assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรม ฝึกปฎิบัติ การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ5 มีนาคม 2556
5
มีนาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใช้สารเคมีในการทำสวนยางตามรอยโป + พ่เฒ่า ให้คนในชุมชนรู้จักการทำปุ๋ยใช้เอง เป็นการลดสารเคมี ลดต้นทุนในการทำสวนยาง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-แกนนำกลุ่ม และสมาชิกในชุมชนได้จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์เช่น เปลือกแตงโม เหงือกปลาทู เปลือกสับปะรด ตะลิงปลิง ได้เชิญ นายสุนทร  ธราพร  หมอดินอาสา เป็นวิทยากรในการอบรมให้ความรู้แดละสาธิตการทำปุ๋ยน้ำหมักให้แก่สมาชิก และทางโครงการได้แจกจ่ายกากน้ำตาลให้แก่สมาชิกคนละหนึ่งถังเพื่อนำไปทำให้เองในครัวเรือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ผู้เข้าฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมครั้งนี้ ไปทำปุ๋ยน้ำหมักใช้เองในครัวเรือนได้ เพือลดการใช้สารเคมี และลดต้นทุนในการทำสวนยางพารา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-ทางโครงการดำเนินโครงการล้าช้า ทางโครงมอบให้ทีมของนางนาตญา ริวรรณเป็นผู้รับผิดชอบในการรวบรวมจัดทำหนังสือคู่มือการปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี แต่ไม่เสร็จ คณะทำงานเลยข้ามมา ทำเรื่องปุ๋ยน้ำชีวภาพ กากน้ำตาลที่ให้ชาวบ้านคนละ 1 แกลลอนไม่มีในแผน ทางคณะทำงานคิดว่าทำได้เพระชุมชนต้องการ ทางผู้รับผิดชอบโครงการเคยนำเรื่องนี้เข้าหารือที่ ร.พ มหาราชแล้ว เมื่อวันที่ 19 มกราคมที่ผ่านมา แต่ไม่ได้ทำหนังสือเสนอขอเปลื่อนแปลง การดำเนินโครงการกับ สสส.   แนวทางแก้ไข ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.จะพิจารณา

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ฝึกอบรม สาธิต ปฏิบัติ การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ4 มีนาคม 2556
4
มีนาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดการใช้สารเคมีในการทำสวนยางพาราตามรอยโป + พ่อเฒ่าให้คนในชุมชนแกาะค่างขาว จำนวน 26 คน รู้วิธีทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ การนำไปใช้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คนในชุมชนเกาะค่างขาวโดยใช้สถานที่บ้านของนางนาตยา  ริวรรณ ผู้นำกลุ่ม พร้อมด้วยสมาชิกได้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยน้ำ เช่น หยวกกล้วย หัวปลาทู ตะลิงปลิง เปลือกสับปะรด ฯลฯ ที่มีอยู่ในชุมชนมาให้วิทยาการ สาธิตการทำปุ๋ยน้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ผู้เข้าอบรมสามารถหาวัสดุที่มีอยู่รอบ ๆ บ้านของตนเองนำมาผลิตเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพ เพื่อลดการใช้สารเคมี และลดต้นทุนในการทำสวนยางพารา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ทางโครงการดำเนินโครงการล้าช้า ทางโครงมอบให้ทีมของนางนาตญา ริวรรณเป็นผู้รับผิดชอบในการรวบรวมจัดทำหังสือ แต่ไม่เสร็จ คณะทำงานเลยข้ามมา ทำเรื่องปุ๋ยน้ำชีวภาพ กากน้ำตาลที่ให้ชาวบ้านคนละ 1 แกลลอนไม่มีในแผน ทางคณะทำงานคิดว่าทำได้เพระชุมชนต้องการ  ทางผู้รับผิดชอบโครงการเคยนำเรื่องนี้เข้าหารือที่ ร.พ มหาราชแล้ว เมื่อวันที่ 19 มกราคมที่ผ่านมา แต่ไม่ได้ทำหนังสือเสนอขอเปลื่อนแปลง การดำเนินโครงการกับ สสส.   แนวทางแก้ไข ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.จะพิจารณา

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

3 มีนาคม 2556
3
มีนาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใช้สารเคมีในการทำสวนยางตามรอยโป + พ่อเฒ่า

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คนในชุมชนที่เข้าอบรมในครั้งนี้ ได้ช่วยกันเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ เช่น ตะลิงปลิง แอปเปิ้ลน้ำ กล้วยสุก มะม่วงสุก ที่มีอยู่ในชุมชน มาให้วิทยากรสาธิตการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ และทางโครงการได้แจกกากน้ำตาลให้แก่สมาชิกคนละหนึ่งถังเพื่อนำไปทำใช้เองในครัวเรือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมในครั้งนี้ ไปทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพใช้ในครัวเรือน เพื่อลดการใช้สารเคมี และลดต้นทุนในการทำสวนยางพารา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

คนในชุมชนต้องการวัสดุไปทำใช้เองที่บ้าน แต่ทางโครงการมีในแผนให้ 2,000 กก. ๆ ละ 15 บาทจำนวนเงิน 30,000 บาท  แต่ในแผนคิดจำนวนเงินเพียง 3,000 บาทแต่ความต้องการของชาวบ้านคือให้ทางโครงการจัดหากากน้ำตา]มาให้ครอบครัวละ 1 แกลลอน รวม  25 แกลลอน ทางโครงการดำเนินโครงการล้าช้า ทางโครงมอบให้ทีมของนางนาตญา ริวรรณเป็นผู้รับผิดชอบในการรวบรวมจัดทำห แต่ไม่เสร็จ คณะทำงานเลยข้ามมา ทำเรื่องปุ๋ยน้ำชีวภาพ กากน้ำตาลที่ให้ชาวบ้านคนละ 1 แกลลอนไม่มีในแผน ทางคณะทำงานคิดว่าทำได้เพระชุมชนต้องการ ทางผู้รับผิดชอบโครงการเคยนำเรื่องนี้เข้าหารือที่ ร.พ มหาราชแล้ว เมื่อวันที่ 19 มกราคมที่ผ่านมา แต่ไม่ได้ทำหนังสือเสนอขอเปลื่อนแปลง การดำเนินโครงการกับ สสส.
  แนวทางแก้ไข ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.จะพิจารณา

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

อ.จำนง ติดตามครั้งที่ 32 มีนาคม 2556
2
มีนาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

ติดตามประเมินผล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่ม 13.00น. ทั้ง 5 โครงการ อ.ฉวางเข้าพร้อมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สี่โครงการเดินต่อได้ ติดที่โครงการสวนโป+พ่อเฒ่า ล่าช้ามาก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

โครงการล่าช้า แนวทางแก้ไข

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
จำนง หนูนิล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

แบ่งกลุ่มเกษตรกรออกเป็น 4 กลุ่ม เพื่อแยกกลุ่มในการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี้ยวกับการปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี1 มีนาคม 2556
1
มีนาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใช้สารเคมีในสวนยางโป + พ่อเฒ่าร่วมกันเรียนรู้ การจัดทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในพื้นที่ของตนเอง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.เริ่มที่กลุ่มบ้านนายาว มีนางสุมล ธราพร เป็นแกนนำกลุ่ม มีสมาชิกเข้าร่วม 28 คน สมาชิกช่วยกันจัดหา เศษพืช ผัก ผลไม้  กล้วย ทั้งสุก ทั้งดิบ ต้นกล้วย ดอกกาหลา แล้วช่วยกันหั่นให้เป็นชิ้นพอประมาณ นำมาใส่ภาชนะถังน้ำ ละลายหัวเชื้อ พด.2 ในน้ำ เทกากน้ำตาลลงไปในถัง แล้วใช้ไม้คนให้เข้ากันจนได้ที่ นำฝามาปิด คนทุก ๆ 2 วัน หมักทิ้งไว้  21 วันจึงนำมาใช้งานใด้ สูตรการทำน้ำหมักของ นายสุนทร ธราพร หมอดินอาสา ซึ่งเป็นวิทยากรในครั้งนี้ประกอบด้วย   พืชผักผลไม้  30 กก. กากน้ำตาล 20 กก. น้ำ 20 ลิตร  หัวเชื้อพด.2 3 ซอง (หรือนำเอา เศษปลา รวมกับพืชผักอื่นก็ได้ นำมาหมัก) วิธีใช้-  เอาน้ำหมัก 2 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 20 ลิตร นำไปรด พืช ผัก ไม้ผล ยางพารา ต้นไม้ แทนการใช้ปุ๋ยเคมีทำให้ต้นไม้เจริญงอกงามดี และปลอดภัยจากสารเคมี

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการทำงานร่วมกัน สร้างความเป็นทีม ได้ความรู้ในการผลิตปุ๋ยน้ำใช้เอง มีสูตรการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพของชุมชน ได้อุปกรณ์การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพไปฝึกทำเองที่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ทางโครงการไม่มีงบจัดซื้ออุปกรณ์การฝึกอื่น นอกจากกากน้ำตาล 2,000 กก.ทางโครงการดำเนินโครงการล้าช้า ทางโครงมอบให้ทีมของนางนาตญา ริวรรณเป็นผู้รับผิดชอบในการรวบรวมจัดทำหนังสือ คู่มือการปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี แต่ไม่เสร็จ คณะทำงานเลยข้ามมา ทำเรื่องปุ๋ยน้ำชีวภาพ กากน้ำตาลที่ให้ชาวบ้านคนละ 1 แกลลอนไม่มีในแผน ทางคณะทำงานคิดว่าทำได้เพระชุมชนต้องการ ทางผู้รับผิดชอบโครงการเคยนำเรื่องนี้เข้าหารือที่ ร.พ มหาราชแล้ว เมื่อวันที่ 19 มกราคมที่ผ่านมา แต่ไม่ได้ทำหนังสือเสนอขอเปลื่อนแปลง การดำเนินโครงการกับ สสส.
  แนวทางแก้ไข ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.จะพิจารณา

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.จำนง หนูนิล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-ทางคณะทำงานยอมรับผิด แล้วแต่ สสส.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมเชิงปฏิบัติการ คณะกรรมการ แกนนำ เพื่อถอดองค์ความรู้การปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี นัดแนะทำความเข้าใจในการลงพื้นที่ภาคปฏิบัติทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ7 กุมภาพันธ์ 2556
7
กุมภาพันธ์ 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

...ประชุมเชิงปฏิบัติการ คณะกรรมการ แกนนำ เพื่อถอดองค์ความรู้การปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี นัดแนะทำความเข้าใจในการลงพื้นที่ภาคปฏิบัติทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เร่ิมประชุม 13.00 น. ณ ที่ีศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 มีผู้เข้าร่วมประชุม 24 คน เร่ิมจากผู้ใหญ่อดิศักดิ์  สมบัติปราโมทย์ คณะทำงานของโครงการ ได้ชี้แจงข่าวสารจากอำเภอให้ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคณะทำงานของโครงการ นายอำเภอได้พูดถึงโครงการป่ายางตามรอยโป+พ่อเฒ่า ที่เห็นจากป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ป้าย ที่หน้าร้านไก่โอ่ง ชุมชนเกาะค่างขาว กับหัวโค้งควนนำ ถนนจันดี-ฉวาง น่ายอำเภอชมผู้ใหญ่อดิศักดิ์ ถ้าผู้ใหญ่ทำสำเร็จจะเกิดประโยชน์กับชุมชนมาก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีผู้เข้าร่วมประชุม 24  คน  ผู้ใหญ่อดิศักดิ์  สมบัติปราโมทย์ ประธานที่ประชุม  ผู้ใหญ่อดิศักดิ์ ให้นงธัญวลัย คงมา ดำเนินการเพื่อถอดองค์ความรู้จากทั้ง 4 กลุ่มที่มีการลงพื้นที่สัมภาษณ์ไปแล้ว - เร่ิมจากกลุ่มที่ 1 นำโดยนางสุมล  ธราพรกับนึกศึกษา กศน. และคนในชุมชน สัมภาษณ์ นายสุนทร  ธราพร  อายุ  60 ปี เป็นหมอดินอาสาและคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เป็นเกษตรกรบ้านนายาว ซึ่งผู้ก่อตั้งกลุ่มบ้านนายาวพัฒนาการเกษตร ท่ีเป็นเรียนรู้ของคนในชุมชนและบุคคลภายนอกทั่วไปที่เข้ามาศึกษาดูงาน เป็นเกษตรกรต้นแบบที่ีไม่ใช้สารเคมีในการทำสวนยางพารา นายสุนทรใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพที่ได้จากวัสดุท่ีมีอยู่ในชุมเช่น กล้วย มะละกอ หยอกกล้วย ดอกกาหลา ตะลิงปลิง เปลือกสับปะรด เหงือกปลา  นำมาทำความสะอาด หั่นเป็นช้ิน ๆ พอประมาณ ใส่ในถังพลาสติก ผสมกับกากน้ำตาล สารเร่ง พด. 2 หมักทิ้งไว้ 21 วัน จึงนำมาใช้รดต้นยางพารา และพืชผักทุกชนิด นายสุนทรทำแบบนี้มานานนับ 10 ปีแล้ว นอกจากนี้นายสุนทรได้ทำ น้ำยาเอนกประสงค์ น้ำยาซักผ้า ยาสระผม ไว้ใช้ในครัวเรือนแทนการใช้สารเคมี  แจกจ่าย แนะนำการทำให้กับผู้ที่สนใจ และกลุ่มที่เข้ามาศึกษาดูงาน -กลุ่มที่ 2 นำโดยหัวหน้ากลุ่มนางนาตยา  ริวรรณ  กับ นักศึกษา กศน. และคนในชุมชน สัมภาษณ์นางเรวดี  ไสท้ายดู  อายุ 43 ปี เป็นอสม.ดีเด่นด้านสุขภาพ เป็นผู้ที่ทำสวนยางพาราที่ไม่ใช้สารเคมี ใช้วิธีตัดหญ้าด้วยเครื่องตัดหญ้าขนาดเล็กไม่ใช้ยาฉีดหญ้า  มีการปลูกไม้เสริม เช่น สะเดา ตะเคียนทองจำปาทอง เขลียงไว้ในสวนยาง รอบ ๆ บริเวณบ้านก็มีผลไม้ เงาะ ทุเรียน ลองกอง หมาก และพืชผักสวนครัวไว้กินเอง เหลือจำหน่ายจ่ายแจกกับคนในชุมชน -กลุ่มที่ 3 นำโดยหัวหน้ากลุ่มนางสุดจิต  สุขศรีนวล คณะกรรมการชุมชนเกาะค่างขาว กับนักศึกษา กศน. และคนในชุมชนสัมภาษณ์นายพร้อม  ทองรักษ์  อายุ 69 ปี เป็นปราชญ์ชาวบ้าน และพ่อดีเด่นตำบลจันดี ซึ่งเป็นผู้ทำสวนยางพารามานาน ใช้ทั้งปุ๋ยเคมี และปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ทำให้เห็นข้อแตกต่างระหว่างสารเคมี กับ ชีวภาพ ว่าการใช้สารเคมีทำให้ดินเสื่อม ฟื้นฟูสภาพดินช้าจึงต้องหันกลับมาใช้ปุ๋ยชีวภาพแทน  นอกจากนั้นก็ยังเลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู ปลูกพืชผักผลไม้ ในสวนยางพาราด้วย -กลุ่มที่ 4 นำโดยหัวหน้ากลุ่มนางสาวสาริกา  บุตดิพรรณ กับ นักศึกษา กศน. และคนในชุมชน สัมภาษณ์ นางธัญวลัย  คงมา  อายุ 54 ปี เป็นประธานสภาเกษตรตำบลจันดี ประธานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลจันดี ประธานสวภาองค์กรชุมชนตำบลจันดี นางธัญวลัย คงมา กล่าวถึงการทำสวนยางสมัยที่จำความได้คือ ในป่ายางแต่ก่อนนั้นจะมีพืช ผัก ผลไม้ ผสมผสานกันในป่ายาง การใช้สารเคมีจะไม่มีเลย เพราะว่ารุ่นพ่อ - แม่ที่ทำสวนยางจะปลูกพืช ผัก ผลไม้ สมุนไพร เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เลี้ยงวัว ไว้ในป่ายาง ปุ๋ยก็จะได้จากขี้เป็ด ขี้ไก่ ขี้วัว และใบไม้ที่หล่นมาทับถมกันนาน ๆ ทำให้ต้นยางสมบูรณ์ไม่มีโรค           ต่อมาประมาณ  40 ปีที่ผ่านมา เมื่อมีกองทุนสงเคราะห์ยาง เข้ามาช่วยในการสนับสนุนเงินทุนในการทำสวนยางพารา คือ ต้องทำตามแนวทางที่เขากำหนด  ต้นไม้ทุกต้นก็ต้องโค่นให้หมด  แล้วปลูกแต่ยางอย่างเดียว ห้ามปลูกต้นไม้เสริมทุกชนิด  การกระทำแบบนี้เรียกว่การปลูกพืชเชิงเดี๋ยวซึ่งไม่เหมาะกับบ้านเรา การขุดหลุม การวางแนว ระยะห่าง การปลูกยางต้องรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยเคมี  การดูแลรักษาก็ต้องใช้สารเคมีทั้งปุ๋ย ยาฉีดหญ้า  สุดท้ายยางรุ่นนี้ก็เปิดกรีดได้ประมาณ 20 ปี ก็ต้องยืนต้นตายนึ่งที่เกิดจากเชื้อโรค โรคโคนเน่า เพราะการสนับสนุนให้ใช้สารเคมีมากเกินความจำเป็น       นงธัญวลัย กล่าว ตอนเข้ามาเป็นเกษตรกรเต็มตัวเมื่อปี 2546  ก็ได้ทำตามที่กองทุนสงเคราะห์ฯแนะนำทุกอย่าง แต่เมื่อทำเข้าจริง ๆ ทำให้เราต้องเสียสุขภาพเมื่อเจอสารเคมีแล้วทำให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรง จึงได้ศึกษาแนวทางใหม่กับศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรฯ ขณะนั้นทางกองทุนอนุญาตให้ปลูกไม้เสริมในสวนยางได้ไร่ละไม่เกิน 15 ต้น แต่คิดว่าการทำสวนยางตามรอยโป + พ่อเฒ่า น่าจะทำให้เราอยู่รอดปลอดภัยจากสารเคมี จึงได้เข้าศึกษาการอยู่ร่วมกันของพืชพันธุ์ไม้นานาชนิด แล้วนำมาปลูกเสริมในสวนยางพาราของ เช่น ไม้สักทอง ไม้ตะเคียนทอง จำปาทอง จิกนม ไม้ไผ่หวาน สะตอ เนียง เขลียง กระชาย ทือ ลองกอง เลี้ยงไก่ เพื่อให้สัตว์ พืชพันธุ์ไม้เหล่านี้ดูแลเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และยังเข้าอบรมการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพใช้เอง กับนายสุนทร  ธราพร รวมทั้งการทำน้ำยาเอนกประสงค์ น้ำยาซักผ้า ยาสระผม สบู่เหลวไว้ใช้เอง เพื่อลดการใช้สารเคมีอีกทางหนึ่ง และลดต้นทุนในการดูแลรักษาอีกด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์จของผู้ที่ลงสัมภาษณ์ยังไม่ครอบคลุมตรงประเด็นเท่าที่ควร ทางโครงการต้องอาศัยครู กศน. มาช่วยรวบรวม รต้องเพ่ิมงานให้กับครู กศน. อีกเท่าตัว จึงทำให้งานล่าช้าไม่สารถจัดพิมพ์ให้แล้วเสร็จตามกำหนด แนวทางแก้ไข ทางโครงการจะดำเนินการเรื่องเอกสารคู่มือให้แล้วเสร็จภายในเดือนเมษายน และนำเข้าหลักสูตรท้องถิ่นในการเรียนการสอนต่อไป

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

.

ประชุมคณะกรรมการ แกนนำ 30 คน25 มกราคม 2556
25
มกราคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เร่ิมประชุมเวลา  10.00 น. ณ ชุมชนบ้านนายาว ที่บ้านของนางสุมล  ธราพร ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้รับผิดชอบโครงการ  แบ่งกลุ่มย่อยเป็น 4 กลุ่ม  กลุ่มท่ี 1 นำโดยนางสุมล ธราพร หัวหน้าบ้านนายาว กลุ่มที่ 2 นางประไพญา เต็มเปี่ยม บ้านควนกลาง กลุ่มที่ 3 นางนาตยา  ริวรรณ บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เร่ิมประชุมเวลา  10.00 น. ณ ชุมชนบ้านนายาว ที่บ้านของนางสุมล  ธราพร ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้รับผิดชอบโครงการ  แบ่งกลุ่มย่อยเป็น 4 กลุ่ม  กลุ่มท่ี 1 นำโดยนางสุมล ธราพร หัวหน้าบ้านนายาว กลุ่มที่ 2 นางประไพญา เต็มเปี่ยม บ้านควนกลาง กลุ่มที่ 3 นางนาตยา  ริวรรณ บ้านเกาะค่างขาว  และกลุ่มที่ 4 นางสาวสาริกา บุตดิพรรณ บ้านควนนำ เพื่อติดต่อประสานงาน และใช้เป็นสถานที่ในการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติการทำปุ่ยชีวภาพ การทำน้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม ครีมอาบน้ำ น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป ในการประครั้งนี้มติที่ประชุมลงความเห็นว่าแต่ละกลุ่มซึ่ังมีผู้นำอยู่แล้วให้ร่วมกับนักศึกษา กศน. ซึ่งแบ่งความรับผิดชอบกันไว้ทั้ง 4 พื้นที่ เข้าสำรวจและสัมภาษณ์เกษตรกรต้นแบบ ปราชญ์ชาวบ้าน เพื่อรวบรวมข้อมูลการทำสวนยางโดยไม่ใช้สารเคมีมาจัดทำเป็นคู่มือต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จัดแบ่งกลุ่มย่อยลงสัมภาษณ์เกษตรกรต้นแบบ 4 กลุ่ม
  • กลุ่มที่ 1 นำโดยนางสุมล ธราพร สัมภาษณ์ นายสุนทร ธราพร หมอดินอาสาและเกษตรกรต้นแบบ บ้านนายาวพัฒนาการเกษตร กรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลจันดี
  • กลุ่มที่ 2 นำโดยนางประไพญา เต็มเปีย่ม และนางสุดจิต  สุขศรีนวล ลงสัมภาษณ์ นายสามารถ  ปลื้มใจ เกษตรกรต้นแบบด้านพืชผักและเพาะเห็ด บ้านควนกลาง
  • กลุ่มที่ 3 นำโดยนางนาตยา ริวรรณ สัมภาษณ์  นายพร้อม ทองรักษ์ พ่อดีเด่นตำบลจันดี ผู้บุกเบิกการทำสวนยางรุ่นปู่ + พ่อเฒ่า  และนางเรวดี ไสท้ายดู  อสม.ดีเด่น ผู้ปลูกพืชผักผลไม้ ไม้ใช้สอยในสวนยาง
  • กลุ่มที่ 4 นำโดยนางสาวสาริกา  บุตดิพรรณ  สัมภาษณ์ นายสุธรรม บุตดิพรรณ อดีตผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 เกษตรกรต้นแบบการเกษรผสมผสาน และนางธัญวลัย  คงมา  นักศึกษามหาวิทยาลัยชีวิต ศูนย์ช้างกลาง ประธานศูนย์ีบริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลจันดี ประธานสภาเกษตรกรตำบลจันดี แพทย์แผนไทยผู้มีใบประกอบโรคศิลป สาขาเภสัชกรรม เกษตรกรต้นแบบสวนผักสมรมเพ่ื่อสุขภาพซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการกินผักเป็นยาที่ได้รับรางวัล นวัตกรรมดีเด่น ของ สปสช.เขต 11 ภาคใต้ตอนบน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

.การแบ่งกลุ่มไม่เป็นตามแผน .แก้ไขแบ่งได้แค่สี่กลุม น้อยกว่าเป้าหมาย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.จำนง หนูนิล...
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การติดตามระหว่างการดำเนินการโดย สจรส.มอ19 มกราคม 2556
19
มกราคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตวจสอบการบันทึกกิจกรรม และเอกสารทางการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โครงการนำเสนอกิจกรรมและเอกสารทางการเงิน ได้รับการแนะนำให้บันทึกกิจกรรมให้ถูกต้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ต้องกลับมาแก้ไขการบันทึกใหม่

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • การดำเนินกิจกรรมล่าช้า
  • ต้องดำเนินกิจกรรมให้แล้วเสร็จก่อนวันที่ 15 มีค. 56
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

อ.จำนงติดตาม ครั้งที่ 2 เริ่ม 13.00น.12 มกราคม 2556
12
มกราคม 2556รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ครูนง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และการบันทึกกิจกรรมต่างๆ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ตามแผน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.โครงการทำกิจกรรมยังไม่ได้ตามแผน เพิ่งจะดำเนินงาน ไป 2 กิจกรรม 2.ใช้จ่ายเงินไปเพียง12200 บาท

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

โครงการทำกิจกรรมยังไม่ได้ตามแผน เพิ่งจะดำเนินงาน ไป 2 กิจกรรม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

1.กิจกรรมที่ต้องเร่งดำเนินการ คือ การรีบสำรวจภูมิปัญญา เรื่องของการอนุรักษ์สวนยางตามรอยปู่-ย่า  แล้วจึงจะดำเนินการอบรมหรือทำกิจกรรมอื่นๆตามมา

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

อ.จำนงติดตาม ครั้งที่ 2 เริ่ม 13.00น.12 มกราคม 2556
12
มกราคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

ติดตามประเมินผลการดำเนิกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้มีการนำเสนอความก้าวหน้าของงานที่ทำไปแล้ว ให้ทางกลุ่ม หลังจากนั้นได้ นำเอกสารทางการเงินทั้งหมดให้อ.นัยนา ช่วยตรวจสอบความถูกต้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วม 15 คน จาก 5 โครงการในอำเภอฉวาง ได้ทราบถึงข้อบกพร่องของโครงการว่าทำไมถึงล่าช้า และแนวทางปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนทำอย่างไรจากพี่เลี้ยง รวมทั้งได้ทราบข้อบกพร่องเกี่ยวกับใบเสร็จต่างๆ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ดำเนินการล่าช้า แนวทางแก้ไข  ลงสำรวจพื้นที่โดยแบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ โซนมีผู้รับผิดชอบแต่ละโซนที่ชัดเจนอย่างน้อยโซนละ ๒-๓ คนออกสัมภาษณ์เกษตรกรต้นแบบ เพื่อรวบรวมข้อมูลจัดทำคู่มือการปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี.

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.จำนง หนูนิล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

.

จัดเวทีสร้างความตระหนักปลูกจิตรสำนึก การสร้างป่ายางตามรอยโป+พ่อเฒ่า โดยไม่ใช้สารเคมี17 ธันวาคม 2555
17
ธันวาคม 2555รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างความตระหนักปลูกจิตสำนึกรักษ์ชุมชน ส่งเสริมการปลูกยางโดยไม่ใช้สารเคมี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.เริ่มกิจกรรมตั้งแต่เวลา 10.00 น. ชาวบ้านทะยอยมาลงทะเบียน ในการประชุมครั้งนี้ มี นายสัมพันธ์  เหลืองวรพันธุ์ นายกเทศมนตรีตำบลจันดี นายวิชัย ขุนเพชร รองปลัดเทศบาล นางสาวนฤมล  สุขศาลา เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน นางศิรินทิพย์ จันทรวิสูตร นายขจร  สุธรรม  และว่าที่ร้อยโท ทวีศักดิ์ วงศ์ศิริกุล สมาชิกสภาเทศบาลตำบลจันดี ผู้ใหญ่ประสงค์ วิริยะตั้งสกุล ผู้ใหญ่หมู่ท่ี ๓ ก็มาให้กำลังใจทุกครั้งที่มีการประชุม เริ่มประชุมเวลา 10.30 น.   นายกเทศมนตรี เปิดประชุม พูดถึงการทำการเกษตรโดยไม่ใช้สารเคมี   ปลัดวิชัยคณะทำงานชี้แจงโครงการ แยกประเภทกิจกรรม แบ่งโซนกันรับผิดชอบ   หมอเหมียพูดถึงการลงแขกซึ่งหายไปจากชุมชนคนบ้านเรา โครงการนี้สามารถทำได้

รับประทานอาหารร่วมกันเวลา 12.30 น.   นางธัญวลัย  คงมา  ได้นำเสนอโครงการป่ายางต้นแบบตามรอยโป + พ่อเฒ่า และการอยู่รอดของชาวสวนยาง โดยการลดสารเคมีในสวนยาง ทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาล้างจาน ลดสารเคมี ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน   อาจารย์ธีรัศมิ์ พูลนวล  อาจารย์จาก มหาวิทยาลัยชีวิต ศูนย์เรียนรู้เพื่อปวงชน นครศรีธรรมราชมาให้ความรู้และสร้างความตระหนักปลูกจิตสำนึก การสร้างป่ายางตามรอยโป+พ่อเฒ่า โดยไม่ใช้สารเคมี และพูดถึงวิ่กฤตยางพาราหลังปี ๕๘  เมือประเทศไทยเข้าร่วมสมาคมอาเชี่ยน จะมีการแข่งขันทางการค้าที่รุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะยางพาราเมื่อจีน ลาว เขมร พม่า เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย เกือบทุกประเทศในสมาคมอาเชียนมีการปลูกกันอย่างมากมาย ยางพาราเป็นสินค้าท่ีนำมาแปรรูปเป็นอาหารไม่ได้ นอกจากเป็นอุตสาหกรรมอย่างเดียว  เมื่อผลิตมากขึ้นเกินความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ราคายางพาราจะตกต่ำตามสภาวะการตลาด  เมื่อถึงเวลานั้นชาวสวนยางรายย่อยอย่างพวกเราในชุมชนจะอยู่รอดได้อย่างไร

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุม 65 คน มีความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบกิจกรรมโครงการมากขึ้นเช่น การแยกประเภทกิจกรรม แบ่งโซนกันรับผิดชอบ  โดยใช้การลงแขกซึ่งหายไปจากชุมชนคนบ้านเรา ทำให้คนในชุมชนเกิดความรักสามัคคีมากขึ้น และเพื่อสุขภาพและการอยู่รอดของชาวสวนยาง จำเป็นต้องลดการใช้สารเคมีในสวนยาง ด้วยการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาล้างจาน ลดสารเคมี ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

.การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึง แนวทางแก้ไข ติดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ๒ จุด ในเขตชุมชน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.จำนง หนูนิล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

.

จัดประชุม เกษตรกรต้นแบบ ปราชญ์ชาวบ้าน หมอดินอาสา เกษตรอาสา อสม. แกนนำๅ ๓๐ คน30 พฤศจิกายน 2555
30
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ครูนง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมแกนนำ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตามแผน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีคนเข้าร่วมตามที่กำหนด และมีการวางแผนเพื่อจัดทำคู้มือในวันที่ 17 ธค.นี้ 2.มีการแบ่งออกเป็น 5 ทีมในครั้งต่อไปเพื่อการขยายผล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ชาวบ้าน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ควรประสานกับทางผู้ใหญ่บ้านให้ประชุมชาวบ้าน เพื่อให้ทุกคนรับทราบว่่ามีโครงการในชุมชน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
จัดประชุม เกษตรกรต้นแบบ ปราชญ์ชาวบ้าน หมอดินอาสา เกษตรอาสา อสม. แกนนำๅ ๓๐ คน30 พฤศจิกายน 2555
30
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพื้นที่ โดย ครูนง
circle
วัตถุประสงค์

ประขุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปลูกจิตสำนึก สร้างความตระหนักให้เห็นพิษภัยบองสารเคมี ยาฆ่าแมลง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้เข้าร่วมประชุมรู้ถึงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน แลกเปลื่ยนความคิดเห็น เพื่อสรุปแนวทางการทำสวนยางโดยไม่ใช้สารเคมี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

หัวหน้าโครงการมีภาระกิจในช่วงเดือนนี้ ไม่สามารถทำตามกำหนดได้ เลื่อนจากวันที่15มาเป็นวันที่30/11/55

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.จำนง หนูนิล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

อ.จำนง ติดตามโครงการ ครั้งที่124 พฤศจิกายน 2555
24
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ครูนง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนแผนงาน กิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ให้โครงการนำเสนอแผนงานของตนเอง 2.พี่เลี้ยงและโครงการอื่นๆร่วมกันช่วยเสนอแนะ 3.ตอบข้อซักถามต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องของการเงิน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีกิจกรรมในเดือนตุลาคมและพฤษศจิกายน ยังไม่มีการดำเนินงาน 2.ชี้แจงให้โครงการเข้าใจว่า โครงการนี้สิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการ คือการทบทวนองคืความรุ้การปลูกป่ายางแบบเก่า(ดั้งเดิม) ให้ได้เป็นคู่มือ หากไม่ทำให้เสร็จภายในมกราคม จะทำให้โครงการล่าช้าได้ 3.สิ่งแนกที่ควรทำ คือ การประชุมชาวบ้านให้ชาวบ้านรับทราบว่า ชุมชนได้เงินมาทำโครงการ พร้อมทังมีการติดป้ายประชาสัมพันธ์ภานในเดือนพฤษศจิกายนนี้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การทำงานล่าช้ามาก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ชี้แจงให้โครงการเข้าใจว่า โครงการนี้สิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการ คือการทบทวนองคืความรุ้การปลูกป่ายางแบบเก่า(ดั้งเดิม) ให้ได้เป็นคู่มือ หากไม่ทำให้เสร็จภายในมกราคม จะทำให้โครงการล่าช้าได้ และสิ่งแนกที่ควรทำ คือ การประชุมชาวบ้านให้ชาวบ้านรับทราบว่า ชุมชนได้เงินมาทำโครงการ พร้อมทังมีการติดป้ายประชาสัมพันธ์ภานในเดือนพฤษศจิกายนนี้

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
อ.จำนง ติดตามโครงการ ครั้งที่124 พฤศจิกายน 2555
24
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพื้นที่ โดย ครูนง
circle
วัตถุประสงค์

ได้มีการนำเสนอแผนงานของตนเอง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้มีการนำเสนอแผนงานของตนเอง และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก 4 โครงการในอ.ฉวาง รวมทั้งได้รับฟังคำชี้แนะจากพี่เลี้ยง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการเข้าใจปัญหาของโครงการตนเอง รวมทั้งมีความเข้าใจเกี่ยวกับการทำโครงการมากขึ้นจากการได้รับฟังแผนงานของโครงการอื่นๆ ซึ่งปัญหาที่ขึ้นของโครงการจะรีบไปเร่งดำเนินการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การเริ่มโครงการล่าช้า

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.จำนง หนูนิล
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศโครงการ6 พฤศจิกายน 2555
6
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพื้นที่ โดย นางธัญวลัย คงมา
circle
วัตถุประสงค์

ฝึกการบันทึกปฎิทินการทำกิจกรรม ฝึกการทำรายงานทางเว็บไซด์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ฝึกการบันทึกปฎิทินการทำกิจกรรม ฝึกการทำรายงานทางเว็บไซด์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ความรู้เพ่ิมเติมทางด้านคอมพิวเตอร์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-