นายสมชาย อ่นสถิตย์ นางจารีย์  พรหมมุสิก

    สร้างเครือข่ายให้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    อยู่กันแบบญาติพี่น้องช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

    ชุมชนบ้านควนดินม.6ต.ตะโก

    เป็นตัวอย่างที่ดีของลูกหลานและบุคคลที่พบเห็น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    แลกเปลี่ยนความคิดมีการประชาคมหมู่บ้านรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

    ประชาชน/ศูนย์หมู่บ้านควนดินม.6ต.ตะโก

    ปรึกษาและใช้ความคิดร่วมกันในแต่ละครั้งที่มีปัญหาของหมู่บ้านและความเดือดร้อนของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการพัฒนาป่าชุมชนเพื่อแหล่งเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรบ้านควนดิน จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 55-01840

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสายใจ ปราบภัย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด