แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ ”

10/2 หมู่ 6 ต.ทุ่งปรัง อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช 80120

หัวหน้าโครงการ
ธรรมนูญ วีระพันธุ์

ชื่อโครงการ บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ

ที่อยู่ 10/2 หมู่ 6 ต.ทุ่งปรัง อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช 80120 จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 55-01780 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0939

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 10/2 หมู่ 6 ต.ทุ่งปรัง อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช 80120

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ " ดำเนินการในพื้นที่ 10/2 หมู่ 6 ต.ทุ่งปรัง อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช 80120 รหัสโครงการ 55-01780 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 176,750.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือน.
  2. เพื่อให้สมาชิกในชุมชนได้เรียนรู้และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง
  3. เพื่อให้คนในชุมชนปลูกต้นไม้เพื่อไว้ใช้สอยและเป็นบำนาญชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุน

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำในการจัดเก็บและบัณทึกข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.กลุ่มเป้าหมาย ได้รับรู้ข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลที่ถูกต้อง

     

    0 0

    2. ทบทวนแก้ไขการลงบันทึกข้อมูล

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการลงข้อมุลและจัดเก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับรู้ข้อมุลและการจัดเก็บข้อมูล

     

    0 0

    3. ประชุมคณะกรรมการผู้ใหญ่บ้าน อบต. ประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมหมู่บ้าน,ประชาสัมพันธ์โครงการบ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สสส. แจ้งกิจกรรมของโครงการ และได้แจกสมุดบัญชีรับ-จ่ายในครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 89 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ 50 คน ซึ่งเกินความคาดหมายที่ตั้งไว้คนที่เข้าร่วมกิจกรรมเห็นว่าโครงการมีประโยชน์และอยากเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม

     

    0 0

    4. ฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีพี่เลี้ยงโครงการ สสส. มาร่วมชี้แจงโครงการและกำหนดปฏิทินการทำงาน พูดคุยกับผู้เข้าร่วม ตอบข้อซักถาม และ มีวิทยากรมาฝึกสอนให้คนในชุมชนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 61 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 60 คนมีวิทยากรมาให้คำแนะนำตลอดจนการปฏิบัติซึ่งทุกคนมีความสนใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

     

    0 0

    5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปราญช์ในชุมชนเกี่ยวกับศิลป์พื้นบ้าน มีแกนนำและสมาชิก

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปราชญ์ในชุมชนเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน มีแกนนำและสมาชิก โดยมีวิทยากรมาบรรณยายและร่วมกันเล่นกลองยาวด้วยกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 48 คนจากกลุ่มเป้าหมาย 40 คน ได้ร่วมทำกิจกรรมซึ่งนอกจากจะผ่อนคลายความเครียดแล้วยังเป็นที่แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอีกด้วย

     

    0 0

    6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกต้นไม้ในสวนมะพร้าว สวนปาล์ม สวนยางพารา เสริมไม่ต้องการให้คนในชุมชนปลูกพืชเชิงเดียว

    วันที่ 5 ธันวาคม 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกต้นไม้ในสวนมะพร้าว สวนปาล์ม สวนยางพารา เสริมไม่ต้องการให้คนในชุมชนปลูกพืชเชิงเดียว และร่วมปลูกต้นไม้เพื่อเทอดพระเกิยรติเนื่องในวันที่ 5 ธันวามหาราช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 72 คน มีผู้ใหญ่บ้าน อบต. ทีมอสม.กลุ่มภาคี นักเรียนเยาวชนในหมู่บ้าน ได้รับคำแนะนำและสอบถามวิทยากรเพื่อนำไปต่อยอดในพื้นที่ของตน

     

    0 0

    7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้พันธ์พืชผักและสมุนไพร แล้วแต่พื้นที่ๆเหมาะสมกับพืชผัก จำนวน80 คน

    วันที่ 8 ธันวาคม 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พันธ์พืชผักและสมุนไพร เพื่อให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ มีวิทยากรมาสาธิตการปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 97 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 80 คนมีผู้ร่วมกิจกรรม คือ ผู้ใหญ่บ้าน อบต. ทีมอสม. กลุ่มภาคี นักเรียนเยาวชนในหมู่บ้าน ซึ่งทำให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิต

     

    0 0

    8. จัดฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 20 ธันวาคม 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีวิทยากรมาบรรยายการจัดทำบัญชีครัวเรือน และให้คำแนะนำปรึกษาในปัญหาการจัดทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 64 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 60 คน มีการตอบข้อซักถามและปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดจนแนะนำวิธีการจัดทำบัญชีครัวเรือนแก่สมาชิกโดยวิทยากร

     

    0 0

    9. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปราญช์ในชุมชนเกี่ยวกับศิลป์พื้นบ้าน ครั้งที่ 2

    วันที่ 22 ธันวาคม 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของสมาชิกชุมชนเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน กลองยาว โดยมีวิทยากรให้คำแนะนำ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนผู้เข้าร่วม 59 คน กลุ่มเป้าหมาย 40 คน กลุ่มภาคีใกล้เคียงในชุมชน ร่วมทำกิจกรรมทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจและเป็นการเชื่อมสัมพันธ์ที่ดีแก่ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม ก่อให้เกิดความสามัคคีในชุมชน

     

    0 0

    10. พี่เลี้ยงติดตามโครงการ

    วันที่ 6 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินกิจกรรมได้ตามความคาดหวัง มีแนวความคิดในการต่อยอดกิจกรรมใหม่อยู่หลายกิจกรรม สนับสนุนให้สมาชิกและแนะนำชาวบ้านเข้าร่วมกิจกกรมให้มากขึ้น เพื่อผลสัมฤทธิ์โดยรวมของชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนะนำในเรื่องความสมบูรณ์ความถูกต้องและความเป็นปัจจุบันของการบันทึกและการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ให้เสร็จสิ้นและถูกต้องภายในแต่ละวัน

     

    0 0

    11. รายงานกิจกรรมร่วมกับ สสส.

    วันที่ 20 มกราคม 2556 เวลา 9.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานกิจกรรมที่ดำเนินงาน และรับคำปรึกษาแนะนำพร้อมทั้งแจ้งปัญหาในการดำเนินกิจกรรมแก่เจ้าหน้าที่ และที่ปรึกษาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการรายงานและตรวจสอบรายงาน ซึ่งบางส่วนต้องนำมาปรับปรุงแก้ไขในรูปแบบที่กำหนดให้มีความถูกต้อง

     

    0 0

    12. ฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 23 มกราคม 2556 เวลา 9.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรให้คำแนะนำปรึกษาในการจัดทำบัญชีครัวเรือน และสมาชิกได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดทำบัญชีครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสมาชิกจำนวน 65 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 60 คน ได้รับคำแนะนำจากวิทยากร โดยทำให้ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีเพิ่มมากขึ้น โดยมีผู้สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง 52 คน

     

    0 0

    13. เรียนรู้การเพาะพันธุ์กล้าไม้เสริมและพืชผักสมุนไพร

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 9.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรแนะนำการคัดเลือกพันธุ์ไม้ การปลูกสร้างเรือนเพาะชำกล้าไม้ การจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ ร่วมกับเจ้าหน้าที่จากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจ.นครศรีฯและนักวิชากรป่าไม้ ได้ให้ความรู้เพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน และได้นำพันธุ์ไม้ซึ่งมีในพื้นที่ เช่น ไม้ยางนา ไม้ตะเคียนทอง ไม้พยอม ไม้จำปาป่า กระถินเทพา และไม้สำโรงไปปลูก

     

    0 0

    14. กิจกรรมที่ 4 คร้งที่ 1 ทำฝายชะลอน้ำ

    วันที่ 9 มีนาคม 2556 เวลา 10.00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีนักเรียนเชาวชนและชาวบ้านมาร่วมไม้ร่วมมือกันทำฝายชะลอนำ้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการไหลของนำ้ช้าลงและมีนำ้ใช้ในการเกษตรในหน้าแล้ง

     

    0 0

    15. ประชุมโครงการ สสส. ณ.มอออ

    วันที่ 10 มีนาคม 2556 เวลา 9.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานกิจกรรม

     

    0 0

    16. ทำฝายจุดที่ 2

    วันที่ 13 มีนาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    มีนักเรียนเชาวชนและชาวบ้านมาร่วมไม้ร่วมมือกันทำฝายชะลอนำ้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสมาชิกเข้าร่วม 46 คน เกินเป้าหมาย

     

    0 0

    17. คืนเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 15 มีนาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย 500 บาท

     

    0 0

    18. กิจกรรมที่ 6 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 20 มีนาคม 2556 เวลา 10.00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพโดยมีผู้เข้าร่วม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน บ้านทุ่งปรัง ม.6 ได้รู้การทำปุ๋ยหมักและน้ำหมัก

     

    0 0

    19. กิจกรรมที่ 9 การเพาะพันธุ์กล้าไม้และพืชสมุนไพร

    วันที่ 23 มีนาคม 2556 เวลา 10.00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้แจกพันธ์กล้าไม้และกล้าไม้ (มีอยู่ก่อนแล้ว) เหมาะสมกับพื้นที่จะปลูกแต่ละพื้นที่โดยมีผู้เข้าร่วม จำนวน 80 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ใหญ่บ้าน อ.บ.ต. ครู นักเรียนและชาวบ้านได้สนใจและเริ่มปลูกในที่ของตนเองมากขึ้น

     

    0 0

    20. กิจกรรมที่ 6.1 ปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมัก

    วันที่ 26 มีนาคม 2556 เวลา 10.00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โดยมีผู้เข้าร่วม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    งได้ใช้ปุ๋ยหมักและลดการใช้ปุ๋ยเคมี

     

    0 0

    21. กิจกรรมที่ 6.2 การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

    วันที่ 30 มีนาคม 2556 เวลา 09.00-15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกได้นำวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพไปใช้ในครัวเรือนและมีสมาชิกยอมรับปุ๋ยหมักชีวภาพเพิ่มขึินเพราะใช้กับต้นไม้  พืช  ผัก  ผลไม้  ทำให้มีคุณภาพดี แะยังสามารถลดรายจ่ายลงได้  มีสมาชิกเข้าร่วมจำนวน  60  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกในโครงการและเยาวจน ชาวบ้าน สนใจปุ๋ยหมักชีวภาพเพิ่มขึ้นและมีสมาชิกบางท่านสนใจเพิ่มขึ้นได้ทำเองที่บ้านของตนเพิ่มมากขึ้น  เพราะทำให้ในกลุ่มมีจำนวนมากไม่เพียงพอกับพืช ผักที่ปลูกไว้  จึงต้องกลับไปทำเองที่บ้านของตนเพราะเห็นจริงว่ามีคุณค่าแะประโยชน์ ได้ผดี

     

    0 0

    22. กิจกรรมที่ 6.2.1น้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 เวลา 09.00-15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำให้ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำหมัก  และประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านพึงพอใจและค่อย ๆ ปรับตัวและให้ความสนใจ

     

    0 0

    23. กิจกรรมที่ 10 สารไล่แมลง ครั้งที่ 1 น้ำพ่อน้ำแม่

    วันที่ 5 มิถุนายน 2556 เวลา 09.00น.-15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครู ชาวบ้าน สมาชิก ธ.ต้นไม้ เข้ารับการเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครู นักเรียน ชาวบ้าน สมาชิก ธ.ต้นไม้ มีการทดลองตามสารแมลง จากการเรียนรู้ จากแกนนำ

     

    80 80

    24. ทำสารไล่แมลง ครั้งที่สอง

    วันที่ 7 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ครูดูแลให้นักเรียน เยาวชนและชาวบ้านร่วมกันนำ  วัสดุและพืชในครัวเรือนมาทำสารไล่แมล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมกันทำสารไล่แมลงได้ผลตามเป้าหมายที่วางแผนไว้

     

    0 0

    25. ทำน้ำหมักชีวภาพครั้งที่สอง

    วันที่ 14 มิถุนายน 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้เข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและเยาวชน ตลอดจนชาวบ้าน ได้น้ำน้ำหมักชีวภาพไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์

     

    0 0

    26. ปลูกหญ้าแฝก

    วันที่ 15 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ครูดูแลให้นักเรียน เยาวชนและชาวบ้านร่วมกันปลูกหญ้าแฝก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมกันปลูกหญ้าแฝกได้ตามเป้าหมายที่วางแผนไว้

     

    80 80

    27. ปลูกหญ้าแฝกและปลูกสมุนไพร

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้นักเรียน เยาวชนและชาวบ้านร่วมกันจำนวน 80  คน  ร่วมกันปลูกหญ้าแฝกและพืชสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการปลูกหญ้าแฝกและพืชสมุนไพร

     

    80 80

    28. ทำปุ๋ยหมักและน้ำหมัก

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โดยมีผู้เข้าร่วม 60 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ใช้ปุ๋ยหมักและลดการใช้ปุ๋ยเคมี

     

    60 60

    29. ร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09.00-17.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมงานสร้างสุขคนใต้เป็นเวลา 2 วัน โดยมีตัวแทนโครงการเข้าร่วม 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์กับผู้ร่วมโครงการต่างๆ ในพื้นที่ภาคใต้ ได้องค์ความรู้และเทคนิคในการดำเนินงานจากต่างพื้นที่โครงการ

     

    2 2

    30. ทำรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมข้อมูลและเอกสารการเงินเพื่อสรุปทำรายงานปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รวบรวมข้อมูลและเอกสารการเงินเพื่อสรุปทำรายงานปิดโครงการ และศึกษาโครงการต่างๆเพิ่มเติม

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือน.
    ตัวชี้วัด : 1.1 สมาชิกได้เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนจำนวน 70 คน เป้าหมายให้สมาชิกสามารถเรียนรู้และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้องจำนวน 50 คน 1.2 สมาชิกได้นำการทำบัญชีครัวเรือนไปวางแผนแก้ปัญหาเศรษฐกิจในครอบครัวได้จำนวน 30 คน 1.3 สมาชิกในชุมชนเกิดความสงบและความสุขทั้ง 4 มิติ

     

    2 เพื่อให้สมาชิกในชุมชนได้เรียนรู้และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 2.1 สมาชิกในกลุ่มเป้าหมาย ปลูกผักปลอดสารพิษ ไว้บริโภคภายในครัวเรือน 2.2 สมาชิกได้นำผลผลิตออกไปจำหน่ายเป็นรายได้เสริมทั้งในและนอกชุมชน 2.3 สมาชิกได้ร่วมกันทำกิจกรรมเป็นการเสริมสร้างความอบอุ่น ภายในครอบครัว2.4 สมาชิกลดค่าใช้จ่ายและมีสุขภาพแข็งแรง

     

    3 เพื่อให้คนในชุมชนปลูกต้นไม้เพื่อไว้ใช้สอยและเป็นบำนาญชีวิต
    ตัวชี้วัด : 3.1มีการปลูกต้นไม้ เช่นพันธุ์ไม้ท้องถิ่น โตเร็วและพันธุ์ไม้ยืนต้นทุกชนิด แซมในสวนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 3.2 เพิ่มความมั่นคงทางรายได้แก่ออมเงินและหลักประกันในการดำเนินชีวิต

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือน. (2) เพื่อให้สมาชิกในชุมชนได้เรียนรู้และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง (3) เพื่อให้คนในชุมชนปลูกต้นไม้เพื่อไว้ใช้สอยและเป็นบำนาญชีวิต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ

    รหัสโครงการ 55-01780 รหัสสัญญา 55-00-0939 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    รู้จักที่มาที่ไปของการใช้จ่ายเงิน

    ชมรมผู้สูงอายุ  ได้มีการจัดทำบัญชีและเห็นผลสัมฤทธิ์ ที่ดีกว่าการไม่จัดทำ

    กลุ่มสตรี,กลุ่มออมทรัพย์,กลุ่มทำสวนเข้าร่วมทำกิจกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ผู้ใหญ่บ้านและกลุ่มสตรีในชุมชน

    นายนพชัย ศรีทอง

    หน่วยงานราชการที่สนใจเข้าร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    มีการทำงานร่วมกันกับกลุ่มสตรีหมู่ที่ 6

    นางละไม  พรหมณาเวช

    ร่วมกับกลุ่มต่างๆที่ร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    แบ่งหน้าที่ในการทำงานของโครงการ

    นายธรรมนูญ วีระพันธ์

    ตรวจสอบการทำงานของสมาชิกในโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กลุ่มออมทรัพย์ ,กลุ่มธนาคารต้นไม้

    นายชนะ  เพชรศรี

    กลุ่มสตรี,กลุ่มผู้สูงอายุ,เยาวชนและชาวบ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    นักเรียน,เยาวชน,คนในชุมชนเข้าร่วมเรียนรู้

    โรงเรียนชุมชนวัดปัญณาราม

    โรงเรียนและสถานศึกษาต่างๆใกล้เคียงชุมชนที่สนใจเข้าร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    การปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้นในครัวเรือน

    ครอบครัวละ 9 ต้น เป็นอย่างน้อย

    เพิ่มปริมาณจำนวนต้นไม้ให้มากยื่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    การทำฝายชะลอน้ำ,การปลูกต้นไม้

    นักเรียนโรงเรียนบ้านบางฉาง

    เยาวชนและคนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    ไม่เครียด,รู้จักการใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้น

    สมาชิกคนในชุมชน

    หมู่บ้านใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สุขภาพจิตดีขึ้น,รู้ที่มาที่ไปของเงิน

    คนในครอบครัว

    ญาติพี่น้องและชาวบ้านทั่วไปที่สนใจ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

    มีการขอพันธ์ไม้ไปปลูกเพิ่มขึ้นประมาณ สามสิบเปอร์เซนต์

    นายพนม ศรีสุข

    ให้มีผู้สนใจนำพันธ์ไม้ไปปลูกขึ้นประมาณ 50 เปอร์เชนต์และมีการแลกเปลี่ยนพันธ์ไม้

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    กรมทรัพยากร,สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์

    นางสาวรัชดาภรณ์  บุญวงศ์ จนท.ตรวจบัญชี

    หน่วยงานราชการที่สนใจเข้าร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ปราชญ์หมู่บ้านสอนการเล่นกลองยาว

    นายเฉลย  พรหมแก้ว

    หมู่บ้านใกล้เคียงเห็นประโยชน์ และได้เชิญปราชญ์หมู่บ้านไปสอน ให้กับสมาชิก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการขอสมุดบัญชีครัวเรือนเพิ่มขึ้น

    ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 6 มาขอ มีให้เพียง 10เล่ม แนะนำให้ไปขอ กับหน่วยงานราชการ เช่น สนง.ตรวจบัญชี หรือ ธ.ก.ส.

    แนะนำผู้ใหญ่และผู้ที่สนใจไปขอสมุดบัญชีครัวเรือน จากสำนักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์โดยตรง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    สมาชิกและกลุ่มเป้าหมายที่สนใจในชุมชน

    กลุ่มสตรี,กลุ่มออมทรัพย์

    กลุ่มสมาชิกอื่นๆที่ทำกิจกรรมร่วมกันและเยาวชน,ชาวบ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    สมาชิกในกลุ่มของโครงการรู้จักลงรายละเอียดรายรับรายจ่ายในสมุดบัญชีครัวเรือน

    สมาชิกในโครงการ

    ชาวบ้านและสมาชิกกลุ่มอื่นๆสามารถลงรายละเอียดในสมุดบัญชีครัวเรือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    รู้รายได้รายจ่ายในครัวเรือน

    สมาชิกและกลุ่มเป้าหมาย

    เยาวชน ,ชาวบ้านใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    คนมีส่วนร่วมในการทำบัญชีครัวเรือนเพิ่มขึ้น

    กลุ่มออมทรัพย์,กลุ่มธนาคารต้นไม้,กลุ่มสตรี

    สมาชิก อบต,อสม. และหน่วยงานราชการต่างๆที่สนใจ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ดูจากบัญชีครัวเรือนมีเงินเหลือมากขึ้น

    จากการประชุมสอบถามสมาชิก

    สมาชิกลุ่มอื่นๆที่ทำกิจกรรมร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น

    เยาวชน,ผู้สูงอายุ,คนในชุมชน

    กลุ่มสมาชิกกลุ่มอื่นๆใกล้เคียงทำกิจกรรมร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    ร่วมตัวกันแสดงความคิดเห็นตัดสินใจโดยเสียงส่วนใหญ่

    สมาชิกในกลุ่ม

    สมาชิกในกลุ่มต่างๆร่วมแสดงความคิดเห็น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านทุ่งคาเรียนรู้บัญชีวิถีพ่อ จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 55-01780

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ธรรมนูญ วีระพันธุ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด