directions_run

โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2) ”

หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านนา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นายดำรง ทันนาเขตร์

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2)

ที่อยู่ หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านนา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 56-00258 เลขที่ข้อตกลง 56-00-0473

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2) จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านนา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านนา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 56-00258 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,600.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 115 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์และเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร
  2. จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน
  3. เพื่อสนับสนุนการบริหารและดำเนินงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เข้าร่วมการปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนแะท้องถิ่นน่าอยู่

    วันที่ 19 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการเข้ารับการชี้แจงจาก สสส.และ สจรส.มอ.เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและผู้สนับสนุนทุนได้ตั้งไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการรับฟังการชี้แจงและลงข้อมูลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบออนไลน์

     

    2 0

    2. จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่สมาชิกชุมชน

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมโครงการแก่สมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกชุมชนจำนวน 117 คนรับทราบรายละเอียดกิจกรรมในโครงการ

     

    115 0

    3. จัดตั้งกองทุนปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมสาธิพร้อมกับปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทั้ง20 ครัวเรือนพร้อมที่จะนำความรู้ในการสาธิตการทำปุ๋ยอินทรีย์กลับไปทำทีบ้านได้

     

    30 0

    4. พัฒนาศักยภาพสมาชิก/กรรมการ/แกนนำชุมชน/คณะทำงาน

    วันที่ 8 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำตัวแทนครัวเรือนๆละหนึงคนมาเข้าร่วมรับฟังในการใช้สารโลโดไมล์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนสมาชิก 115 คนที่เข้าร่วมรับฟังการใช้สารโดโลไมล์ 

     

    115 115

    5. อบรมการทำฝายแม้ว

    วันที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนประชาชนเข้าทำฝายแม้วจำนวน25 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนฝายแม้วได้ 1 ฝายแม้ว

     

    15 25

    6. ทำฝายแม้ว

    วันที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมทำกิจกรรมฝายแม้ว 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกจำนวน20 คนร่วมกิจกรรมทำฝายแม้วได้ 1 ฝาย และยังทำเพิ่มอีก9ฝาย

     

    15 20

    7. ส่งเสริมการปลูกข้าวไร่ในกลุ่มสมาชิกใหม่และสมาชิกเก่าที่สนใจเพื่อเพิ่มความมั่นคงทางอาหารและส่งเสริมการอนุรักษ์พันธุ์ข้าวไร่

    วันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนครัวเรื่อน 25 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกชุมชนมีการปลูกข้าวไร่จำนวน25ครัวเรือนและยังมีปลูกข้าวไร่เพิ่มขึ้นอีกเพราะไกล้ฤดูฝน

     

    20 25

    8. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลการดำเนินงาน

    วันที่ 22 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน15 คน ผู้เข้ารร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์รวมเป็น100 คน รวม115 ตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียมอุปกรณ์ไว้ก่อน

     

    100 100

    9. ตรวจเอกสารการเงินงวดที่ 1

    วันที่ 31 สิงหาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมากชิก จำนวน 3 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำการลงเอกสารรายรับรายจ่ายได้อย่างเรียบร้อย

     

    2 3

    10. ประชุมติดตามผลการดำเนินโครงการงวดที่ 1

    วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและตัวแทนคณะทำงานเข้าร่วมนำเอกสารให้พี่เลี้ยงสจรส.ตรวจสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและตัวแทนคณะทำงานเข้าร่วมนำเอกสารให้พี่เลี้ยงสจรส.ตรวจสอบ ซึ่งต้องแก้ไขรายการค่าใช้จ่ายในใบสำคัญรับเงินเกี่ยวกับค่าอาหาร

     

    2 3

    11. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 7 กันยายน 2556 เวลา 09:00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานจำนวน19คนออกตรวจสอบพื้นที่ก่อสร้างก่อนการก่อสร้างพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานจำนวน15คนออกตรวจสอบพื้นที่ก่อสร้างก่อนการก่อสร้างพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง ดำเนินการก่อสร้างตามวันที่กำหนดจำนวน 1 จุด

     

    15 15

    12. ประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 8 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับผู้นำชุมชนจัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานและนำเสนอสมาชิกชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับผู้นำชุมชนจัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานและนำเสนอสมาชิกชุมชนโดยกำนันได้นำเสนอระเบียบวาระของหมู่บ้านในเรื่องที่ได้รับการชี้แจงมาจากอำเภอและผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอผลการดำเนินโครงการเกษตรอินทรีย์

     

    15 31

    13. เพิ่มศักยภาพความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 10 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ส่งเสริมสมาชิกเก่าและใหม่ให้มีความรู้ถึงการทำเกษตรที่ปลอดสารพิษ การเพิ่มผลผลิต การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ส่งเสริมสมาชิกเก่าและใหม่ให้มีความรู้ถึงการทำเกษตรที่ปลอดสารพิษ การเพิ่มผลผลิต การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

     

    20 20

    14. พัฒนาคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรประเภทผลไม้แบบครบวงจร

    วันที่ 10 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00-15.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องปลูกอย่างมีคุณภาพ การคัดเลือกเมล็ดพัน/การบำรุงดินให้มีสภาพแก่การเพาะปลูกผลผลิตแต่ละชนิดแก่เกษตรกรในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรกรได้รับทราบถึงผลดีของการปลูกผลไม้ที่มีคุณภาพของการคัดเลือกเมล็ดพันธ์และผลผลิต

     

    20 20

    15. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 13 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการ จำนวน 15 คน ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการผลการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมาพร้อมวางแผนการดำเนินครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการ จำนวน 15 คน ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการผลการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมาพร้อมวางแผนการดำเนินครั้งถัดไป

     

    15 15

    16. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 23 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานออกตรวจสอบพื้นที่ก่อสร้างก่อนวันจัดทำจริงพร้อมจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการก่อสร้างฝ้าย ร่วมกันดำเนินการก่อสร้างในวันที่กำหนดจำนวน 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานออกตรวจสอบพื้นที่ก่อสร้างก่อนวันจัดทำจริงพร้อมจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการก่อสร้างฝ้าย ร่วมกันดำเนินการก่อสร้างในวันที่กำหนดจำนวน 1 จุด

     

    15 15

    17. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการประชุมติดตามผลการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมาพร้อมรับฟังข้อเสนอแนะ และวางแผนการดำเนินงานในครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการประชุมติดตามผลการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมาพร้อมรับฟังข้อเสนอแนะ และวางแผนการดำเนินงานในครั้งถัดไป

     

    15 15

    18. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานในพื้นที่ออกตรวจสอบพื้นที่ก่อนการลงจัดทำฝ้ายพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำในวันที่กำหนดไว้จำนวน 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานในพื้นที่ออกตรวจสอบพื้นที่ก่อนการลงจัดทำฝ้ายพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำในวันที่กำหนดไว้จำนวน 1 จุด

     

    15 15

    19. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 6 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

     

    15 15

    20. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 16 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นที่ว่างงานร่วมออกตรวจพื้นที่ที่จะดำเนินการก่อสร้าง พร้อมเตรียมวัสดุในการก่อสร้าง นัดวันดำเนินการก่อสร้างจำนวน 1 วัน 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นที่ว่างงานร่วมออกตรวจพื้นที่ที่จะดำเนินการก่อสร้าง พร้อมเตรียมวัสดุในการก่อสร้าง นัดวันดำเนินการก่อสร้างจำนวน 1 วัน 1 จุด

     

    15 15

    21. จัดประชุมให้ความรู้ในเรื่องการใช้สารโดโรไมล์

    วันที่ 27 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการเชิญวิทยากรจากปราชญ์ชาวบ้านเข้าให้ความรู้และสาธิตการปรับสภาพดิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการเชิญวิทยากรจากปราชญ์ชาวบ้านเข้าให้ความรู้และสาธิตการปรับสภาพดินมีสมาชิกสนใจเข้าร่วมรับฟังและนำไปปรับใช้ จำนวน 30 หลังคาเรือน

     

    115 94

    22. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดวัดประชุมจัดประชุมคระทำงานผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จายในครั้งที่ผ่านมาพร้อมรับฟังข้อเสนอแนะจากการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมาพร้อมทั้งว่างแผนงานการดำเนินงานครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการนผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จ่ายในครั้งที่ผ่านมาพร้อมรับฟังข้อเสนอแนะจากการดำเนินงานคั้งที่ผ่านมาพร้อมทั้งว่างแผ่นการดำงานครั้งต่อไป

     

    15 15

    23. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 18 มกราคม 2557 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานร่วมออกตรวจสอบพื้นที่ที่กำหนดไว้ ก่อนการก่อสร้าง นัดวันและดำเนินการก่อสร้างฝ่ายแม้วในพื้นที่จำนวน 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานร่วมออกตรวจสอบพื้นที่ที่กำหนดไว้ ก่อนการก่อสร้าง นัดวันและดำเนินการก่อสร้างฝ่ายแม้วในพื้นที่จำนวน 1 จุด

     

    15 15

    24. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00-15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการ ผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จ่ายในครั้งที่ผ่านมาพร้อมรับฟังข้อเสอแนะและวางแผนการดำเนินงานครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานจำนวน 15 คน เข้าร่วมประชุมติดตามผลการดำเนินงานพร้อมร่วมกันวางแผนการดำเนินงานครั้งถัดไป

     

    15 15

    25. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดูสถานที่ที่พอเหมาะที่จะทำฝายแม้ว กำหนดวันพร้อมจัดหาอุปกรณ์ที่ในการที่กั้นนำ้ไว้ใช้โดยใช้ไม้ไ่ฟนำมากั้นทำกั้นสองขั้นตอน จัดทำจำนวน 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน/วัยรุ่นว่างงานร่วมจัดทำฝ่ายแม้วจำนวน 1 จุด

     

    15 15

    26. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00-16.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานในพื้นที่ออกตรวจสอบพื้นที่ที่ก่อสร้างก่อนดำเนินการพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง ดำเนินการก่อสร้างตามวันที่กำหนดจำนวน 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับวัยรุ่นว่างงานในพื้นที่ออกตรวจสอบพื้นที่ที่ก่อสร้างก่อนดำเนินการพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง ดำเนินการก่อสร้างตามวันที่กำหนดจำนวน 1 จุด

     

    15 15

    27. แปรรูปผลผลิตกรณีมี ราคาตกต่ำ เช่น แปรรูปกล้วยเล็บมือดิบเป็นกล้วยฉาบ/กล้วยสุกเป็นกล้วยอบน้ำผึ้ง แปรรูปทุเรียนเป็นทุเรียนทอด ทุเรียนกวน แปรรูปมังคุดเป็นมังคุดกวน

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00-15.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญเกษตรกรในพื้นที่ที่สนใจการแปรรูปเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบัติการแปรรูปทางการเกษตรที่ศูนย์เรียนรู้ในหมู่บ้าน ได้ การสาธิตทำกล้วยฉาบ ทุเรียนทอด ทุเรียนกวน มังคุดกวน กล้วยอบน้ำผึ้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเกษตรกรในพื้นที่ที่สนใจการแปรรูปเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบัติการแปรรูปทางการเกษตรที่ศูนย์เรียนรู้ในหมู่บ้าน จำนวน 30 คน โดยการทำกล้วยฉาบ ทุเรียนทอด ทุเรียนกวน มังคุดกวน กล้วยอบน้ำผึ้ง

     

    30 30

    28. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 7 มีนาคม 2557 เวลา 09:00-15.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดวันประชุม จัดประชุมคณะทำงานผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จ่ายในครั้งที่ผ่านมาพร้อมวางแผนงานครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนสมาชิกเข้าร่วมโครงการ 15คนผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จ่ายในครั้งที่่ผ่านมาพร้อมรับฟังข้อเสนอแนะจากการดำเนินงานครั้งที่ผานมาพร้อมทั้งวางแผนการดำเนินครั้งถัดไป

     

    15 15

    29. จัดตั้งกองทุนปุ๋ยอินทรีย์

    วันที่ 15 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการ/เยาวชนในสถานศึกษาร่วมจัดตั้งกองทุนปุ๋ย/ร่างระเบียบกองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการ/เยาวชนในสถานศึกษาร่วมจัดตั้งกองทุนปุ๋ย/ร่างระเบียบกองทุนจำนวน 30 คน

     

    30 30

    30. จัดทำฝายแม้วเก็บกักน้ำเพื่อใช้ในการเกษตร

    วันที่ 18 มีนาคม 2557 เวลา 09:00-16.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดพื้นที่จะก่อสร้างฝ่าย นัดทีมทำฝ่ายแม้วในวันที่กำหนดจัดทำ ลงมือทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมจัดทำฝ่ายร่วมจัดทำฝ่ายจำนวน 1 จุด

     

    15 15

    31. ทำฝายกักเก็บน้ำสำหรับใช้ในการเกษตร

    วันที่ 25 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะร่วมกับเยาวชนและสมาชิกและวัยรุ่นว่างงานในชุมชนออกตรวจสอบพื้นที่ก่อนจัดวางฝายพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตัดไม้ไผ่และจัดทำฝาย 1 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและสมาชิกลงพื้นที่แบ่งหน้าที่กลุ่มสมาชิก 7 คนไปตัดไม้ไผ่เตรียมทำฝาย คณะทำงานและเยาวชนลงหาจุดวางฝาย และจัดทำฝายได้ 1 จุด

     

    15 17

    32. ประชุมชี้แจงการเก็บผลผลิตที่มีคุณภาพเพื่อการตลาด

    วันที่ 28 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการร่วมกับคณะกรรมการด้านการตลาดของชุมชนประชุมหารือแนวทางการจัดการในการสร้างมูลค่าให้ผลผลิตทางการเกษตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมประชุมหารือแนวทางการจัดการการสร้างมูลค่าให้แก่ผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกชุมชน สรุปและนำเสนอแก่สมาชิกชุมชนได้รับทราบแนวทาง เช่น การเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้มาตรฐานเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพซึ่งจะทำให้ได้ราคาดี เป็นต้น

     

    30 30

    33. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 10 เมษายน 2557 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดวันประชุมการติดตามผลในแต่ละเดือน คณะทำงานชี้แจงผลการดำเนินงานในครั้งที่ผ่านมาแก่ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบพร้อมรับฟังข้อเสนอแนะจากการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการดำเนินงานครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทุกคนได้รับทราบผลการดำเนินครั้งที่ผ่านมาและนำข้อเสนอแนะที่ได้นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไปพร้อมทั้งวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งถัดไป

     

    15 15

    34. ประชุมติดตามประเมินผลโครงการเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมชี้แจงการบันทึกข้อมูลและจัดทำ รายงาน

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00-15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดวันประชุม จัดประชุมคณะทำงาน ผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จ่ายในครั้งที่ผ่านมา พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะจากการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมา พร้อมทั้งวางแผนการดำเนินงานครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการ ผู้รับผิดชอบด้านการเงินชี้แจงค่าใช้จ่ายในครั้งที่ผ่านมา พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะจากการดำเนินงานครั้งที่ผ่านมา พร้อมทั้งวางแผนการดำเนินงานครั้งถัดไป

     

    15 15

    35. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของโครงการ

    วันที่ 14 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการร่วมออกแบบแผ่นป้ายและออกติดตั้งป้ายในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการร่วมออกแบบแผ่นป้ายและออกติดตั้งป้ายในพื้นที่ จำนวน 20 ป้าย จัดทำป้ายเชิดชูเกียรติจำนวน 10 ป้าย จัดทำแผ่นพับ 400 แผ่น

     

    15 15

    36. แลกเปลี่ยนเรียนรู้หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 เวลา 08:00-17.00น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา9.00ไปถึงหมู่บ้านแหลมยางนาเข้าร่วมฟังการบรรยายของหมู่บ้านในเรื่องการทำบันชีครัวเรือน และชมการสาธิตการทำปุ๋ยหมัก การทำเห็ดฟางของหมู่บ้านแหลมยางนา เวลา12.30น ไปถึงหมู่บ้านยายไทรับประทานอาหารกัน เวลา13.30 น เข้าฟังการบรรยายขกิจกรรมของหมู่บ้านยายไทและชมกิจกรรมของหมู่บ้าน เช่นการปลูกผัก/เลี้ยงไก่/แปรรูปยางรถยนต์ที่ไม่ใช้แล้วให้เป็นเก้าอี้/อ่างเลี้ยงปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกโครงการจำนวน 50 คน ร่วมเดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่บ้านยายไท อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ได้ศึกษาเรื่องการทำเกษตรอินทรีย์ (การปลูกผักปลอดสารพิษ)การเลี้ยงปลา การทำยาเอนกประสงค์ การเพาะเห็ดฟาง การแปรรูปยางรถยนต์เป็นวัสดุใช้ในครั้งเรือน เลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงไก่ ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำมาปรับใช้กับในชุมชนได้

     

    50 50

    37. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานและนำเสนอแก่คณะกรรมการหมู่บ้านและสมาชิกชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานและนำเสนอแก่คณะกรรมการหมู่บ้านและสมาชิกชุมชนพร้อมทั้งหารือการต่อยอดโครงการปี 3 ซึ่งยังคงอยากให้สสส.สนันสนุนการพัฒนาชุมชนไปสู่ชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน

     

    150 110

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 การเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์และเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร
    ตัวชี้วัด : 1.1 เกษตรกร/สมาชิกชุมชนมีการใช้เกษตรอินทรีย์ร้อยละ 50 ของครัวเรือนทั้งหมด (320 ครัวเรือน) 1.2 ครัวเรือนมีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษกินเอง 1.3 ผลผลิตทางการเกษตรมีคุณภาพ(ของสมาชิกปลอดสารพิษ)

    1.1 ชุมชนมีการทำเกษตรอินทรีย์ในครัวเรือนเพิ่มขึ้นรวมทั้งหมด ร้อยละ 70 (224ครัวเรือน) โดยมีการทำปุ๋ยอินทรีย์และการปรับสภาพดินจากหมอดินและปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน การปรับสภาพพื้นที่ให้มีความเหมาะสมด้วยการทำฝายกั้นน้ำไว้ใช้ในการปลูกพืชผักโดยทั่วไปจำนวน 10จุดสามารถกักเก็บน้ำไว้ได้ดี 5 จุด รวมทั้งการนำสมาชิกชุมชนไปศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำมาเป็นแบบอย่างและปรับใช้กับชุมชนของตนเอง

    1.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ(224ครัวเรือน)มีการปลูกข้าว พืชผักปลอดสารพากินเองภายในครัวเรือน แลกเปลี่ยนกันในชุมชนและส่วนที่เหลือมีการนำไปขาย ซึ่งส่วนหนึ่งนำเป็นค่าบริหารจัดการที่เหลือมีการแบ่งกันตามสัดส่วนของพืชผักที่ นำมาขาย

    1.3 มีการนำผลผลิตที่ได้ในชุมชนมาปรับเปลี่ยนให้มีคุณค่าและคุณภาพ ด้วยการ

        1) การปรับรูปแบบหีบห่อในการขายด้วยการใส่ถุงแยกชนิดผักอย่างชัดเจนพร้อมส่งขาย     2) การแปรรูปผลผลิตผลไม้ที่มีในชุมชนอย่างหลากหลาย เช่น การแปรรูปกล้วยเล็บมือนางให้เป็นกล้วยฉาบและกล้วยอบน้ำผึ้ง การทำมังคุดกวน การทำทุเรียนทอดและทุเรียนกวน เป็นต้น พร้อมทั้งการบรรจุในภาชนะที่สะอาดและมีรูปแบบสวยงาม

    2 จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : 2.1 มีการสรุปรายงานที่ถูกต้อง 2.2 มีข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

    2.1 การสรุปรายงานล่าช้าเนื่องจากการลงข้อมูลของโครงการไม่เรียบร้อยแต่การเก็บเอกสารครอบคลุมขาดการจัดระบบ(ไม่เป็นอุปสรรคสามารถจัดการได้โดยทีมงาน)

    2.2 จัดทำข้อเสนอในการจัดการน้ำของชุมชนต่อเทศบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการสนับสนุนให้มีฝายที่พร้อมใช้และซ่อมแซมเมื่อเกิดการชำรุด เป็นต้น และสมาชิกชุมชนต้องช่วยกันดูแลและรักษาให้มีสภาพที่สามารถกักเก็บน้ำไว้ใช้ได้

    3 เพื่อสนับสนุนการบริหารและดำเนินงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. โครงการเข้าร่วมการประชุมกับทางสสส. /สจรส.ม.อ. 2. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์ส่งสสส. 3. มีการถ่ายภาพตลอดโครงการ มีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่

    มีการเข้าร่วมประชุมกับสสส./สจรส.มอ.ทุกครั้งและมีการจัดทำรายงานความก้าวหน้าของโครงการเป็นระยะและจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมทั้งแนบรายละเอียดสำคัญที่มีภาพถ่ายกิจกรรมและมีป้ายปลอดบุหรี่ตามที่กำหนดตลอดทั้งโครงการ

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์และเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร (2) จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน (3) เพื่อสนับสนุนการบริหารและดำเนินงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2)

    รหัสโครงการ 56-00258 รหัสสัญญา 56-00-0473 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    จากการดำเนินการเรื่องเกษตรอินทรีย์ส่งผลให้สมาชิกชุมชนหันมาทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น เกิดครัวเรือนที่เป็นต้นแบบเกษตรอินทรีย์ จำนวน 30 ครัวเรือน แกนนำครัวเรือนกล่าวว่า "ปลูกกินมากกว่าซื้อกิน ปลอดภัยดี เหลือยังขายได้"

    ครัวเรือนต้นแบบเกษตรอินทรีย์
    - นายเนือง  เรืองจันทร์ เลขที่ 105 - นางแสงจันทร์  รัตนภักดี เลขที่ 21 - นางจัน  พรมบังเกิด เลขที่ 20 - นางขำ  คงนาสร เลขที่ 112 - นางทองจันทร์  ทันนาเขตต์ เลขที่ 102 - นายขจัด  ดำระหงษ์ เลขที่ 123 - นางทิพวรรณ  ชาญนคร เลขที่ 54 - นางสุวัลลี  จุติคะสะ เลขที่ 41/2 - นางประทุม  นิลพัฒน์ เลขที่ 94/2 - นางอำภา  ตะเภาน้อย เลขที่ 21/6 - นางคำนึง  นวนขยาย เลขที่ 15/3 - นางจำนวน  นาคสังข์ เลขที่ 10
    - น.ส.สุวิมล  เพชรล้น เลขที่ 134 - นางพจนา  อินทรนิมิตร เลขที่ 83 - นายสมศักดิ์  แผ่งสมุทร เลขที่ 97 - นางหีต  เพชรกำเนิด เลขที่ 14
    - นางสุทิน  ทันนาเขตต์ เลขที่ 14/1
    - นางนิรมล  เพชรกำเนิด  เลขที่ 14/4
    - นางสุพิน ผิวผัน เลขที่ 13/3
    - นายสุชาติ ไชยทิศ เลขที่ 13 - นางเพรื่อง  ลอยทาน เลขที่ 96 - นางวิลัยพร  ลอยทาน เลขที่ 96/3
    - นางมิตร สุขสำเภา เลขที่ 11/1 - นางวนิดา  ลอยทาน เลขที่ 96/4 - นางอารีย์ ลอยทาน เลขที่ 96/5
    - นางละมัย ทันนาเขตต์ เลขที่ 114 - นางรำพึง กลัดแก้ว เลขที่ 144/6 - นางจเรวรรณ ช่วยคำ เลขที่ 154/1
    - นางวิลัยวรรณ พรมบังเกิด เลขที่ 15 - นางวนิดา  รักคลี่ เลขที่ 55/3

    พัฒนาสู่หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์เต็มรูปแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีสมาชิกออกกำลังกายเป็ยประจำ เช่นการวิ่ง ทุกปีจะมีการลงนักกีฬาวิ่งไปวิ่งแหวกทะเลที่เกาะพิทักษ์ได้รางวัลมาเกือบทุกปี มีการปั่นจักรยาน ซึ่งกำลังมีรวมตัวกลับชมรมจักรยานจังหวัดจัดกิจกรรมปั่นจักรยานดูนกเหยี่ยว/ชมแหล่งวัตถุโบราณ เป็นต้น นอกจากนี้กลุ่มเยาวชนมีการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล/ฟุตบอล ตามความชอบ

    ภาพถ่าย/ถ้วยรางวัล

    พัฒนาสู่ชมรมนักออกกำลีงกายหมู่บ้าน ที่ประกอบด้วยชมรมวิ่งส้านแดง ชมรมจักรยาน ชมรมแอโรบิค ชมรมฟุตบอล/วอลเล่ย์บอล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    มีสมาชิกสามารถลด ละ และเลิกอบายมุข(เหล้าบุหรี่)

    ผู้ที่สามารถลด ละ เลิกเหล้า/บุหรี่ ประกอบด้วย นายธวัช  เสาวรส/นายบุญฤทธิ์ เรนชนะ/นายบรรชา  พรมบังเกิด/นายสมพร เพชรพิรุณ/นายสุพล สันทัดการ นายจินดา สันทัดการ/นายพาด เพชรกำเนิด/นายวีรชัย ทันนาเขตต์/นายจเรศ  พึีงแย้ม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สมาชิกส่วนใหญ่มีการจัดการด้านสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนมาอย่างต่อเนื่องปัจจุบัน

    อสม.อสร.ฯลฯ

    พัฒนาสู่ชุมชนจัดการตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการปลูกป่าชุมชนเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ชุมชน มีการจัดทำฝายชะลอน้ำ ซึ่งเป็นการร่วมแรงร่วมใจของเด็กเยาวชน สมาชิกชุมชน กรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ร่วมส่งเสริมระบบนิเวศทางธรรมชาติและเป็นการเก็บกักน้ำไว้ใช้ด้านการเกษตรในช่วยหน้าแล้ง

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    พัฒนาสู่การทำฝายขนาดกลางเพื่อรองรับน้ำในช่วงน้ำหลาก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ชุมชนมีการจัดทำกติกาชุมชนเรื่องการใช้สารเคมี

    เอกสารกติกาชุมชน

    พัฒนาสู่ข้อบัญญัติหรือข้อบังคับท้องถิ่นในโอกาสต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งในและนอกพื้นที่ จากนอกพื้นที่ส่วนใหญ่เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนในเรื่องเกษตรอินทรีย์(การทำปุ๋ยอินทรีย์ การปรับสภาพดิน เป็นต้น

    ภาพถ่าย

    พัฒนาต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ครบวงจรของอำเภอและจังหวัด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ชุมชนมีการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ของชุมชน มีการทบทวนปรับปรุงแผนชุมชนและมีการส่งมอบแผนเข้าบรรจุไว้ในแผนพัฒนาตำบลของอบต.

    เอกสารแผนชุมชน

    พัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบแผนชุมชนเกรดเอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ช่วงเปลี่ยนผ่านโครงการปี 1 รอพิจารณาปี 2 ชุมชนมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยใช้ทุนเดิม(ปีแรก)ที่มีอยู่

    ข้อมูลในชุมชน

    พัฒนาสู่การเป็นชุมชนเข้มแข็ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    หลวงแดง/น้องตุ่ย/น้องโย่ง บอกว่าพวกตนเองภูมิใจที่ได้ทำกิจกรรมให้เกิดประโยชน์กับชุมชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสมาชิกชุมชนให้ดีขึ้นในหลายๆด้าน เกิดกลุ่มเยาวชนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญทำให้คนส่วนใหญ่เห็นพิษภัยจากการใช้สารเคมี ที่ทุกวันนี้ปนเปื้อนอยู่ในอาหารหลายประเภท

    ชุมชนบ้านส้านแดง

    พัฒนาเป็นเอกสารเรื่องเล่าของพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    สมาชิกชุมชนมีการมองผลประโยชน์ของชุมชนมาเป็นลำดับต้น ส่วนผลประโยชน์ตนเองเป็นรอง

    การปันผลรายได้ของสมาชิกอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม

    พัฒนาสู่วัฒนธรรมองค์กร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ในชุมชนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการและพัฒนาตนเองเป็นต้นแบบมีการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายและพอเพียงทุกครัวเรือน

    ข้อมูลในพื้นที่

    พัฒนาสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    สมาชิกชุมชนมีความเอื้ออาทรมากขึ้น

    ข้อมูลในพื้นที่

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการชุมชนบ้านส้านแดงเกษตรอินทรีย์ อยู่ดีมีสุข(ปี 2) จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 56-00258

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดำรง ทันนาเขตร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด