directions_run

โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา ”

พื้นที่ 16 อำเภอในจังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 084-6316179

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา

ที่อยู่ พื้นที่ 16 อำเภอในจังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 55-01192 เลขที่ข้อตกลง 56-00-0393

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 ถึง 30 เมษายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ 16 อำเภอในจังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ 16 อำเภอในจังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 55-01192 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2556 - 30 เมษายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 517,450.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1840 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในระดับพื้นที่ในการคุ้มครอง ตนเองและสมาชิกในชุมชน
  2. 2.เพื่อพัฒนากลไกการคุ้มครองผู้บริโภคเชิงรุกในระดับพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่น
  3. 3.เพื่อสร้างนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค
  4. การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การรับเรื่องร้องเรียน ในระดับพื้นที่ ทั้งเดือน

    วันที่ 26 เมษายน 2556 เวลา 08:30 - 17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้บริโภครู้ช่องทางและมีการร้องเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้บริโภครู้ช่องทางและร้องเรียน จำนวน 9 เรื่อง

     

    9 9

    2. เผยแพร่ข้อมูลผ่านวิทยุ

    วันที่ 29 เมษายน 2556 เวลา ทุกวันจันทร์ เวลา11.00-12.00 น. และทุกวันเสาร์ เวลา 06.00-07.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้มีการจัดรายการวิทยุผ่านรายการสภาผู้บริโภค ทางสถานีวิทยุชุมพุทธเรดิโอ 106.75 เพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ทุกวันจันทร์ เวลา 11.00-12.00 น.  และ ทุกวันเสาร์ เวลา 06.00-07.00 น.รายการตลาอนัดผู้บริโภค ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เอฟเอ็ม 88.0 MHz.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดรายการเผยแพร่ข้อมูล 2 สถานี 

     

    1,600 2,000

    3. เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    วันที่ 30 เมษายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริโภค สถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคผ่านสื่อเวปไซต์ เพิ่มช่องทางให้ผู้บริโภคในการร้องเรียน ทราบช่องทางผ่านสื่อเวปไวต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้บริโภคที่ทราบช่องทางผ่านเวปไซต์ แล้ว โทรเข้ามาร้องเรียน

     

    1,000 1,000

    4. เผยแพร่ข้อมูลผ่านสถานีวิทยุชุมชน และ กระแสหลัก

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดกิจกรรมรายการสภาผู้บริโภค ทุกวันจันทร์ เวลา 11.00-12.00 น. ทางสถานีวิทยุพุทธเรดิโอ 106.75

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้บริโภคโทรเข้ามาสอบถามข้อมูลในรายการ

     

    16 16

    5. สนับสนุนปฏิบัติการรับเรื่องร้องเรียน ในระดับพื้นที่

    วันที่ 29 พฤษภาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 1 เรื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้บริโภคสามารถรู้ช่องทางการร้องเรียนได้

     

    1 1

    6. เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการเผยแพร่ข้อมูลและ ผู้บริโภคสามารถเข้าสืบค้นข้อมูลได้

     

    16 16

    7. ปฐมนิเทศโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ ร่วม กับ สจรส.

    วันที่ 19 มิถุนายน 2556 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบการจัดการบริการโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้ระบบการจัดการที่ดี

     

    2 2

    8. การเผยแพร่ข้อมูลผ่านวิทยุชุมชน และ วิทยุกระแสหลัก

    วันที่ 24 มิถุนายน 2556 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดรายการสภาผู้บริโภคทางวิทยุชุมชน 106.75

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดรายการวิทยุเผยแพร่ข้อมูล

     

    16 16

    9. สนับสนุนพื้นที่ดำเนินกิจกรรม

    วันที่ 25 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานให้กับพื้นที่ ทั้ง 16 อำเภอ โดยจัดเป็นเวทีย่อย ในแต่ละกลุ่มเวที  โดยพื้นที่จะเป็นกลไกในการสร้างความเข้าใจในระดับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีพื้นที่เป้าหมาย 16 อำเภอ และได้มีการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินกิจกรรมให้กับพื้นที่

     

    400 400

    10. เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    วันที่ 26 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเผยแพร่ข้อมูลสถานการณืผู้บริโภค และความรู้เกี่ยวผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถนำข้อมูลความรู้ที่ได้ไปขยายผลเผยแพร่ได้

     

    100 100

    11. ปฏิบัติการรับเรื่องร้องเรียนในระดับพื้นที่ 16 อำเภอ

    วันที่ 27 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีเรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้บริโภคเข้าถึงช่องทางการร้องเรียน

     

    1 1

    12. จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความเข้าใจโครงการกับเคือข่ายอาสาสมัคร

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ  จำนวน 35-40 คน  กับเครือข่ายอาสาสมัคร 16 อำเภอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เกิดเครือข่ายอาสาสมัคร

    -เกิดแผนปฏิบัติงานระดับพื้นที่

     

    40 40

    13. ประชุมแกนนำอาสาสมัครในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับพื้นที่

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมกับเครือข่ายอาสาสมัคร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ระดับพื้นที่มีการติดต่อกับท้องถิ่นเพื่อการทำงานร่วมในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

     

    25 0

    14. เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวบไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการนำ

     

    100 0

    15. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่จ.สงขลา 16 อำเภอ

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีเื่รื่องร้องเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 3 เรื่อง

     

    3 3

    16. เวทีอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนและการจัดการแก้ไขปัญหาผู้บริโภค

    วันที่ 22 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ระดมปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่

    2.กิจกรรมสถานีคำถาม 4 ข้อ

    3.กิจกรรมเจ้าปัญหา ดดยวิเคราะห์กรณีร้องเรียนและกระบวนการจัดการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -แกนนำอาสาสมัครสามารถนำควารู้ที่ได้ไปเผยแพร่และจัดการต่อได้ในชุมชน

    -เกิดแกนนำและคณะทำงานในระดับพื้นที่

    -พื้นที่มีแผนปฏิบัติการในพื้นที่

     

    50 50

    17. ปฎิบัติการรับเรื่องร้องเรียน

    วันที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับเรื่องร้องเรียนจากผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 6 เรื่อง

     

    400 400

    18. รับเรื่องร้องเรียน แก้ไขประสานงาน ส่งต่อเรื่องร้องเรียน

    วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำอาสาสมัครดำเนินการรับเรื่องร้องเรียน พร้อมแก้ไขปัญหา สามารถให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการแก้ไขปัญหาผู้บริโภคที่เข้ามาร้องเรียน  และส่งต่อเรื่องร้องเรียนมายังสมาคมผู้บริโภคสงขลาได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำอาสาสมัครดำเนนินการรับเรื่องร้องเรียนในพื้นที่ของแต่ละอำเภอผ่านช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลของแกนนำอาสาสมัครในพื้นที่ เช่น การจัดเวทีให้ความรู้ในชุมชน การจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ เวทีเทศบาลพบประชาชน การเผยแพร่ผ่านเสียงตามสายของหมู่บ้าน มีการวางแผนการทำงานร่วมกันของคณะทำงานเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงสิทธิ สามารถพิทักษ์สิทธิของตนเองและผู้อื่นได้  กรณีเรื่องร้องเรียน  ด้านอาหาร ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ  เช่น อาหารหมดอายุ  ด้านสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น เอสเอ็มเอสรบกวน  ด้านสินค้าและบริการทั่วไป เช่น ซื้อสินค้าไม่ได้คุณภาพ ด้านบริการสาธารณะ เช่น การใช้บริการรถโดยสารสารธารณะ เป็นต้น

     

    3 3

    19. เผยแพร่วิทยุ

    วันที่ 23 กันยายน 2556 เวลา เวลา 11.00-12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ดำเนินการจัดรายการสถาผู้บริโภค ทางสถานีวิทยุชุมชน พุทธเรดิโอ เอฟเอ็ม 106.75  เมกกะเฮิร์ท  ทุกวันจันทร์ เวลา 11.00-12.00 น. โดยมีกำลังส่งให้กับผู้บริโภคในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ และ พื้นที่รอบนอกที่ใกล้กับอำเภอหาดใหญ่
    -ดำเนินการจัดรายการตลาดนัดผู้บริโภค ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เอฟเอ็ม 88.00 เมกกะเฮิร์ท  ทุกวันเสาร์ เวลา 06.00-07.00 น. โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 16 อำเภอ ในจังหวัดสงขลาและ จังหวัดใกล้เคียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สถานีวิทยุชุมชน เอฟเอ็ม 106.75 MHz.ในช่วงการจัดรายการวิทยุ ผู้ดำเนินรายการได้แบ่งเป็นช่วงการจัด 3 ช่วง ด้วยกัน คือ =ช่วงที่ 1 สรุปสถานการณ์ผู้บริโภค  ช่วงที่ 2 ทันข่าวผู้บริโภค  และช่วงที่ 3 เคล็ดลับผู้บริโภค  ซึ่งแต่ละช่วงมีการพูดคุยสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภตและยกตัวอย่างกรณีร้องเรียนของผู้บริโภคที่ถูกเอารัดเอาเปรียบพร้อมแนวทางการแก้ไข มาพูดคุยในรายการและ ผู้ฟังสามารถโทรเข้ามาแลกเปลี่ยนหรือฝากประเด็นก็ได้
    -สถานีวิทยุกระแสหลัก สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เอฟเอ็ม 88.0 MHz. ผู้ดำเนินรายการได้แบ่งช่วงการจัดรายการ 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1  ทันข่าวผู้บริโภค  ช่วงที่ 2 จับประเด็นผู้บริโภค และช่วงที่ 3 ผู้บริโภคมืออาชีพ  ซึ่งแต่ละช่วงมีการนำสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคมาพูดคุย และ มีการจับประเด็นผู้บริโภคโดยการสัมภาษณ์สดวิทยากรให้ข้อมูลในแต่ละประเด็น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้บริโภคในช่วงสถานการณ์ นั้น ๆ เช่น กรณีไฟฟ้าดับ  กรณีทีวีดิจิตอล  กรณีขนมเด็กหน้าโรงเรียน กรณีการเลือกซื้อผัก(เกษตรปลอดสาร)  เป็นต้น

     

    100 100

    20. เผยแพร่เวปไซต์

    วันที่ 24 กันยายน 2556 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อโซเซียลมีเดีย คือ ผ่านเวบไซด์ www.consumersongkhla.org โดยกลุ่มผู้บริโภคทั่วไปที่สามารถเข้าถึงสื่อโซเซียลมีเดีย จะเป็นกลุ่มคนที่ค้นหาข้อมูลการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค การละเมิดสิทธิผู้บริโภค ทำให้เป็นช่องทางการเข้าถึงหน่วยงานที่ทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น  และสามารถเข้าไปร้องเรียนหรือปรึกษาปัญหาผู้บริโภคต่างๆ ผ่านกระดานสนทนาของเวปไซต์ได้อย่างรวดเร็ว  โดยมีการอัพโหลดข้อมูลข่าวสถานการณ์ปัญหาที่เกี่ยวกับผู้บริโภค และ ข้อมูลเรื่องสิทธิต่าง ๆ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลเรื่องสิทธิผู้บริโภคผ่านสื่อโซเซียลมีเดียคือ เวปไซต์ www.consumersongkhla.org เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาผู้บริโภค หรือแนะนำช่องทางการพิทักษ์สิทธิผ่านกระดานสนทนาเว็บบอร์ด  เป็นช่องทางที่ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงการร้องเรียน  ได้ความรู้จากการค้นหาข้อมูลผ่านเวปไซต์  มีการเผยแพร่ข้อมูลกันอย่างต่อเนื่องหรือการบอกต่อข้อมูลของผู้บริโภค สามารถนำข้อมูลไปเผยแพร่ต่อได้กับคนในชุมชน

     

    300 300

    21. สนับสนุนกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูล และ จัดทำชุดนิทรรศการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พื้นที่สามารถนำชุดนิทรรศการไปจัดกิจกรรมเผยแพร่ในงานเทสกาลต่าง ๆ ในระดับพื้นที่ได้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มผู้บริโภค ประชาชนทั่วไปในพื้นที่เข้าถึงสิทธิ และ รู้ช่องทางการร้องเรียนได้

     

    100 100

    22. รับเรื่องร้องเรียน

    วันที่ 28 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับเรื่องร้องเรียน แก้ไขปัญหาผู้บริโภค จำนวน 6 เรื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้บริโภคเข้ามาร้องเรียนที่สมาคมผู้บริโภคสงขลา โดยทราบช่องทางผ่านสื่อวิทยุ  เวปไซต์ แผ่นพับ มีจำนวนเรื่องร้องเรียน  ทั้งเดือน จำนวน 6 เรื่อง คือ  ด้านที่อยู่อาศัย  ด้านสินค้าและบริการทั่วไป  ด้านบริการสาธารณะ  และ ด้านการเงินการธนาคาร  และสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทั้งหมด  ผู้ร้องพอใจในผลการดำเนินงาน

     

    6 6

    23. สนับสนุนกิจกรรมพื้นที่

    วันที่ 30 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ 16 อำเภอ ตามแผนกิจกรรมการดำเนินงานในพื้นที่ เช่น

    จัดทำกิจกรรมประชุมทีมคณะทำงานในพื้นที่

    กิจกรรมรณรงค์เผยแพร่

    การรับเรื่องร้องเรียนในพื้นที่

    จัดทำวงพูดคุยแลกเปลี่ยนกับหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อดำเนนิงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

    เผยแพร่ข้อมูลเรื่องสิทธิผู้บริโภคให้เข้าถึงข้อมูลและมีช่องทางการร้องเรียนได้ในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การดำเนินกิจกรรมสนับสนุนการทำงานของพื้นที่ 16 อำเภอ  เพื่อให้แต่ละอำเภอเกิดแผนงานปฏิบัติการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคได้ในพื้นที่  คือ มีแผนการจัดทำเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนกับหน่วยงาน  การประชุมคณะทำงานในพื้นที่  การรับเรื่องร้องเรียนในพื้นที่  การรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลเรื่องสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ตามงานเทศกาลของแต่ละพื้นที่

     

    176 0

    24. ประชุมสรุปการทำงานของอาสาสมัครในพื้นที่ 16 อำเภอ ครั้งที่ 1

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 - 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีประชุมสรุปบทเรียนการทำงานของพื้นที่ 16 อำเภอ ณ ห้องประชุมมูลนิธิชุมชนสงขลา อาคารชิตตยาแมนชั่น อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยมีกระบวนคือ

    -แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภคในรอบเดือน

    -แลกเปลี่ยนการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่

    -ทำรายละเอียดแผนปฏิบัติงานแต่ละกิจกรรมของพื้นที่ เช่น การรับเรื่องร้องเรียน  การณรงค์เผยแพร่ข้อมูล  การจัดเวทีคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับท้องถิ่นในระดับพื้นที่

    -แลกเปลี่ยนถึงรูปแบบสื่อที่ใช้ในการรณรงค์สำหรับพื้นที่ว่าจะทำสื่อรูปแบบใดเพื่อนำไปใช้ในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ของแต่ละพื้นที่

    -ได้แผนปฏิบัติงานรายละเอียดกิจกรรมที่ชัดเจน

    -ได้รูปแบบสื่อที่จะใช้ในการดำเนินงานในพื้นที่

     

    25 25

    25. จัดเวทีความร่วมมือกับหน่วยงานระดับพื้นที่อำเภอนาทวี

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09.30-13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดเวทีความร่วมมือในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ อ.นาทวี  ณ ห้องประชุมอบต.นาหมอศรี อ.นาทวี จ.สงขลา  โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในระดับพื้นที่ของตำบลนาหมอศรี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีการแลกเปลี่ยนปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่ เช่น กรณีนำ้เสียจากการปล่อยน้ำเสียของโรงงาน  เอสเอ็มเอสรบกวน

     

    25 44

    26. รับเรื่องร้องเรียน

    วันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้บริโภคเข้ามาร้องเรียนที่สมาคมผู้บริโภคสงขลา โดยทราบจากช่องทางสื่อวิทยุ เวปไซต์ แผ่นพับ มีเรื่องร้องเรียนทั้งเดือนจำนวน 4 เรื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้บริโภคเข้ามาร้องเรียนที่สมาคมผู้บริโภคสงขลา โดยทราบจากช่องทางสื่อวิทยุ เวปไซต์ แผ่นพับ มีเรื่องร้องเรียนทั้งเดือนจำนวน 4 เรื่อง โดยแยกตามประเด็นคือ ด้านที่อยู่อาศัย  ด้านบริการสาธารณะ  ด้านบริการสุขภาพ และ ด้านอาหารยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ  มีการดำเนินการให้คำปรึกษาและ แก้ไขปัญหาโดยส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ สคบ.

     

    4 4

    27. รับเรื่องร้องเรียน

    วันที่ 30 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการรับร้องเรียนปัญหาผู้บริโภค จำนวน 13 เรื่อง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเรื่องร้องเรียน ที่ผู้บริโภคร้องเรียนเข้ามา ในเดือนจำนวน 13 เรื่อง  โดยแยกประเด็นคือ บริการสาธารณะ  การเงินการธนาคาร ที่อยู่อาศัย อาหาร ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ  สินค้าและบริการทั่วไป  บริการสุขภาพ  สื่อสารและโทรคมนาคม  เรื่อง เอสเอ็มเอส รบกวน การดำเนินงาน สามารถแก้ไขได้ และ ส่งต่อให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

     

    13 13

    28. สนับสนุนกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูล และ จัดทำชุดนิทรรศการ

    วันที่ 15 มกราคม 2557 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำชุดข้อมูลสนับสนุนให้กับพื้นที่โดยเป็น ชุด นิทรรศการไวนิลโรลอัพขนาด 180*60 และ แผ่นพับเกี่ยวกับข้อมูลเรื่องสิทธิผู้บริโภค  โดยให้พื้นที่จัดกิจกรรมและมีการเผยแพร่ข้อมูลเรื่องสิทธิผู้บริโภคให้กับประชาชนในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นช่องทางในการเข้าถึงข้อมูล ให้ผู้บริโภคสามารถพิทักษ์ของตนเองและผู้อื่นในชุมชน เป็นช่องทางในการขยายผลการเข้าถึงการร้องเรียนมากขึ้น การเข้าถึงสิทธิ การเปลี่ยนแปลงการแนวคิดเรื่องสิทธิผู้บริโภคว่าทุกคนสามารถพิทักษ์สิทธิเเองได้

     

    100 300

    29. รับเรื่องร้องเรียน

    วันที่ 27 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับเรื่องร้องเรียนแก้ไขปัญหา มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 10 เรื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รับเรื่องร้องเรียนแก้ไขปัญหา มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 10 เรื่อง โดยแยกตามประเด็น คือ สื่อสารและโทรคมนาคม  ที่อยูู่อาศัย  สินค้าและบริการทั่วไป  การเงินการธนาคาร  บริการสาธารณะ เป็นตน การดำเนินการสามารถจัดการแก้ไขได้ทั้งหมด 

     

    10 10

    30. สอบถามพี่เลี้ยงติดตามโครงการ

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดต่อสอบถามการดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ติดต่อสอบถามพี่เลี้ยงเพื่อการดำเนินงานโครงการ ในด้านระบบการคีย์ข้อมูลการดำเนินงานโครงการ

     

    5 5

    31. ประชุมสรุปบทเรียนการทำงานของอาสาสมัครในพื้นที่ ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดสรุปบทเรียนการทำงานแกนนำอาสามสัคร 16 อำเภอ  ณ ห้องประชุมมูลนิธิชุมชนสงขลา อาคารชิตตยาแมนชั่น อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครเกิดการแลกเปลี่ยนการทำงานในแต่ละพื้นที่และสะท้อนผลการทำงานเห็นความคืบหน้าการทำงานในพื้นที่ เกิดคณะทำงานที่ทำงานร่วมกันในพื้นที่ มีการวางแผนร่วมกันในพื้นที่

     

    30 25

    32. สนับสนุนปฏิบัติการพื้นที่นำร่อง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สนับสนุนปฏิบัติการพื้นที่นำร่อง 8 พื้นที่ เพื่อให้เกิดแผนงานดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดพื้นที่ปฏิบัติการนำร่อง 8 พื้นที่  คือ

    อ.บางกล่ำ  กิจกรรม : อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับฉลากยา

    อ.ควนเนียง  กิจกรรม : จัดรายการวิทยุขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภค

    อ.รัตภูมิ  กิจกรรม : ขยายผลงานคุ้มครองผู้บริโภค อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค

    อ.หาดใหญ่  กิจกรรม : ให้ความรู้พัฒนาศักยภาพการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค

    อ.สะเดา  กิจกรรม  : ให้ความรู้เรื่องฉลากขนมเด็ก

    อ.กระแสสินธุ์  กิจกรรม แผนงานอาหารปลอดภัย

    อ.ระโนด กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ยา

    อ.จะนะ  กิจกรรม พัฒนาศักยภาพแกนนำ

     

    80 80

    33. จัดเวทีความร่วมมือระดับพื้นที่อำเภอจะนะ

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 12:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีความร่วมมือแลกเปลี่ยนกับหน่วยงานในระดับพื้นที่อำเภอจะนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อจัดเวทีระดมปัญหาและแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ร่วมกันระหว่างแกนนำอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  และสมาคมผู้บริโภคสงขลา
    2. เพื่อร่วมหาแนวทางในการจัดการแก้ไขปัญหาผู้บริโภคร่วมกันในระดับพื้นที่
    3. เพื่อสร้างแนวทางและพัฒนากลไกในการทำงานร่วมกันในการคุ้มครองผู้บริโภคระดับร่วมกันในระดับพื้นที่  และเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงานระดับจังหวัดต่อไป

    มีการระดมและแลกเปลี่ยนปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่  เช่น

    -ข้อความรบกวน คลิปลามก ไม่ได้สมัคร
    -SMS กินเงิน -ยกเลิกบริการเสริมยาก AIS
    -ขายประกันทางโทรศัพท์ -บัตรเครดิต (จ่ายประกันผ่านทางบัตรเครดิต -การพ่วงขายประกันจากบัตรเครดิต -โทรศัพท์หลอกลวงว่าเป็นผู้โชคดี -ซิมแถมจานทรู  คิดเงินทั้งที่ไม่ใช้ -อาหารบูด เน่า กรณีซื้อนมมาแล้วรสชาติเปลี่ยนไปจากรสชาตินม มีรสเปรี้ยว -กรณีการเรียกเก็บ 30 บาท

    แนวทางการแก้ปัญหา
    -รวมกลุ่มในการจัดการปัญหา -หาวิธีการสื่อสารกับคนในท้องถิ่น

    ข้อเสนอแนะพื้นที่ -อยากให้มีการขยายเครือข่ายไปยังตำบลอื่นๆเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายผู้บริโภค อ.จะนะ
    -ทำเวทีพูดคุยสะท้อนปัญหาเรื่องโรงพยาบาล -แกนนำพื้นที่และอบต.ร่วมกันแก้ไขปัญหา ออกหนังสือร่วมกันเพื่อจัดการไกล่เกลี่ยแก้ปัญหา


     

    25 25

    34. จัดเวทีความร่วมมือระดับพื้นที่อำเภอบางกล่ำ

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดเวทีความร่วมมือในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ อ.บางกล่ำ  ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ้านหาร อ.บางกล่ำ จ.สงขลา  โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนสถานการณืปัญหาผู้บริโภคในระดับพื้นที่ของอำเภอบางกล่ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จัดเวทีความร่วมมือในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ อ.บางกล่ำ  ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ้านหาร อ.บางกล่ำ จ.สงขลา  มีผู้เข้าร่วมจำนวน 31 คน โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนสถานการณืปัญหาผู้บริโภคในระดับพื้นที่ของอำเภอบางกล่ำ

     

    25 25

    35. จัดเวทีความร่วมมือระดับพื้นที่ อำเภอหาดใหญ่

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 12:30-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ดเวทีความร่วมมือในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ อ.บางกล่ำ  ณ ห้องประชุมอบต.คลองอู่ตะเภา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา  มีผู้เข้าร่วมจำนวน 26 คน โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในระดับพื้นที่ของตำบลคลองอู่ตะเภา

     

    25 30

    36. จัดเวทีความร่วมมือระดับพื้นที่ อ.สทิงพระ

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีการจัดเวทีความร่วมมือการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับพื้นที่อำเภอสทิงพระ ณ ห้องประชุมโรงเรียนชุมชนบ้านบ่อประดู่ จำนวนผู้เข้าร่วม 25 คน โดยมีกาชระบวนการแลกปเลี่ยนสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีการแลกเปลี่ยนสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ เช่น กรณีซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมารับประทานเอง โดยมีตัวแทนมาขายถึงบ้าน  กรณีเอสเอ็มเอสรบกวน  การใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ  ตัดไฟฟ้าผิดบ้าน

    ข้อเสนอะแนะ

    -มีการรวมกลุ่มโดยใช้สภาองค์กรชุมชนจัดเวทีเพื่อหาวิธีการแก้ไขปัญหาของชุมชน

     

    25 25

    37. จัดเวทีความร่วมมือ ระดับพื้นที่ อ.รัตภูมิ

    วันที่ 5 มีนาคม 2557 เวลา 13:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีการจัดเวทีความร่วมมือการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับพื้นที่อำเภอสทิงพระ ณ ห้องประชุมโอบต.ควนรู จำนวนผู้เข้าร่วม 24 คน โดยมีกระบวนการแลกปเลี่ยนสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีการแลกเปลี่ยนปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่ของอบต.เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการการกินอาหารในงานศพ (การจัดแบบบุพเฟ่) ดูแลเรื่องความสะอาด  ประหยัด

    การปลูกผักทานเอง

    พื้นที่ปลูกผัก 5 พื้นที่ คือ ม.2 ม.4 ม.5 ม.6 ม.9 ของตำบลควนรู -เปิดตลาดขายผักปลอดสารพิษ -การให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหารให้กับกลุ่ม -ให้คำปรึกษาการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ แจ้งชื่อสินค้าที่ตรวจพบสารพิษ ให้มีการหยุดใช้สินค้าตัวนั้นไปก่อน

    ระดมปัญหาในพื้นที่

    -การใช้บริการสายการบิน (เครื่องออกไม่ตรงเวลา )

    -ปัญหา sms  รบกวน กินตังส์

    -การย้ายค่ายโดยไม่แจ้ง

    แนวทางการดำเนินงาน

    -ใช้โอกาสการประชุมประชาคมหมู่บ้านเพื่อประชาสัมพันธ์ เรื่อง ของสิทธิผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค

    -อบต.จะเป็นศูนย์ในการรับเรื่องร้องเรียน

    -อบต.จะเป็นส่วนที่ช่วยประสานการทำงานการรับเรื่องร้องเรียน การประชาสัมพันธ์ในพื้นที่

    -การขับเคลื่อนประเด็นขนมหน้าโรงเรียน

    ข้อเสนอในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่

    -สร้างความตระหนักในเรื่องการพิทักษ์สิทธิของตัวเอง

    -การให้คำปรึกษา

    -เผยแพร่ความรู้ในชุมชน ในเรื่องของสิทธิผู้บริโภค
    -การให้ข้อมูล ขั้นตอนในการร้องเรียน ช่องทางการร้องเรียน
    -พัฒนาศักยภาพ สร้างความรู้ความเข้าใจให้แกนนำ หลักสูตรการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน เพื่อให้ความรู้กับกลุ่มแกนนำในชุมชน

    -ทำความร่วมมือ อบต. รพสต. ให้ความรู้เรื่องการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อสร้างความเข้มแข็งของตัวผู้บริโภคในชุมชน

     

    25 25

    38. จัดเวทีความร่วมมือ ระดับพื้นที่ อำเภอกระแสสินธุ์

    วันที่ 6 มีนาคม 2557 เวลา 13:00 -16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่น โดยจัดเวทีพูดคุยทำความร่วมมือกับหน่วยงานท้องถิ่น คือ ที่ว่าการอำเภอกระแสสินธุ์  อบต.เชิงแส  และ สสอ.กระแสสินธุ์  โดยจัดเวที ณ ห้องประชุมที่ว่าการอำเภอกระแสสินธุ์ โดยมีนายอำเภอเป็นประธานในพิธีเปิด  กล่าวต้อนรับโดยผู้ประสานงานในพื้นที่  หลังจากนั้นก็มีการแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการระดมสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่  และแนวทางในการแก้ปัญหา 1.บริการสาธารณะ  = กรณีประปา  = ถ้าจ่ายช้าโดนปรับ 107 บาท /  รถโดยสารสาธารณะ  เลือกรับผู้โดยสาร สาย เกาะใหญ่-ระโนด

    2.โทรคมนาคม = โทรศัพท์มือถือ /  เอสเอ็มเอสรบกวน

    3.บริการสุขภาพ  = การให้บริการของ รพ. / การรักษาพยาบาลที่ไม่ได้มาตรฐานกรณี ผ่าตัดคลอดที่ รพ.นาหม่อม ทำให้เจ็บแผลผ่าตัดมากกว่าที่ควรเนื่องจากการดูแลรักษาไม่สะอาด  / การรับฟังความเห็นของ สปสช. ที่ให้ผู้รับบริการสะท้อนปัญหาเพื่อการพัฒนาระบบการจัดการบริการสาธารณสุข ที่สามารถทำให้ทุกคนเข้าถึงบริการได้ / กรณีการส่งต่อ  จาก รพ.จะนะ มา รพ.สงขลา  เด็กหอบส่งมาให้ รพ.สงขลา แต่ รพ.ไม่ดูแลไม่สนใจ ต้องนอนรอ ทำได้แต่ฉีดยาให้กับเด็ก ทำให้เด็กเกิดภาวะช็อก แล้วเสียชีวิต  กรณีชาเขียวปนเปื้อน / กรณีเกิดความเสียหายจากการรักษาพยาบาล  ติดต่อได้ ที่ สสจ. หรือ หน่วยรับเรื่องของ รพ. หรือ ศูนย์ ๕๐(๕)  /ปี ๕๔ นอนป่วย ที่รพ. สงขลา  แล้วกลับมาเข้านอน รพ.กระแสสินธุ์  แล้วเอายาให้ดู ปรากฏว่าพยาบาลให้ยาหมดอายุทาน

    4.อาหาร ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ  = กรณีน้ำดื่มบรรจุขวดไม่สะอาด มีตะกอนก้อนสีดำคล้ายไข่แมลงสาบอยู่ที่ก้นขวด (น้ำดื่ม)  /สารเคมีปนเปื้อนแตงโมผสมฟูราดาน  /พืชผักปลอดสารเคมี = สสอ.มีรถโมบาย ๓ เดือนครั้ง  พบว่า ผักชี/ ถั่วงอก มาจากข้างนอก ใช้มาตรการทางสังคม ไม่ซื้อรับประทาน  / ตรวจตลาดสดน่าซื้อ / ให้คำแนะนำในการเลือกบริโภค / การตรวจเลือดเกษตรกรหาสารเคมีปนเปื้อน  ไม่เจอในเกษตรกร แต่เจอในผู้บริโภค  / น้ำดื่มบัวหลวง กระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์ไม่สะอาด ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  อ.กระแสสินธุ์ มี ๔ ยี่ห้อ  ผ่านมาตรฐาน ๓ ยี่ห้อ  ใช้มาตรการทางสังคมแบนน้ำยี่ห้อที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ไม่ซื้อไม่ดื่ม  / สำอาง เก็บตัวอย่างส่งตรวจให้กับ สสอ.  /อาหารปนเปื้อน ตรวจสาร ส่งต่อ สสอ.  / ยาลูกกลอน ผสมสเตียรอยด์ ส่งต่อ สสอ.

    5.สินค้าและบริการทั่วไป = รับรู้จากโทรศัพท์ ว่าคุณคือผู้โชคดี  1 ใน 50 คน ได้รับกล้องถ่ายรูปให้ไปรับที่ อ.หาดใหญ่ /ได้รับข้อความคุณคือผู้โชคดี (ปลัดเทศบาลตำบลเชิงแส) / ซื้อแอร์การ์ด บ.ดีแทค  ใช้แค่ 3-4 เดือน ก็มีหนังสือทวงหนี้จากบริษัททนายความ ให้ไปชำระค่าบริการที่ค้าง  เมื่อไปติดต่อศูนย์บริการปรากฏว่าเบอร์นี้ปิดแล้ว  ได้รับ

    6.การเงินการธนาคาร  = ธนาคารกสิกรไทย แจ้งว่าถึงเวลาชำระเงิน แต่ไม่เคยรู้จักธนาคาร  /กรณีได้รับภาษีคืนจากกรมสรรพากร  แต่มีการขอหมายเลขบัญชีเราไว้  เพราะถ้าได้รับคืนจริง ๆ จะต้องได้รับเอกสารจากกรมสรรพกรเป็นลายลักษณ์อักษร

    7.สื่อสารและโทรคมนาคม = ค้างค่าใช้จ่ายอินเตอร์ประมาณ สองพันกว่าบาท  แต่ไม่เคยใช้เน็ตเลยค้างได้ไง (แทปเลต) บริษัทให้ข้อมูลว่าสมาร์ทโฟน สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตอัตโนมัติ  /ขายประกันทางโทรศัพท์

    ข้อเสนอแนะพื้นที่

    o การใช้มาตรการทางสังคมของคนในพื้นที่ o การเฝ้าระวังสินค้าน่าสงสัยในพื้นที่ o การพัฒนากลไกร่วมกันระหว่างพื้นที่ให้เกิดการไกล่เกลี่ยร่วมกัน / มนโยบายสาธารณะท้องถิ่น (ใช้มาตรการร่วมกับเครือข่ายโดยมีเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามาช่วย) o ส่งเสริมการใช้มาตรการร่วมกัน o พานิชย์จังหวัด เป็นหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านการคุ้มครองราคาสินค้า เช่น กรณีน้ำดื่ม เก็บตัวอย่างน้ำดื่มส่งต่อให้สมาคมฯตรวจ  (เป็นเครือข่ายอาสาสมัครแม่บ้าน) o การให้ข้อมูลเรื่องการดูวันหมดอายุของการใช้ยาแก่ชาวบ้านอย่างเคร่งครัด

    ปัญหาในการร้องเรียน o ผู้บริโภคไม่สามารถต่อรองกับผู้ประกอบการได้
    o มาตรการทางกฎหมายช้า

    อาสาสมัครประสานงานแต่ละตำบล ต.เกาะใหญ่  :  นายไพฑูรย์  คชเสนีย์ ต.โรง  :  นางปราณี  ด้วงไข่ ต.กระแสสินธุ์ :  นางสุนันทา  ไกรสุรสีห์ (พี่ฉ้อง) ต.เชิงแส  :  นางสุรีรัตน์  ชัยเชื้อ (พี่อวบ)

     

    25 25

    39. จัดเวทีความร่วมมือ ระดับพื้นที่ อ.สิงหนคร

    วันที่ 12 มีนาคม 2557 เวลา 13:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีความร่วมมือกับหน่วยงานในพื้นที่ ณ ที่ว่าการอำเภอสิงหนคร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    o ระดมสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่  และแนวทางในการแก้ปัญหา o อาหาร ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ -ขนมเด็กหน้า รร.  เป็นโรคไต เนื่องจากโซเดียมเยอะ  ต.สทิงหม้อ o สื่อสารและโทรคมนาคม -พนักงานเอไอเอส มารับสมัครตามบ้าน รายเดือน ใช้ได้ ๑๕ วัน มีหนังสือทวงหนี้มา ๑๕๐๐ บาท  (ประมาณ ๒ ปี ที่แล้ว  ) -คุณคือผู้โชคดี ได้รับตู้เย็น เป็นจม.มาถึงบ้าน แนะนำ ให้นำเอาหลักฐานนั้นไปแจ้งความเพื่อยืนยันว่าเราไม่ได้ใช้จริง -ได้รับหนังสือคุณคือผู้โชคดีได้รับรางวัล -ได้รับข้อความของทรู ให้เปลี่ยน ได้เครื่องซัมซุงฮีโร่  แต่ต้องจ่ายภาษี ประมาณ ๑๐๐ กว่าบาท -ทรูมูฟละเมิดสิทธิในการเลือกใช้บริการของผู้บริโภค -กรณีเติมเงินแล้วเงินไม่เข้า  หรือ โดนหักเงิน -กรณียกเลิกเอสเอ็มเอสกินตังค์  กด *137 โทรออก  ดีแทค ยกเลิก ภายใน ๓ วัน -ทรูมูฟ  ยกเลิก ภายใน ๑๕ นาที ใน ๒๔ ชม.  ข้อเสนอแนะพื้นที่ o การเฝ้าระวังขนมเด็กหน้า รร. ในหมู่บ้าน
    o การพัฒนากลไกร่วมกันระหว่างพื้นที่ให้เกิดการไกล่เกลี่ยร่วมกัน / นโยบายสาธารณะท้องถิ่น (ใช้มาตรการร่วมกับเครือข่ายโดยมีเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามาช่วย) o การให้ข้อมูลเรื่องการดูวันหมดอายุของการใช้ยาแก่ชาวบ้านอย่างเคร่งครัด o จัดกิจกรรมมรณรงค์เผยแพร่ให้ความรู้ ตามตลาดนัด

     

    20 20

    40. จัดเวทีความร่วมมือ ระดับพื้นที่ อ.เมือง จ.สงขลา

    วันที่ 14 มีนาคม 2557 เวลา 13:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีความร่วมมือกับเทศบาลเมืองนครสงขลา อ.เมือง จ.สงขลา เพื่อหาแนวทางการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคร่วมมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    o ระดมสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่  และแนวทางในการแก้ปัญหา o บริการสุขภาพ -ค่ารักษาพยาบาล 90,000 บาท ถึงจะรับศพออกจากโรงพยาบาลได้ -การให้บริการของโรงพยาบาลสงขลา (เกาะยอ)
    -คนที่เจอปัญหาไม่ให้ความร่วมมือในการร้องเรียน -ไม่ให้บริการในการทำเรื่องส่งต่อ -มีการร้องเรียนเรื่องการให้บริการต่อหัวหน้าตึก o สินค้าและบริการ -ราคาขนมจีน 10บาท แต่ คิดราคาเกิน o สื่อสารและโทรคมนาคม -การตอบรับการใช้บริการที่มากับ  SMS -การแก้ปัญหา SMS
    -การยกเลิกการให้บริการ อินเตอร์เน็ต -การศึกษาโปรโมชั่นของแพ็คเกจอินเตอร์เน็ต -เครื่องไอโฟนส่งซ่อมบริษัททรูบอกว่ารับได้เครื่องในเวลา 3 อาทิตย์ แต่ผ่านไปก็ยังไม่ได้  และต้องรออีก 10 วัน o การเงินการธนาคาร -เปิดบัญชีธนาคารพ่วงประกันชีวิต
     ข้อเสนอแนะพื้นที่ o น่าจะมีการทำวงพูดคุยกับผู้ประกอบการเพื่อหาแนวทางในการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกัน(นายกเทศมนตรี) o เสนอทำเรื่องของสารเคมี รณรงค์พืชผักปลอดสารเคมี  จำหน่ายผักปลอดสาร o เฝ้าระวัง อาหารปลอดภัย o ทำกลไกเฝ้าระวังรถ หาดใหญ่  - สงขลา  รถบัส  รถตู้ รถสองแถว o อบรมอาสาสมัครการรับเรื่องร้องเรียนเชิงรุกในระดับอำเภอ

     

    25 25

    41. ลงพื้นที่จัดเวทีความร่วมมือกับ หน่วยงาน อ.ระโนด

    วันที่ 17 มีนาคม 2557 เวลา 08:30-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีความร่วมมือกับหน่วยงาน คือ รพ.สต.บ้านสามอ่าง ในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     ระดมสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่  และแนวทางในการแก้ปัญหา o บริการสาธารณะ -การคิดค่าต่อไปฟ้า 107บาท o อาหาร ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ -มีการขายยาลูกกลอนชุดละ 7000 บาท (ล่อซื้อ) -การขายน้ำผลไม้รักษาโรค ทางทีวีดาวเทียม -ขายน้ำเห็ดสกัดจากวิทยุชุมชน ที่มีการลิ้งสัญญาณจากภาคกลาง -คาวตอง -ต้นไชโค๊ะ ต้มรักษาโรคต่างๆได้สารพัดโรค o สินค้าและบริการ -(10 ปี มาแล้ว) มีไปรษณียบัตร มาบอกว่าเป็นผู้โชคดี ให้มารับกล้องถ่ายรูป แล้วหลังจากนั้นก็ให้จับคูปองลุ้นรางวัล -บังคลาเทศ  มีการแร่ขาย นาฬิกา แว่น  โทรศัพท์มือถือ -แร่ขายเครื่องใช้ไฟฟ้า ใช้กลยุทธ์ในการจับรางวัล
    o สื่อสารและโทรคมนาคม -การตอบรับการใช้บริการที่มากับ  SMS -การแก้ปัญหา SMS
    -โฆษณา ทางทีวีดาวเทียม  เสริมอก
    o การเงินการธนาคาร -เปิดบัญชีธนาคารพ่วงประกันชีวิต
     ข้อเสนอแนะพื้นที่ o น่าจะมีการทำวงพูดคุยกับผู้ประกอบการเพื่อหาแนวทางในการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกัน o เสนอทำเรื่องของสารเคมี รณรงค์พืชผักปลอดสารเคมี  จำหน่ายผักปลอดสาร o เฝ้าระวัง อาหารปลอดภัย o อบรมอาสาสมัครการรับเรื่องร้องเรียนเชิงรุกในระดับอำเภอ


     

    25 25

    42. จัดเวทีความร่วมมือ กับ ท้องถิ่นระดับพื้นที่ อำเภอสะเดา

    วันที่ 24 มีนาคม 2557 เวลา 13:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีความร่วมมือกับ หน่วยงานท้องถิ่น อบต.พังลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ระดมสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคในพื้นที่  และแนวทางในการแก้ปัญหา

    บริการสาธารณะ //เจอค่าไฟ 30,000 บาท

    อาหาร ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ  // ชาเย็น ชาต่างๆมีการตรวจสารต่างๆหรือไม่ (ชาพะยอม ชาฉุย )

    สินค้าและบริการ -การหลอกลวงขายสินค้าสูงกว่าราคาที่เป็นจริง -การโกงตาชั่ง โกงราคา -ฉลากบนสินค้าในห้างช่วงมีโปรโมชั่น -การสซื้อขายสินค้าในตลาด ในห้าง -แก๊สหุงต้มในครัวเรือน วิธีการตรวจสอบขนาดบรรจุน้ำหนักของแก๊ส

    สื่อสารและโทรคมนาคม -sms รบกวน กินเงิน
    -sms ยกเลิกยาก -ขายประกันทางโทรศัพท์
    -โทรศัพท์หลอกลวงว่าเป็นผู้โชคดีได้รับรางวัล -ตู้โทรศัพท์สาธารณะในโรงเรียนใช้การไม่ได้

    ข้อเสนอแนะพื้นที่ สมาคมผู้บริโภค เครือข่ายผู้บริโภคทำงานในเชิงรุก ต้องสร้างความร่วมมือในหลายๆหน่วยงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำหน้าที่ตามหน้าที่ มีการบังคับใช้กฎหมายที่เข้มแข็ง ปลูกฝังการเลือกซื้อสินค้า การทำหลักสูตรการเลือกสินค้าให้กับเด็กนักเรียนในโรงเรียน สร้างข้อตกลงในชุมชน ในหมู่บ้าน (โรงเรียนสมาคมไทยผลิตยา 2 โรงเรียนบ้านนาสนใจในการทำเรื่องขนมหน้าโรงเรียน ขนมในโรงเรียน) บ้านประดู่ ตลาดนัดเกษตรปลอดสาร นโยบายปลูกผักกินเอง โดยใช้กองทุนสุขภาพท้องถิ่น สปสช.

     

    25 25

    43. เผยแพร่ข้อมูลผ่านวิทยุ

    วันที่ 24 มีนาคม 2557 เวลา 06.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชาสัมพันธ์ผ่านรายการวิทยุโดยการดำเนินการจัดรายการสภาผู้บริโภค และ รายการตลาดนัดผู้บริโภค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการจัดรายการวิทยุเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ช่องทางการร้องเรียน  สถานการณืปัญหาผู้บริโภคที่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ตัวอย่าง  กสทช. พบทีวีช่องการเมือง โฆษณาผิดกฎหมาย อย.เพียบ  // กพย.จี้ตั้งระบบสอบบอร์ดสุขภาพ เหตุควบหลายที่อาจรับใต้โต๊ะบางบอร์ด ทั้งเอี่ยวธุรกิจเอกชน // ไทยติดอันดับ 2 ตายจากอุบัติเหตุบนท้องถนนมากสุดในโลก // เตือนกิน 'ไก่ทาสีย้อมผ้า' อันตรายถึงตาย  เป็นต้น

     

    300 300

    44. เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    วันที่ 25 มีนาคม 2557 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางสื่อโซเซียลมีเดีย www.consumersongkhla.org

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้บริโภคเข้ามาค้นหาข้อมูล และ ใช้ในการแลกเปลี่ยนปัญหาผ่านกระดานสนทนา เป็นช่องทางการร้องเรียน

     

    300 300

    45. จัดเวทีความร่วมมือและทำความเข้าใจการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    วันที่ 26 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ปัญหาในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลการทำงานในระดับพื้นที่

     

    40 55

    46. จัดเวทีนำเสนอแนวทางและนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคระดับพื้นที่

    วันที่ 26 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ปัญหาในระดับพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดข้อเสนอนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภค

     

    40 55

    47. เวทีสังเคราะห์เรื่องร้องเรียนฯ

    วันที่ 27 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -แบ่งกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติรับเรื่องร้องเรียนตามที่ได้รับโจทย์มอบหมาย -ร่วมกันวิเคราะห์กรณีตัวอย่างปัญหา -ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -อาสาสมัครได้ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจริง ๆ จากกรณีตัวอย่าง  สามารถนำไปใช้แก้ไขปัญหาได้ในพื้นที่ เช่น การสอบข้อเท็จจริง  การประสานงานส่งต่อ  การแก้ไขเบื้องต้นได้ด้วยตัวเอง

     

    40 40

    48. จัดเวทีสรุปบทเรียนการทำงานทั้งโครงการ

    วันที่ 28 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -แบ่งกลุ่มเป็นโซนอำเภอ คือ โซนบน ประกอบด้วย ระโนด กระแสสินธุ์ สทิงพระ  สิงหนคร  เมือง  โซนกลาง ประกอบด้วย  นาหม่อม รัตภูมิ  ควนเนียง คลองหอยโข่ง  หาดใหญ่ บางกล่ำ  โซนล่าง  จะนะ  เทพา  สะบ้าย้อย  นาทวี สะเดา
    -ร่วมกันแลกเปลี่ยนการทำงานในแต่ละพื้นที่ -นำเสนอผลการแลกเปลี่ยน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การสนับสนุนพื้นที่ของสมาคมฯ ที่พื้นที่อยากให้มีการสนับสนุนเพื่อการทำงานที่ต่อเนื่อง คือ สื่อสำหรับการทำงาน เอกสาร แผ่นพับ ไวนิลโรลอัพ การลงพื้นที่สนับสนุนข้อมูลการจัดกิจกรรมของเจ้าหน้าที่ในการให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคในระดับพื้นที่  สามารถทำให้ในพื้นที่เกิดการรวมกลุ่มคนทำงานได้

     

    40 40

    49. เผยแพร่ข้อมูลผ่านวิทยุ

    วันที่ 14 เมษายน 2557 เวลา 06.00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านรายการสภาผู้บริโภค ทางสถานีวิทยุชุมชน สถานีวิทยุพุทธเรดิโอ เพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ทุกวันจันทร์ เวลา 11.00-12.00 น. เอฟเอ็ม 106.75 Mhz. และผ่านทางสถานีวิทยุกระแสหลัก สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เอฟเอ็ม 88.0 MHz. ผ่ายรายการตลาดนัดผู้บริโภค ทุกวันเสาร์ เวลา 06.00-07.00 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    300 300

    50. เผยแพร่ข้อมูลผ่านเวปไซต์

    วันที่ 15 เมษายน 2557 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางสื่อโซเซียลมีเดีย www.consumersongkhla.org

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้บริโภคสามารถสืบค้นข้อมูล แลกเปลี่ยนปัญหาผู้บริโภคบนกระดานสนทนา และ เป็นช่องทางการร้องเรียน

     

    300 300

    51. จัดเวทีความร่วมมือการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ อ.เทพา

    วันที่ 18 เมษายน 2557 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมเวทีความร่วมมือการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคกับหน่วยงานท้องถิ่น โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ระดมปัญหาในพื้นที่

    -ปัญหา sms  รบกวน กินตังส์

    -การย้ายค่ายโดยไม่แจ้ง

    -การบริการไม่สุภาพของหน่วยบริการ คือ รพ. หรือ รพสต.

    ข้อเสนอแนะในการทำงาน

    -การรวมกลุ่มของผู้บริโภค

    -การให้ข้อมูลเรื่องสิทธิแก่ผู้บริโภคเพื่อการพิทักษ์สิทธิ

     

    25 25

    52. สรุปบทเรียนการทำงาน ครั้งที่ 3

    วันที่ 19 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมแลกเปลี่ยน วางแผนงานร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่ได้แผนงานการทำงานเพื่อขยายผลต่อเนื่องในการทำงานต่อไปได้ เช่น การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายครู ในโรงเรียน เรื่องขนมเด็กหน้าโรงเรียน  การทำงานร่วมกับ รพ.สต.ในพื้นที่ เรื่อง การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

    อ.บางกล่ำ  กิจกรรม : อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับฉลากยา

    อ.ควนเนียง  กิจกรรม : จัดรายการวิทยุขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้ บริโภค

    อ.รัตภูมิ  กิจกรรม : ขยายผลงานคุ้มครองผู้บริโภค อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค

    อ.หาดใหญ่  กิจกรรม : ให้ความรู้พัฒนาศักยภาพการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค

    อ.สะเดา  กิจกรรม  : ให้ความรู้เรื่องฉลากขนมเด็ก

    อ.กระแสสินธุ์  กิจกรรม : การตรวจสารปนเปื้อนในผัก  เกษตรอินทรีย์

    อ.ระโนด  กิจกรรม : อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับฉลากยา

     

    16 20

    53. จัดทำรายงานการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 28 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ คือ รายงานการเงิน ง.1งวดที่ 2 ,ส.2,ส.3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการได้

     

    2 3

    54. ตรวจสอบบัญชี

    วันที่ 29 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ผู้สอบตรวจสอบบัญชี เอกสารการเงินค่าใช้จ่ายทั้งโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้ผู้สอบตรวจสอบบัญชี เอกสารการเงินค่าใช้จ่ายทั้งโครงการ ตั้งแต่เริ่มโครงการ 1 เมษายน 2556 - 30 เมษายน 2557

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในระดับพื้นที่ในการคุ้มครอง ตนเองและสมาชิกในชุมชน
    ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำอาสาสมัครครบพื้นที่ 16 อำเภอ แกนนำอาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องสิทธิผู้บริโภคมีการรวมกลุ่มในระดับพื้นที่ในรูปแบบคณะทำงาน มีปฏิบัติการกิจกรรมเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในเดือนที่ 6 มีการทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างน้อย 8 พื้นที่ กลุ่มในพื้นที่สามารถรับเรื่องร้องเรียนประสานงานแก้ปัญหาเบื้องต้นกับหน่วยงานในพื้นที่อย่างน้อย 100 กรณี และสามารถแก้ปัญหาได้ร้อยละ 70

    -เกิดแกนนำอาสาสมัครทั้ง 16 อำเภอ

    -เกิดการรวมกลุ่มในระดับพื้นที่

    -มีการรับเรื่องร้องเรียนและส่งต่อในระดับพื้นที่

    -มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นในพื้นที่

    2 2.เพื่อพัฒนากลไกการคุ้มครองผู้บริโภคเชิงรุกในระดับพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด : มีการทำงานเชื่อมโยงกันในพื้นที่ระหว่างเครือข่ายในพื้นที่กับสมาคมผู้บริโภคสงขลา มีข้อมูลการรับเรื่องร้องเรียนและสามารถแก้ปัญหา รวมทั้งเผยแพร่ได้ เกิดเรื่องเล่าการจัดการความรู้อย่างน้อย 10 พื้นที่ มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางที่หลากหลายเพื่อเข้าถึงผู้บริโภค เกิดกลไกการประสานงานเชื่อมโยงการทำงานระหว่างท้องถิ่นและสมาคมผู้บริโภค

    -มีการทำงานประสานเชื่อมโยงกับเครือข่าย

    -มีการรับเรื่องร้องเรียนและสามารถแลกเปลี่ยนประเด็นได้

    -มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อที่หลากหลาย

    -มีกลไกประสานการทำงานระหว่างท้องถิ่นกับสมาคมผู้บริโภคสงขลาโดยแกนนำอาสาสมัครในพื้นที่

    3 3.เพื่อสร้างนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค
    ตัวชี้วัด : เกิดคณะทำงานและติดตาม จัทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการวางแผนการดำเนินงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกิดนโยบายคุ้มครองผู้บริโภคอย่างน้อย 5 พื้นที่

    -มีแผนการทำงานร่วมกับท้องถิ่นในพื้นที่

    -ท้องถิ่นมีนโยบายการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่

    -มีคณะทำงานซึ่งเป็นตัวแทนแต่ละพื้นที่

    4 การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.
    ตัวชี้วัด : 1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2,ง.1,ง.2 ,ส.3)

    -มีการรเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการร่วมกับ สจรส.มอ และการประชุมติดตามโครงการของ สจรส.มอ.ร

    -มีการจัดทำรายงานการดำเนินงานโครงการ ส่ง สสส.ได้ ตามงวดงาน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในระดับพื้นที่ในการคุ้มครอง ตนเองและสมาชิกในชุมชน (2) 2.เพื่อพัฒนากลไกการคุ้มครองผู้บริโภคเชิงรุกในระดับพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่น (3) 3.เพื่อสร้างนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค (4) การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา

    รหัสโครงการ 55-01192 รหัสสัญญา 56-00-0393 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2556 - 30 เมษายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    • การประชาสัมพันธ์ ,การับเรื่องร้องเรียน การคุ้มครองผู้บริโภค ผ่านสื่อโซเซียลมีเดีย www.consumersongkhla.org

    • สถานีวิทยุชุมชน สถานีวิทยุพุทธเรดิโอ เพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ทุกวันจันทร์ เวลา 11.00-12.00 น. เอฟเอ็ม 106.75 Mhz. และผ่านทางสถานีวิทยุกระแสหลัก สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เอฟเอ็ม 88.0 MHz. ผ่ายรายการตลาดนัดผู้บริโภค ทุกวันเสาร์ เวลา 06.00-07.00 น.

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานของพื้นที่ และการสรุปบทเรียนระหว่างแกนนำอาสาสมัครและหน่วยงานท้องถิ่น

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    แกนนำอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคใน 16 อำเภอของพื้นที่จังหวัดสงขลา

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    แกนนำอาสาสมัครในกลุ่มเด็ก เยาวชน,ครู

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    พื้นที่ ม.2 ม.4 ม.5 ม.6 ม.9 ของตำบลควนรู  เป็นชุมชนที่มีการผลิตผักปลอดสารพิษ และมีการเปิดตลาดขายผัก ควบคู่กับการให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และสร้างพื้นที่ในการเรียนรู้ให้กับคนที่สนใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค
    • การรณรงค์ผลักดันการบริโภคอาหารปลอดภัย การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดสาร การปลูกผักกินเองของครัวเรือน และจำหน่ายในพื้นที่ตลาดนัดชุมชน ในพื้นที่ ม.2 ม.4 ม.5 ม.6 ม.9 ของตำบลควนรู ,เปิดตลาดขายผักปลอดสารพิษ

    • การให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหารให้กับกลุ่ม -ให้คำปรึกษาการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ แจ้งชื่อสินค้าที่ตรวจพบสารพิษ

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ขยายกลุ่มในพื้นที่อื่นๆให้ครอบคลุ่มทั้ง 16 อำเภอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ในพื้นที่ดำเนินกิจกรรมมีการรณรงค์ปลอดบุหรี่และเหล้า

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ขยายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั้งในโรงเรียน วัด มัสยิด และพื้นที่อื่นที่เป็นพื้นที่สาธารณะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การผลักดันให้พื้นที่ชุมชนลดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตร รณรงค์อาหารปลอดภัย

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ให้ความรู้ทั้งทางเว้ปไซร์ ,สื่อวิทยุ,แผ่นพับสิทธิของผู้ขอรับบริการจากสถานพยาบาลของรัฐและการเข้าถึงสิทธิ

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดข้อตกลงในชุมชน ในหมู่บ้านบ้านประดู่ ตลาดนัดเกษตรปลอดสาร นโยบายปลูกผักกินเอง โดยใช้กองทุนสุขภาพท้องถิ่น สปสช.

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ขยายกลุ่มในพื้นที่อื่นๆให้ครอบคลุ่มทั้ง 16 อำเภอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    แกนนำอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคใน 16 อำเภอของพื้นที่จังหวัดสงขลา ประกอบด้วย ระโนด กระแสสินธุ์ สทิงพระ สิงหนคร เมือง โซนกลาง ประกอบด้วย นาหม่อม รัตภูมิ ควนเนียง คลองหอยโข่ง หาดใหญ่ บางกล่ำ โซนล่าง จะนะ เทพา สะบ้าย้อย นาทวี สะเดา

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    เวทีสรุปบทเรียนการทำงานของแกนนำอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคใน 16 อำเภอของพื้นที่จังหวัดสงขลา

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    สร้างความร่วมมือการขับเคลื่อนการทำงานแก้ไขปัญหาผู้บริโภค โดยทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่น เช้น อบต. ,รพ.สต.,โรงเรียน

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการทำงานในระดับพื้นที่โดยการจัดเวทีต่างๆ เพื่อติดตามการทำงาน เช่น  การจัดเวทีความร่วมมือและทำความเข้าใจการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคกับหน่วยงาน,เวทีสังเคราะห์เรื่องร้องเรียน,เวทีนำเสนอแนวทางและนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคระดับพื้นที่,จัดเวทีความร่วมมือทั้ง 16 อำเภอ

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    มีเวทีต่อเนื่อง หน่วยงานภาครัฐมีการจัดทำแผนสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    จัดเวทีให้ความรู้ทั้ง 16 อำเภอ ในจังหวัดสงขลา พร้อมทั้งการรณรงค์ทั้งสื่อในเว้ปไซร์,วิทยุชุมชน,แผ่นพับ

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การใช้ข้อมูลจากเวทีทั้ง 16 อำเภอ ในการรวบรวมเพื่อผลักดันการบังคับใช้กฎหมายและการทำหนังสือไกล่เกลี่ย

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ในพื้นที่ ม.2 ม.4 ม.5 ม.6 ม.9 ของตำบลควนรู มีกิจกรรมรณรงค์ผลักดันการบริโภคอาหารปลอดภัย การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดสาร การปลูกผักกินเองของครัวเรือน และจำหน่ายในพื้นที่ตลาดนัดชุมชน  ,เปิดตลาดขายผักปลอดสารพิษในตลาดนัดชุมชน สามารถเป็นพื้นที่แหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนอื่นๆ

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

    ขยายให้ครอบคลุ่มทั้ง 16 อำเภอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การทำงานผ่านแกนนำอาสามัครพื้นที่ โดยการให้ความรู้การคุ้มครองผู้บริโภค ทำให้ลดการเอาเปรียบจากผู้ประกอบการ,ร้านค้า ฯลฯ และการเข้าถึงสิทธิ

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    คนในชุมชนเกิดการปฎิสัมพันธ์ การพบปะ พูดคุยกันมากขึ้น ผ่านกลไกอาสาสมัครในพื้นที่ โดยใช้เรื่องของสิทธิผู้บริโภค

    • รายงาน ส.3
    • รายงานกิจกรรมในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนากลไกการทำงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 55-01192

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 084-6316179 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด