stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชวนลูกหลานเรียนรู้วิถีชาวนาอินทรีย์
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-00264
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2557
งบประมาณ 185,300.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสวาท จันทมาส
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ เสณี จ่าวิสูตร
พื้นที่ดำเนินการ บ้านบ่อโพธ์ หมู่ที่ 2 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.2902766693784,100.04648208618place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2556 30 ก.ย. 2556 1 พ.ค. 2556 30 ก.ย. 2556 74,000.00
2 1 ต.ค. 2556 31 มี.ค. 2557 1 ต.ค. 2556 30 ก.ย. 2557 91,300.00
3 1 เม.ย. 2557 31 พ.ค. 2557 20,000.00
รวมงบประมาณ 185,300.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 .เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้เรียนร่วมของคน 3 วัย

1.1เกิดการขยายกลุ่มเยาวชน/เครือข่ายระดับหมู่บ้าน มีสามาชิกเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 20 ครอบครัว
1.2มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชาวนา
1.3 มีกิจกรรมเรียนรู้สืบทอดวิถีชาวนาเชื่อมร้อยคน 3 วัย

2 พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชาวนา

2.1มีหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชาวนา 1 หลักสูตรที่เหมาะสมกับคนบ่อโพธิ์์
2.2มีชุดบทเรียน/องค์ความรู้วิถีชาวนา1 ชุด

3 ให้มีกลไกเฝ้าระวังการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

3.1. มีทีมเยาวชน(อย.น้อย) ที่มีทักษะความรู้ในการตรวจวัดสารเคมีในอาหารอย่างน้อย 10 คน
3.2. มีคณะทำงานของชุมชนและภาคีดำเนินการเฝ้าระวังการผลิตและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง

4 บริหารจัดการโครงการ

1.มีรายงานความก้าวหน้าและรายงานสรุปผลโครงการ
2.ร่วมกิจกรรมติดตามและหนุนเสริม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.กิจกรรมสร้างการเรียนรู้ร่วมระหว่างคน 3 วัยสร้างเครื่องมือให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว ชุมชน ถ่านทอดภูมิปัญญาเรื่องวิถีชาวนาสู่ลูกหลานเป็นการสร้างภูมิต้านทานให้เพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมปัจจุบันอย่างมีความตระหนักรู้และมีจิตสำนึกในการเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ 2.กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชาวนาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับเยาวชนคนรุ่นใหม่ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมของคน 3 วัย ทำหลักสูตรการเรียนรู้ใช้ในชุมชน ประสานกับโรงเรียนและ กศน.เทศบาลตำบลร่มเมืองและรพ.สต.ในตำบล 3.กิจกรรมสร้างกลไกในการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในชุมชน โดยถ่ายทอดความรู้สู่ อย.น้อยเพื่อเป็นกลไกในการตรวจสอบและเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในชุมชน

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2556 15:42 น.