directions_run

โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55 ”

14 จังหวัดพื้นที่ภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
สจรส.มอ.

ชื่อโครงการ โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55

ที่อยู่ 14 จังหวัดพื้นที่ภาคใต้ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 55-01999 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0840

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2555 ถึง 31 ธันวาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 14 จังหวัดพื้นที่ภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55 " ดำเนินการในพื้นที่ 14 จังหวัดพื้นที่ภาคใต้ รหัสโครงการ 55-01999 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2555 - 31 ธันวาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,133,750.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

วัตถุประสงค์หลัก เพื่อสนับสนุน ติดตามและประเมินผล การดำเนินงานของโครงการต่อไปนี้

  1. โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ปี 2555 -2556 คาดว่าจะมีประมาณ 150 โครงการ
  2. โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ปี 2553 -2554 ที่เป็นโครงการต่อยอดจำนวน 9 โครงการ
  3. โครงการเปิดรับทั่วไปที่ได้รับการสนับสนุนอยู่แล้วประมาณ 20 โครงการ
  4. โครงการเปิดรับทั่วไปที่เป็นโครงการใหม่ผ่านการอนุมัติประมาณ 30 โครงการ

วัตถุประสงค์ย่อย

  1. เป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้รับทุนในพื้นที่ที่ได้รับการสนับสนุนทุนจาก สสส. ในโครงการ 1-4
  2. พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของผู้รับทุนให้เป็นกลไกสำคัญในชุมชนในการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะ ตลอดจนเป็นตัวอย่างเพื่อการเรียนรู้ให้แก่พื้นที่อื่นๆ และจัดกระบวนการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
  3. เพื่อการสังเคราะห์ความรู้ ศึกษาผลลัพธ์และการปฏิบัติที่สะท้อนคุณค่าตามหลักแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ อันเป็นผลจากการสร้างการมีส่วนร่วมและการเคลื่อนไหวของชุมชน
  4. พัฒนาระบบติดตามประเมินผล โดยใช้ information technology

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกลไกการพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำหนังสือการติดตามสนับสนุนและประเมินผลโครงการ จำนวน 500 เล่ม

วันที่ 30 ตุลาคม 2555

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำหนังสือเพื่อใช้สำหรับเเจก นักวิชาการ คณะทำงาน พี่เลี้ยง และผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ ปี 2555

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำหนังสือเพื่อใช้สำหรับเเจก นักวิชาการ คณะทำงาน พี่เลี้ยง และผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ ปี 2555

 

500 0

2. ประชุมทีมพี่เลี้ยง ติดตามโครงการ

วันที่ 31 ตุลาคม 2555

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพี่เลี้ยงเรียนรู้แผนการสนับสนุนติดตามประเมินผลผ่านเวปไซท์ โดยคุณภาณุมาศ นนทพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงเข้าใจในกระบวนการติดตามโครงการผ่านเวปไซท์แต่มีเนื้อหา หรือวิธีบางขั้นตอนที่สงสัยและต้องการให้มีการปรับแก้เพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของการรายงานโครงการต่อไป

 

0 0

3. ปฐมนิเทศโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ 55 เปิดรับทั่วไป ผู้สูงอายุ

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2555

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ทุกโครงการเพราะเป็นการประชุมครั้งแรกของผู้รับทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบทุกโครงการได้เจอพี่เลี้ยงที่จะคอยติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานตลอดระยะเวลา 1 ปีหลังจากนี้

 

0 0

4. ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการ จ.นครศรีธรรมราช

วันที่ 8 ธันวาคม 2555

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการ จ.นครศรีธรรมราช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี้เลี้ยงเข้าใจกระบวนทัศน์เรื่องการติดตาม สามารถให้คำเเนะนำช่วยเหลือ โครงการในพื้นที่ จ.นครฯ ได้อย่างสมบูรณ์

 

20 0

5. ติดตามโครงการภาคใต้ สสส. ๕๕ ชุมพร

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

6. ติดตามโครงการ พัทลุง

วันที่ 5 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

7. ติดตามโครงการภาคใต้ สสส. ๕๕ สตูล

วันที่ 6 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

8. ติดตามโครงการภาคใต้ สสส. ๕๕ สงขลา

วันที่ 7 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

9. ติดตามโครงการภาคใต้ สสส. ๕๕ ตรัง

วันที่ 8 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบแต่ละโครงการทยอยเข้ามาตรวจความเรียบร้อยโครงการ

 

0 0

10. ติดตามโครงการภาคใต้ สสส. ๕๕ นครศรีธรรมราช

วันที่ 9 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

11. ติดตามโครงการ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

วันที่ 11 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

12. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงติดตามโครงการ สสส.

วันที่ 24 มีนาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างพี่เลี้ยงติดตามในแต่ละภาค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างพี่เลี้ยงติดตามในแต่ละภาค
  • เรียนรู้การติดตามโครงการในแบบออนไลน์

 

0 0

13.

วันที่ 19 เมษายน 2556 เวลา 11:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 ตรวจเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บางโครงการยังงบันทึกกิจกรรมไม่เสร็จ, ใบสำคัญรับเงินไม่เรียบร้อย,

 

0 0

14. ประชุมพี่เลี้ยงติดตามโครงการภาคใต้ สสส. ๕๕

วันที่ 3 พฤษภาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

1.พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงาน จาก สสส. สจรส. และพี่เลี้ยง

2 สรุปแนวทางแก้ปัญหาร่วม

3.คัดเลือกโครงการเด่นและนำไปสู่การสังเคราะห์ถอดบทเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.พี่เลี้ยง 11 จังหวัดภาคใต้ประกอบด้วย ตรัง สตูล กระบี่ พังงา สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร สุราษฎร์ธานี เข้าร่วมประชุมพูดคุยแลกเปลี่ยน การดำเนินงานร่วมกันถึงปัญหาพี่เลี้ยง ทีม สจรส. สสส.

2.ได้โครงดารเด่น 35 โครงการ

 

0 0

15. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ ตรัง สตูล กระบี่ พังงา

วันที่ 6 พฤษภาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

12.00-13.00 น. ลงทะเบียน

13.00-14.00 น. - หลักการ วัตถุประสงค์
- ภาพรวมโครงการพื้นที่ภาคใต้
- ภาพรวมผลการติดตาม ปัญหา อุปสรรค - การสังเคราะห์เชิงคุณค่าของการดำเนินงานและการพัฒนาต่อยอดโครงการ
โดย  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มอ.

14.00-17.30 น. แบ่งกลุ่ม 8 กลุ่ม อภิปราย และแลกเปลี่ยน
กลุ่มที่ 1 ตรัง นายเชภาดร จันทร์หอม กลุ่มที่ 2 ตรัง นางสาวใบเฟริ์น สุวรรณมณี กลุ่มที่ 3 พังงา นางสุทธาทิพย์ ทวีกิจพัฒนภักดี กลุ่มที่ 4 พังงา นางอุไรวรรณ ตัณฑอาริยะ กลุ่มที่ 5 กระบี่ นางทวีชัย อ่อนนวน กลุ่มที่ 6 สตูล นางนฤมล อุโหยบ กลุ่มที่ 7 สตูล นางวราภรณ์ แก้วเหมือน กลุ่มที่ 8 สตูล นายสุทธิชาติ เมืองปาน - ทบทวน นำเสนอผลการการดำเนินงาน
• ความคาดหวัง เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน
• แผน และการดำเนินการตามแผน (ตามแผน ล่าช้า ปัญหา สาเหตุ) • ปัญหา อุปสรรค แนวทางการแก้ไข
• ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยง สจรส. สสส. • การรายงานผลทาง website (ปัญหา อุปสรรค แนวทางการแก้ไข) • การจัดทำรายงาน (ปัญหา อุปสรรค แนวทางการแก้ไข)

17.30-18.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย

18.00 -19.00 น. พักรับประทานอาหารเย็น

19.00 -21.00 น. นำเสนอผลการแลกเปลี่ยน 8 กลุ่มๆละ 10 นาที

วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม 2556

09.00-11.00 น. การวิเคราะห์คุณค่าจากการดำเนินงาน โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มอ.       และทีมสังเคราะห์

11.00-12.00 น. แผนการดำเนินงานของโครงการและบทบาทหน้าที่ ของพี่เลี้ยงในระยะต่อไป รายงานความก้าวหน้า (ส.1-ส.4) รายงานการเงิน(ง.1-ง.2)

12.00 -13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. เดินทางกลับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่เข้าร่วมทั้งสิ้นจำนวน

 

0 0

16. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการสงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

วันที่ 8 พฤษภาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มจังหวัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการสงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการสงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

 

0 0

17. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ ชุมพร ระนอง สุราษฏร์ธานี

วันที่ 12 พฤษภาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 11 พ.ค. 56 13.00 น. อ.พงค์เทพกล่าวที่มา วัตภุปรสงค์การจัดประชุมและสะท้อนปัญหาการติดตามที่พบจากการติดตาม จากนั้นจึงแบ่งกลุ่ม ให้ผู้รับผิดชอบโครงการในการแลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยง เรื่องคุณค่าของโครงการ และทำการป้อนข้อมูลลงในเว็บ วันที่ 12 พ.ค. 56 โครงการที่สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์คุณค่าได้มานำเสนอผลและแนวทางการต่อยอดในปีถัดไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบปัญหาที่เกิดขึ้นของระบบการติดตาม การดำเนินงานในพื้นที่
ได้แนวทางพัฒนาโครงการต่อยอดในปี 2556

 

0 0

18. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ นครศรีธรรมราช

วันที่ 13 พฤษภาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

อ.พงค์เทพกล่าวชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม แบ่งกลุ่ม 10 กลุ่มโดยมีพี่เลี้ยง จ.นครศรีธรรมราชประจำทุกกลุ่ม ดำเนินการใช้แบบประเมิน ทุกโครงการดำเนินการกรอกข้อมูลลงในเว็บคนใต้สร้างสุข มีการนำเสนอโครงการ ผลการดำเนินงาน โครงการเด่นและคาดว่าจะต่อยอดในปีหน้า ในการประชุมโครงการมีการนำผลิตผลจากโครงการมาใช้จัดนิทรรศการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีโครงการที่ผ่านการสังเคราะห์ และเป็นตัวอย่างดีๆพร้อมที่จะดำเนินการต่อ ประมาณ 20 โครงการ

 

0 0

19. ประชุมทีมพี่เลี้ยง ติดตามโครงการ

วันที่ 18 มิถุนายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจสอบความสมบูรณ์ ของข้อมูลติดตามของพี่เลี้ยงในงวดที่ 2

  • แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดทำรายงานบันทึกการติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • พี่เลี้ยงติดตามภาคใต้ ลงบันทึกติดตามการดำเนินงานงวดที่ 2 ของแต่ละโครงการเสร็จสิ้น

 

0 0

20. ปฐมนิเทศโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ 55 รอบ 2 และโครงการต่อยอด 54

วันที่ 19 มิถุนายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 19 มิถุนายน 2556
เริ่มด้วยผู้เข้าร่วมประชุมชมวิดิทัศน์แนะนำ สสส. หลังจากนั้นคุณปรีดารัตนศรัทธานนท์กุล ได้ชี้แจงความคาดหวัง และแนวทางการดำเนินของสสส. หลังจากนั้น ผศ.ดร.พงค์เทพสุธีรวุฒิ ได้ชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของการประชุมในสองวัน โดยมุ่งหวังให้ผู้เข้าร่มได้เรียนรู้ทำความเข้าใจระบบบริหารจัดการโครงการ และระบบการติดตามการดำเนินงานของ สสส. วันที่ 20 มิถุนายน 2556 เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ.ได้อธิบายบทบาทการติดตามการดำเนินงานพี่เลี้ยง บทบาทของผู้รับผิดชอบโครงการ แนวทางการบริหารจัดการด้านกานเงิน และทำความรู้จักกับแบบฟอร์มต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารวมประชุมทั้งสิ้น 94 คนเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ 66 คน พี่เลี้ยง 28 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 54 รุ่น 2 18 โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 53 รุ่น 2 5 โครงการ โครงการ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 55 8 โครงการ

 

0 0

21. ติดตามและถอดบทเรียนโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ 55

วันที่ 29 มิถุนายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สงขลา ที่เข้าร่วมทั้งสิ้น 9 โครงการ ได้แก่ 55-01789 สร้างสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร55-01793 วิทยาลัยทุ่งโพ เรียนรู้ร่วมกัน ร่วมสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่55-01794 ฟื้นคืนชีวิตใหม่ คลองสองสะอาด สู่ชุมชนน่ามอง 55-01891 การคัดแยกขยะและการกำจัดขยะเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม 55-01892 ชาวปากช่องประสานใจ สร้างถนนสายหลัก สานใยรักษ์สุขภาพชุมชน 55-01917 วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค 55-01928 มุสลิมะห์ประสานใจ ต้านภัยยาเสพติดด้วยวิถีชีวิตพอเพียง และถอดบทเรียน 4 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สงขลา ที่เข้าร่วมทั้งสิ้น 9 โครงการ ได้แก่ 55-01789 สร้างสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร55-01793 วิทยาลัยทุ่งโพ เรียนรู้ร่วมกัน ร่วมสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่55-01794 ฟื้นคืนชีวิตใหม่ คลองสองสะอาด สู่ชุมชนน่ามอง 55-01891 การคัดแยกขยะและการกำจัดขยะเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม 55-01892 ชาวปากช่องประสานใจ สร้างถนนสายหลัก สานใยรักษ์สุขภาพชุมชน 55-01917 วงเวียนสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค 55-01928 มุสลิมะห์ประสานใจ ต้านภัยยาเสพติดด้วยวิถีชีวิตพอเพียง
โครงการ 55-01790 พัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ
55-01791 บูรณาการชีวิต คู่เศรษฐกิจพอเพียงของชาวสะกอม 55-01792 แนวทางร่วมสร้างชุมชนป้อมหกให้น่าอยู่  ไม่ได้เข้าร่วม แต่ขอเลื่อนเป็นวันจันทร์ที่ 1 กรกฏาคม 2556

 

0 0

22. ติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สงขลา

วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การติดตามการรายงานผลการดำเนินงาน การายงานทางเง็บไซต์ การรายงานการใช้จ่ายเงินและการถอดบทเรียนโครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ รหัส 55-01790  โครงการแนวทางร่วมสร้างชุมชนป้อมหกให้น่าอยู่ รหัส 55-01792 และโครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะอย่างต่อเนื่อง  รหัส 55-00877

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรายงานผลการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน หลักฐานการใช้จ่ายเงิน และสังเคราะห์บทเรียนโครงการแนวทางร่วมสร้างชุมชนป้อมหกให้น่าอยู่ รหัส 55-01792 และโครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะอย่างต่อเนื่อง  รหัส 55-00877

 

0 0

23. ติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ สสส. ๕๕ จ.นครศรี

วันที่ 21 กรกฎาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

09.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 55 จ.นครศรีธรรมราช เดินทางมาร่วมกระบวนการที่ สจรส.มอ.และทีมพี่เลี้ยงจ.นครศรีธรรมราช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช 28 โครงการ และพี่เลี้ยงติดตามโครงการ เข้าร่วมรายงานผลการดำเนินงาน

 

0 0

24. ติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ สสส. ๕๕ จ.ตรัง

วันที่ 24 กรกฎาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

25. ติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สตูล

วันที่ 27 กรกฎาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

13.30 น.นัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการ การจัดการอ่าวทุ่งนุ้ย โครงการ 3 ออม ด้วยพืชผักพื้นบ้านโครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ ที่ สจรส.มอ. ชั้น14 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ม.สงขลานครินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการ การจัดการอ่าวทุ่งนุ้ย โครงการ 3 ออม ด้วยพืชผักพื้นบ้านโครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ ที่ สจรส.มอ. ชั้น14 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ม.สงขลานครินทร์

 

0 0

26. พัฒนาโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ 56

วันที่ 29 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยง จ.ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พังงา กระบี่ สตูล สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส เข้าร่วมกระบวนการพิจารณาโครงการ ในวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมหาดใหญ่พาราไดซ์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลามีการปรับกำหนดการ โดยเริ่มพิจารณาโครงการ 10.00 น.คุณปรีดารัตน์ศรัทธานนทกุล จาก สำนัก6 สสส. กล่าวที่ไปที่ไป โดยมีโครงการที่เข้ารับการพิจารณาจาก 11 จังหวัด จำนวน 66 โครงการ หลังจากนั้น พี่เลี้ยงโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ และกรรมการ มีการพูดคุยแลกเปลี่ยน และทำความเข้าใจถึง กติกา ข้อตกลง การพิจารณาโครงการ และปรับแก้  ทีมพี่เลี้ยง และผู้ทรงคุณวุฒิจาก สสส. มีการประชุมทำความเข้าใจกติกา หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ วิธีการพัฒนาโครงการของพี่เลี้ยงปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นจึงแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 กรรมการ ทพ.ศิริชัย ชูประวัติ พิจารณาโครงการ จ.นครศรีธรรมราช กลุ่ม 2 กรรมการ นางธิดา ศรีไพรพรรณ์ พิจารณาโครงการ จ.กระบี่ นครศรีธรรมราช กลุ่ม3 นพ.กิจจา เรื่องไทย พิจารณาโครงการ จ.ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล กลุ่มที่ิ 4 นายสุรินทร์ กิตนิจชีว์ พิจารณาโครงการจ.สุราษฎร์ธานี สงขลา พังงา และชุมพรกลุ่มที่ 5 นพ.บัญชา พงษ์พานิช พิจารณาโครงการ จ.ชุมพร โดยเมื่อพี่เลี้ยงรับทราบผลการพิจารณาและข้อเสนอแนะจากกรรมการพี่เลี้ยงจึงดำเนินการปรับแก้ ระหว่างแก้ก็จะมีการประสานกับผู้รับผิดชอบโครงการเป็นระยะ โดยมีกำหนดปรับแก้ใ้เสร็จภายในวันที่ 30 กรกฏาคม 2556

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่ปรับแก้และผ่านการพิจารณาจำนวน 60 โครงการ สุราษฎร์ธานี 2 โครงการ ชุมพร 21 โครงการ นครศรีธรรมราช 22 โครงการ กระบี่ 2 โครงการ พังงา 2 โครงการ พัทลุง2 โครงการ นราธิวาส 2 โครงการ สงขลา 1 โครงการ สตูล  6 โครงการ

 

0 0

27. ติดตามโครงการ จ.ชุมพร และจังหวัดระนอง

วันที่ 2 สิงหาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมงาน สจรส.มอ. พี่เลี้ยงชุมพร คุณเบญจา รัตนมณี คุณสมใจ ด้วงพิบูลย์ คุณยุทธนา รัตนมณี พี่เลี้ยง จ.ระนอง คุณบุษกร อุ่ยเต๊กเค่ง ร่วมกับ ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร และระนอง เข้าร่วมกระบวนการติดตามโครงการ และร่วมถอดประสบการณ์การทำงานของโครงการเด่นๆจังทั้งสองจังหวัด โดยมีคุณถนอม ขุนเพช็ร เก็บประเด็น จากวงชวนคิด ชวนพูด ชวนคุย ได้ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อมาเรียบเรียงเป็นบทเรียนการทำงานจากพื้นที่

 

0 0

28. ติดตามโครงการ ชชน่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช

วันที่ 6 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  อ.นัยนา หนูนิล นัดโครงการที่รับผิดชอบเป็นพี่เลี่ยงมา ให้ทาง สจรส.พูดคุย ปัญหาและหาทางออก ของโครงการสร้างสุขชุมชนคนสระบัว ถึงแผนการทำงานในช่วงเวลาที่เหลือรวมทั้งปัญหาที่พบในการบริหารจัดการโครงการที่ทำให้โครงการไม่สามารถดำเนินการได้ในช่วงที่ผ่านมา และขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน และทีมงานที่ประสบปัญหาการขาดทักษะการบริหารจัดการโครงการ ส่วนอีกโครงก่าร

โครงการบ้านดอนทะเลร่วมใส่ใจรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นโครงการที่ อ.นัยนาเห็นว่าเป็นโครงการที่มีคุณค่า มีการดำเนินงานอย่างเข้มแข็งมีประสิทธิภาพภายใต้ระบบการบริหารจัดการชุมชนโดยคณะทำงานที่มีแบบแผนและให้ความสำคัญกับกระบวนการสร้างทีมและการมีส่วนร่วมของชุมชนควรที่จะมีการหนุนเสริมกระบวนการเพิ่มเติม ยกระดับและพัฒนาต่อยอด โดย อ.นัยนามองเห็นแนวโน้มว่าชุมชน ทีมงานมีโอกาสที่จะพัฒนาชุมชนได้ และบริหารจัดการชุมชนได้อย่างโปร่งใสและอยู่ภายใต้หลักธรรมมาภิบาล

 

0 0

29. พี่ถนอม รายงานความก้าวหน้า ถอดบทเรียน ชชน่าอยู่ 55

วันที่ 14 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานความก้าวหน้าการลงพื้นที่ถอดบทเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการลงพื้นที่ถอดบทเรียนโ๕รงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ปี 2555 13 จังหวัดสามารถถอดบทเรียนออกมาได้ 40 โครงการ เพื่อจัดพิมพ์เป็นเล่มก่อนส่งมอบให้ผู้รับผิดชอบโครงการ สสส และผู้ที่ต้องการ

 

0 0

30. ติดตามโครงการ ชชน่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช

วันที่ 23 สิงหาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

09.30 น.สจรส. และพี่เลี้ยงเข้าร่วมเวทีสรุปงานกับสมาชิก ผู้รับผิดชอบโครงการ สร้างกระบวนการเรียนรู้สู่ชีวิตที่ปลอดโรค หมูที่ 9 ต.เขาพระบาท อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 40 คน มีตัวแทนจาก อบต .และกศน.เข้าร่วมสังเกตการณ์แลกเปลี่ยน11.30 น.ร่วมกับ หมู่ที่ 4 โครงการ สานสัมพันธ์คนสามวัยสืบสานตำรับสมุนไพรพื้นบ้าน ผู้เข้าร่วมประมาณ 60 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการสรุปผลการดำเนินงานจาก 2 พื้นที่ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม และแนวทางการพัฒนาต่อยอด และแนวทางทำงานร่วมกันตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ เช่น อบต. กศน. โรงเรียน ภายใต้กติกาชุมชน

 

0 0

31. ประชุมพี่เลี้ยงโครงการ

วันที่ 31 สิงหาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงจำนวน 30 คน ผู้แทนจาก สสส 2 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ระดมความคิดและหารือ การเชื่อมต่อระบบติตดามเว๊บไซด์ของสจรส. และระบบติดตามสำนัก 6 ตลอดจนอุปสรรคที่พบ โดย คุณภาณุมาศ นนทพันธ์ คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล คุณพิชัย บูรณะ ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และพี่เลี้ยงติดตามโครงการ

 

0 0

32. ติดตามความก้าวหน้ากลุ่มจังหวัดนครศรีธรรมราช

วันที่ 16 กันยายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจรายงานการบันทึกกิจกรรม ตรวจเอกสารรายงานการเงินของทุกโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการเข้าร่วมกิจกรรม พี่เลี้ยงมีความมุ่งมั้นในการให้ความรู้ ช่วยเหลือโครงการ ทำรายงานฉบับสมบูรณ์ และลงบันทึกกิจกรรมครบ รายงานการเงินบางโครงการเรียบร้อย บางโครงการก็ยังขาดความละเอียด รอบคอบ

 

0 0

33. ติดตามความก้าวหน้าโครงการจังหวัดพัทลุง

วันที่ 17 กันยายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามตรวจสอบ การดำเนินกิจกรรม เอกสารหลักฐานทางการเงิน ของกลุ่มจังหวัดพัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการบางส่วนไม่สามารถทำรายงานฉบับสมบูรณ์ได้ เนื่องจากยังทำกิจกรรมไม่ครบ ยังลงบันทึกกิจกรรมม่เสร็จ ทำให้ต้องขยายเวลาในการส่งรายงานฉบับสมบูรณ์กับทาง สจรส

 

0 0

34. ติดตามโครงการจังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 18 กันยายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามตรวจสอบ การดำเนินกิจกรรม เอกสารหลักฐานทางการเงิน ของกลุ่มจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกโครงการที่เข้าร่วมสามารถทำรายงานฉบับสมบูรณ์ ลงบันทึกกิจกรรมทุกกิจกรรม ตรวจสอบรายงานการเงิน

 

0 0

35. ติดตามโครงการจังหวัดชุมพร

วันที่ 19 กันยายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจรายงานฉบับสมบูรณ์
  • ตรวจรายงานการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ตรวจรับรายงานฉบับสมบูรณ์
  • ตรวจรายงานการเงิน
  • ตรวจเอกสารหลักฐานทางการเงิน

 

0 0

36. ติดตาม ปิดโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ 55

วันที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจรับรายงานฉบับสมบูรณ์ ตรวจรายงานการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • โครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ประมาณ 30 โครงการได้เดินทางมาส่งรายงานฉบับสมบูรณ์
  • ตรวจรายงานฉบับสมบูรณ์
  • ตรวจรายงานการเงิน

 

0 0

37. จัดทำหนังสือ สวรรค์บ้านใต้ บทเรียนการขับเคลื่อนชุมชน และท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2556

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำหนังสือ สวรรค์บ้านใต้ บทเรียนการขับเคลื่อนชุมชน และท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำหนังสือ สวรรค์บ้านใต้ บทเรียนการขับเคลื่อนชุมชน และท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ จำนวน 1000 เล่ม

 

1 0

38. ประชุมกลไกการพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

วันที่ 5 ธันวาคม 2556

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลไกการพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมกลไกการพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
วัตถุประสงค์หลัก เพื่อสนับสนุน ติดตามและประเมินผล การดำเนินงานของโครงการต่อไปนี้ 1. โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ปี 2555 -2556 คาดว่าจะมีประมาณ 150 โครงการ 2. โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ปี 2553 -2554 ที่เป็นโครงการต่อยอดจำนวน 9 โครงการ 3. โครงการเปิดรับทั่วไปที่ได้รับการสนับสนุนอยู่แล้วประมาณ 20 โครงการ 4. โครงการเปิดรับทั่วไปที่เป็นโครงการใหม่ผ่านการอนุมัติประมาณ 30 โครงการ วัตถุประสงค์ย่อย 1. เป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้รับทุนในพื้นที่ที่ได้รับการสนับสนุนทุนจาก สสส. ในโครงการ 1-4 2. พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของผู้รับทุนให้เป็นกลไกสำคัญในชุมชนในการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะ ตลอดจนเป็นตัวอย่างเพื่อการเรียนรู้ให้แก่พื้นที่อื่นๆ และจัดกระบวนการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 3. เพื่อการสังเคราะห์ความรู้ ศึกษาผลลัพธ์และการปฏิบัติที่สะท้อนคุณค่าตามหลักแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ อันเป็นผลจากการสร้างการมีส่วนร่วมและการเคลื่อนไหวของชุมชน 4. พัฒนาระบบติดตามประเมินผล โดยใช้ information technology

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกลไกการพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการติดตาม สนับสนุน เสริมพลัง โครงการภาคใต้ ปี 55 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 55-01999

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สจรส.มอ. )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด