แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-00277
สัญญาเลขที่ 56-00-0282

ชื่อโครงการ ขยะสร้างคนข้างถนนกินได้
รหัสโครงการ 56-00277 สัญญาเลขที่ 56-00-0282
ระยะเวลาตามสัญญา 1 เมษายน 2013 - 30 เมษายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 ...กำไล สมรักษ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 4 กรกฎาคม 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 14 กรกฎาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นางพินะ เพชรสุกใส ...90/5 ม.5 ต.ท่าศาลา องท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ...0833911600
2 ...นางอารี โต๊ะกานี ....90 ม.5 ต.ท่าศาลา องท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ...0858882639
3 ...นางวรรณา สมัน ... ม.5 ต.ท่าศาลา องท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช
4 ...นางเมตตา ศิริสุข ...ม.5 ต.ท่าศาลา องท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช
5 ...ผู้ใหญ่อะมาด ไทรทอง ...ม.5 ต.ท่าศาลา องท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อเรียนรู้การลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะของชุมชน

  1. ประชาชนสามารถลดปริมาณขยะในครัวเรือนและในชุมชนได้ ร้อยละ 60
  2. คนในชุมชนรู้จักวิธีการจัดการขยะร้อยละ 70

2.

เพื่อแยกขยะครัวเรือนให้ถูกต้องและทิ้งขยะในชุมชนตามประเภทขยะอย่างถูกวิธี

สร้างรายได้จากการคัดแยกขยะ ร้อยละ 30 ของครัวเรือน

3.

เพื่อใช้ประโยชน์บนที่ว่างข้างถนนและหน้าบ้านในการปลูกผักปลอดสารพิษ

  1. ข้างไหล่ทางถนนข้างละ 1 เมตร ตลอดแนวถนนทั้งสองข้างเป็นแปลงผัก ร้อยละ 40
  2. มีผักที่ปลูกเองเพื่อใช้บริโภคในชุมชนร้อยละ 70
  3. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักร้อยละ 40
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: ...ติดตามผลการดำเนินโครงการi

...คณะกรรมการโครงการ และพื้นที่ดำเนินงาน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

...มีการดำเนินงานตามแผนงานในสัญญาโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ได้ดำเนินงานตามกิจกรรมในสัญญาโครงการ และเกิดผลในระยะแรก ต้องดำเนินงานต่อเนื่องในงวดสอง จึงจะขยับงานสู่สาธารณะเพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพได้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องการจัดการขยะในเด็กและเยาวชน จะขยับงานต่อในการปรับสิ่งแวดล้อม เตรียมคณะทำงานและไปดูพื้นที่ทำถนนกินได้ สรุปได้ ดังนี้ ๑.เด็กและเยาวชนรู้จักการคัดแยกขยะแล้ว ให้เด็กและเยาวชนไปหาเพื่อน ๑ ต่อ ๑๐ คน ในละแวกบ้าน มาช่วยจัดการขยะที่กองขยะเน่าเหม็นของหมู่บ้าน ๒. ผู้นำชุมชนประสานงานกับ อบต. เพื่อนำรถมาสนับสนุนในการจัดการขยะริมถนน ติดต่อกับนายกอภินันท์ เชาวลิต ๓.นัดวันจัดการขยะริมถนนกินได้พร้อมปลูกพืชผักเป็นของส่วนรวม ให้เด็กและเยาวชนร่วมดูแลบริเวณใกล้าบ้าน ทำเป็นละแวกบ้าน มีการชื่นชม ให้รางวัลเด็กทำดี ประสานงานผู้นำช่วยสนับสนุน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เพื่อการทำประโยชน์จากขยะโดยการนำขยะมาทำเป็นสิ่งประดิษฐ์เพื่อสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้มีกำลังใจในการร่วมทำโครงการจนบรรลุเป้าหมาย

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนโครงการ ผู้อำนวยการโรงเรียนในถุ้ง นักเรียนโรงเรียนบ้านในถุ้ง 36 คน ร่วมกันนำผลงานจากขยะรีไซเคิลที่ทำในโครงการมาร่วมเดินรณรงค์ร่วมกับขบวนพาเหรดจากหน้าอำเภอท่าศาลาจนถึงเทศโก้ดลตัสท่าศาลา โดยมีนายอำเภอท่าศาลาเป็นประธานเปิดการรณรงค์

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

นักเรียนได้นำเสนอผลงานของตนเองจากขยะรีไซเคิลต่อประชาชนในตลาด ตลอดทางมีประชาชนสนใจ นับว่าเป็นการแสดงผลงานให้คนอื่นๆ ได้ทราบ และกระตุ้นให้มีการจัดการขยะขยายวงกว้างมากขึ้น โดยเฉพาะในตลาดท่าศาลา แม่ค้าในตลาดสนใจมาถาม และมีความคิดจะจัดการขยะเพื่อมาทำเป็นรีไซเคิลด้วย เป็นการสร้างกระแสเรื่องการจัดการขยะได้ดี

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ประสานงานหน่วยงานและทีมผู้นำชุมชนมาช่วยสนับสนุนจึงจะขยับได้ ถ้าลำพังผู้รับผิดชอบโครงการกับคณะกรรมการจะหนักเกินไป ต้องให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกคน ใช้เยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายในการขับเคลื่อนงาน

สร้างรายงานโดย กำไล