แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง ”

ป่าสงวนชุมชนดอนเทพมูล หมู่ 9

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุทัยวรรณ กาญจนปัทม์

ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง

ที่อยู่ ป่าสงวนชุมชนดอนเทพมูล หมู่ 9 จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 56-00243 เลขที่ข้อตกลง 56-00-0388

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 ถึง 30 เมษายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ป่าสงวนชุมชนดอนเทพมูล หมู่ 9

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ ป่าสงวนชุมชนดอนเทพมูล หมู่ 9 รหัสโครงการ 56-00243 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2556 - 30 เมษายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าไม้ พืชสมุนไพรและสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลป่าไม้และพืชสมุนไพรให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน
  3. เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศ

    วันที่ 19 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานสสส.ร่วมกับสจรส.มอ.ให้ความรู้ในเรื่องที่มา วัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้ความรู้ในการจัดทำโครงการ การเงินและการบัญชี

     

    2 2

    2. 1. ประชุมชี้แจงโครงการให้ประชาชนทราบ

    วันที่ 23 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงประชาชนบ้านนาหวาน พร้อมทั้งประกาศรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประชุมแกนนำผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 27 คน โดยผู้รับผิดชอบโครง ผู้ใหญ่บ้านและกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ

     

    150 27

    3. จัดทำแนวกั้นเขต

    วันที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      แกนนำชุมชน 5 คนและอาสาสมัคร 15 คน และประชาชน 11 คน เข้าร่วมจัดทำแนวกั้นเขตแดน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำเขตแนวกันเขตแดนป่าพร้อมทั้งพุดคุยกับชาวบ้านบางกลุ่มที่เคยบุกรุกไม่ให้บุกรุกพื้นที่เขตแดนอีก

     

    50 30

    4. จัดทีมในการดูแลรักษาป่า

    วันที่ 17 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนร่วมกับแกนนำกลุ่มต่างๆ เขาทำความสะอาดป่าให้โล่ง พร้อมที่จะให้ทีมสำรวจทำงานได้เร็วขึ้น มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม50คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนและทีมแกนนำมีความรู้จากปราชญ์ชาวบ้านในการเก็บต้นไม้สำคัญๆไว่้เมื่อทำความสะอาดป่า

     

    50 50

    5. สำรวจและขึ้นทะเบียนต้นไม้และสมุนไพร

    วันที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมสำรวจต้นไม้ในป่าดอนเทพมูล พบต้นไม้สำคัญๆหลายชนิดเช่นไม้ยางนา คอลั้ง และสมุนไพร ต่างๆ เป็นต้น มีปราชญ์ชาวบ้านเป็นผู้ร่วมนำสำรวจ ซึ่งมีจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีต้นไม้ไม่ตำ่กว่า 20 ชนิด และสมุนไพร โดยปราชญ์ชาวบ้านได้กล่าวถึงสรรพคุณของต้นไม้และสมุนไพรแต่ละชนิด

     

    15 15

    6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อนุรักษ์ต้นไม้และพืชสมุนไพร

    วันที่ 25 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนและเยาวชนได้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนต. ช่องไม้แก้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนและเยาวชนได้เรียนรู้วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและการนำสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์

     

    50 50

    7. จัดทำแปลงแพาะกล้าไม้และพืชสมุนไพร

    วันที่ 28 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาสาสมัครพร้อมแกนนำจำนวน 29 คน จัดทำแปลงแพาะกล้าไม้และสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดทำแปลงแพาะปลูกและมีคนคอยดูแลแปลงแพาะตลอด

     

    50 50

    8. ติดตามโครงการเอกสารการเงิน งวดที่1

    วันที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ข้อเสนอแนะปรับปรุงแก้ไขบางส่วน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่มาวันนี้ได้เรียนรู้การจัดทำเอกสาร  เจ้าหน้าที่แนะนำรายละเอียดช้แจงใบสำคัญรับเงินในแต่ละกิจกรรม

     

    2 2

    9. จัดประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของชุมชนให้ท้องถิ่นท้องที่หน่วยงานระดับอำเภอ

    วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 09:00- 12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำป้ายบอกอณาเขตป่าอนุรักษ์ 4 ด้านพร้อมป้ายโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายเขตอนุรักษ์ ทั้ง 4 ด้านและประชาสัมพันธ์ให้ชาวชุมชนได้รับรู้และช่วยกันเป็นหูเป็นตาอยดูแลรักษาป่า

     

    50 50

    10. ประชุมเชิงปฏิบัติให้ความรู้เรื่องของป่าไม้พืชสมุนไพรและแนวทางการอนุรักษ์

    วันที่ 7 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าป่าไม้ และนายกอบต.ประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป้าและพืชสมุนไพรและแนวทางการแก้ไขการบุกรุกทำลายของชาวบ้านบางส่วนที่ยังบุกรุกป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวชุมชนได้รับรู้รับฟังหัวหน้าป่าไม้ และนายกอบต.ชี้แจงเกี่ยวกับเรื่องการอนุรักษ์ป่าไม้และพืชสมุนไพรรวมทั้งประวัติการบุกรุกป่าและจำนวนป่าที่ยังคงเหลืออยู่

     

    100 50

    11. ป้ายประชาสัมพันธ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 13 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ป้ายเขตปลอดบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวชุมชนให้ความร่วมมือปฏิบัติตามป้ายที่กำหนดไว้และชาวบ้าน เยาวชนบางส่วนก็ไม่ต้องกลัวอันตรายจากควันบุหรี่ในเวลาที่มาประชุม

     

    15 150

    12. ประชุมเพื่อจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่าไม้และสมุนไพร

    วันที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พูดคุยถึงเรื่องการอนุรักษ์สมุนไพรและการนำสมุนไพรในครัวเรือนมาใช้ ให้เกิดประโยชน์และให้ชาวบ้านอยู่ร่วมกับป่าให้ได้คุ้มค่า พร้อมทั้งการจัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อไม่ให้มีการบุกรุกป่าเพิ่มขึ้น การทำแนวกันไฟ เตรียมบุคคลที่จะช่วยกันร่างกติกา/มาตรการชุมชนและนำรายละเอียดที่ได้จากป่าไม้แจ้งให้สมาชิกทราบถึงขนาดของผืนป่าที่มีจำนวน 114 ไร่ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มกลุ่มอนุรักษ์เกิดขึ้นโดยความสมัครใจของคนในชุมชน ทุกกลุ่มอายุ เพื่อการรักษาพืชพันธ์สมุนไพรหายาก ป่าไม้ที่สมบูรณ์  พื้นที่ป่าต้นนำ้และแหล่งนำ้ธรรมชาติที่ยังมีอยู่ รวมทั้งวางแผนในการจัดหาพืชและสมุนไพรมาปลูกเพิ่มเติม โดยประสานงานกับหน่วยอนุรักษ์พันธ์ุพืชและสรรพคุณสมุนไพรจากโรงพยาบาลท่าแซะ

     

    50 53

    13. ประชุมสัมนาร่วมขับเคลื่อนชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการเช้าร่วมกิจกรรมร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการทั้งภาคใต้มีการนำเสนอผลงานในรูปแบบของนิทรรศการและการนำเสนอบนเวทีแยกตามรายละเอียดของกิจกรรม พร้อมทั้งส่งรายงานการดำเนินงานให้กับทีมงานสจรส.มอ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการสองคนมีความความใจในการดำเนินกิจกรรมมากขึ้นโดยได้ศึกษาจากเวทีที่มีการรำเสนอผลงานเด่นจากทุกจังหวัดที่ได้รับทุนดำเนินการของสสส.ทำให้รู้จักเพื่อน ๆจากหลายจังหวัด ได้รู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น ตัวอย่างของเด็กและเยาวชนที่ดี การจัดการขยะและนวัตกรรมของแต่ละจังหวัด เป็นต้น

     

    2 2

    14. ทำความสะอาดป่าและซ่อมแซมป่า

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00-12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำการเถ้าถางป่าที่รกให้ดูมีระเบียบขึ้น มีกรรมการและชาวบ้านมาร่วมกันทำความสะอาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำการปลูกต้นไม้เพิ่มและเถ้าถางป่าให้สะอาดดูร่มรื่น

     

    50 50

    15. เฝ้าระวังป่า และทำความสะอาดป่า

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00และ 15.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ยามลาดตะเวณรักษาป่า  จำนวน  2 คน คอยลาดตะเวณบริเวณในป่าและรอบเขตแดน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดมีการลาดตะเวณ ทุกสัปดาห์ เพื่อลดการบุกรุกป่า 

     

    52 2

    16. ร่างกติกา มาตรการชุมชน

    วันที่ 5 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนดอนเทพมูลและชุมชนหมู่ 16 และ หมู่ 12 และ ตำบลบางสนเข้าร่วมเวทีร่างมาตราการชุมชน - ห้ามตัดไม้ในพื้นที่สงวน - ห้ามบุกลุกป่า - ห้ามล่าสัตว์ในอณาเขตป่าอนุรักษ์ - ห้ามรื้อถอนหลักปักเขตแดน และพูดคุยถึงกิจกรรมงวดแลกที่ประสบความสำเร็จไปแล้วบางส่วนและกิจการรมที่จะต้องทำในงวดที่ สองให้ทางชุมชนได้รับรู้ และยังแรกเปลี่ยนประสบการณ์ของโครงการตำบลบางสน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนเข้าร่วมประชุมพร้อมชุมชนใกล้เคียงรวมมีจำนวนผู้เข้าร่วม  158 คน ชาวชุมชนทุกคนยอมรับกับการร่างมาตราการในครั้งนี้

     

    150 150

    17. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนตุลาคม

    วันที่ 8 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00 และ 14.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดยามดูแลรักษาป่าจำนวน  2  คนคอยลาดตะเวณบริเวณรอบเขตป่าอนุรักษ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มียามลาดตะเวณดูแลรักษาป่าอนุรักษ์จำนวน  2 คน คอยลาดตะเวณบริเวณป่าและรอบเขตแนวกั้นเขตแดนป่าอนุรักษ์คอยสอดส่องการลักลอบตัดไม้และการล่าสัตว์

     

    2 2

    18. ทำความสะอาดป่าและซ่อมแซมป่า

    วันที่ 22 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00-12 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีชาวบ้านและเยาวชนรวมทั้งกรรมการพร้อมด้วยยามดูแลป่ามาช่วยกันทำความสะอาดและเจาะปาล์มและตัดแต่งกิ่งไม้และเก็บกวาดเผาขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางชุมชนดอนเทพมูลได้ร่วมมือกันออกมาทำความสะอาดอาดและช่วยกันดูแลอนุรักษ์ป่าและสมุนไพรเพิ่มมากขึ้นและเยาวชนได้เรียนรู้ประโยชน์ของป่าและพืชสมุนไพร

     

    50 53

    19. ทำความสะอาดป่าและซ่อมแซมต้นไม้

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00-13 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการทำความสะอาดและเถ้าถางตัดหญ้าบริเวณเขตป่าอนุรักษ์บริเวณด้านหน้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวชุมชนร่วมกันออกมาทำความสะอาดรวมทั้งยังคอยเฝ้าระวังการบุกรุกจากชาวบ้านบางกลุ่มที่อยู่ด้านหลัง ของบริเวณป่าอนุรักษ์ชุมชนและแกนนำยอมรับการทำความสะอาดป่าทุกเดือน

     

    50 56

    20. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนพฤศจิกายน

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แต่ละสัปดาห์มียามเฝ้าคอยเดินตรวจตราในป่าและทำความสะอาดเก็บกิ่งไม้หรือเผากิ่งไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บางครั้งมีอาสาสมัครบางคนเข้าร่วมทำความสะอาดด้วย

     

    2 2

    21. ทำความสะอาดป่าและซ่อมแซมพืชสมุนไพรและต้นไม้

    วันที่ 5 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดลาดตระเวนโดยรอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากกิจกรรสเมื่อมีการตรวจตรา และเฝ้าระวังป่าขึ้น จากเดิมที่ชาวบ้านไม่ค่อยสนใจเข้าร่วมเรื่องอนุรักษ์  ปัจจุบันเริ่มดีขึ้น ในเรื่องความร่วมมือ

     

    50 2

    22. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนธันวาคม

    วันที่ 30 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเดิินตตรวจพร้อมทำการบำรุง รักษาพื้นที่ป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทั้งผ้ที่ทีบทบาทตรวจลาดตตระเวนป่า มีความเข้าใจ ผูกพันกันป่ามากขึ้น  พร้อมกันยังถ่านทอดแนวการปฎิบัติตัวให้เข้ากับป่าไได้อย่างถูกต้อง

     

    2 2

    23. ทำความสะอาดและซ่อมแซมป่า

    วันที่ 5 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัดแต่งกิ่งไม้เพื่อให้สามารถเดินสำรวจได้มากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถเดินสำรวจป่าได้

     

    50 50

    24. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนมกราคม

    วันที่ 7 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพิ่มความเข้าใจกับประชาชนละแวกใกล้เคียงกับพื้นที่ในป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกส่วนมีความเข้าในโครงการและการปฎิบัติต่อป่าที่ดีขึ้น

     

    2 80

    25. นำมาตรการชุมชนแจ้งประกาศใช้

    วันที่ 10 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดป้ายมาตราการจุดโดยรอบพื้นที่ป่าฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แนวทางการปฏิบัติตามมาตราการบังคับใช้การลงโทษชัดเจน ประกอบด้วยการห้ามตัดต้นไม้ใหญ่ในป่าโดยเด็ดขาดถ้่าฝ่าฝืนผู้ใหญ่สามารถดำเนินการแจ้งความข้อหาบุกรุกได้ มีต้นไม้บางต้นที่สามารถตัดได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ก่อน เช่นไม่ไผ่ ไม่กระถินเทพา ขี้เหล็ก ฯ เป็นต้น มีป้ายประกาสไว้ชัดเจน

     

    300 300

    26. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนกุมภาพันธ์

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดลาดตระเวน  พร้อมเสนอข้อมูลแลกเปลี่ยน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้าน  ผู้นำ  เข้าร่วมช่วยตรวจลาดตระเวนบ้าง  ความเข้าใจสัมพันธ์ดีขึ้น

     

    2 50

    27. ทำความสะอาดและซ่อมแซมป่า

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความสะอาด ตัดแต่งกิ่งไม้ เพื่อไม่ง่ายต่อการเดินสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป่าดูโปร่งขึ้น สามารถเดินสำรวจได้ง่ายขึ้น

     

    60 50

    28. จัดอบรมการเป็นมัคคุเทศก์น้อย

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ์จัดอบรมมัคคุเทศก์น้อย เรื่องความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพืชสมุนไพรและสิ่งแวดล้อม ทักษะการแนะนำ เป็นปราชญ์ชาวบ้านรุ่นเยาว์ และเป็นต้นแบบที่ดีกับกลุ่มอื่น ๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการอนุรักษ์ผืนป่าและสมุนไพร และสามารถแนะนำเพื่อนบ้านได้มากขึ้น

     

    25 30

    29. ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสมุนไพรไทย

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การให้ความรู้ประโยชน์ของสมุนไพร  วิธีการใช้ ผลข้างเคียงและการสาธิตวิธีการทำลูกประคบและการทำใบเตยให้เป็นรูปต่าง ๆ เป็นเวลา 2 วัน โดยวันที่ 23 ก.พ.57เป็นเรื่องทฤษฎีสมุนไพร วันที่ 24 ก.พ. 57 เป็นการเรียนรู้เรืองการทำลูกประคบด้วยตนเองเพื่อนำไปใช้ที่บ้าน และการทำผลิตภัณฑ์จากใบเตยหอม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านมีความรู้เรื่องประโยชน์ของสมุนไพร  วิธีการใช้ ผลข้างเคียงและการสาธิตวิธีการทำลูกประคบจากสมุนไพรในครัวเรือนมาทำลูกประคบ และสามารถทำลูกประคบด้วยได้ตนเอง  และทำใบเตยหอม เป็นรูปดอกไม้ พวงมาลัยเพื่อให้บูชาพระและใช้เป็นเครื่องหอมในรถ/บ้าน

     

    50 50

    30. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรม

    วันที่ 2 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมแจ้งข้อมูลการดำเนินงานที่ผ่านมาของคณะกรรมโครงการที่ได้มีการสำรวจพื้นที่ป่าทำให้รู้ถึงจำนวนต้นไม้ที่มีอยู่อย่างหลากหลายทั้งไม้ยืนต้น ไม้ไผ่ ไม้ล้มลุกและพืชสมุนไพร มีจำนวนมาก โดยมีปราชญ์ชาวบ้านให้ข้อมูลความรู้ในการสำรวจ การพบแหล่งนำ้ในพื้นที่(ตานำ้) และการบุกรุกแนวป่าของชาวบ้าน ซึ่งมีจำนวนมากกว่า300ไร่เหลือเพียง114 ไร่ เป็นข้อมูลเบื้องต้น ให้ชุมชนแลกเปลี่ยน เสนอข้อคิดเห็นต่อผู้นำชุมชน และประชาชนเจ้าของชุมชนเพื่อการดำเนินการที่สืบต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกฝ่ายเข้าใจ ยอมรับ และพร้อมดำเนินการโครงการให้ต่อเนื่อง

     

    150 150

    31. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนมีนาคม

    วันที่ 7 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เดินลาดตระเวนตามแนวป่าทั้ง 4 ด้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านเกิดจิตสำนึกในการไม่บุกรุกพื้นที่ป่า

     

    2 2

    32. ทำความสะอาดและซ่อมแซมป่า

    วันที่ 8 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดให้ความรู้ในเรื่องการดูแลและรักษาป่า และรับสมัครอาสาสมัครดูแลป่าเพิ่มขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการดูแลรอบบริเวณป่า และเข้าร่วมเป็นอาสาสมัคร

     

    50 50

    33. ทำความสะอาดและซ่อมแซมป่า

    วันที่ 5 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัดแต่งกิ่งไม้ให้โปร่ง ง่ายต่อการสำรวจ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการทำความสะอาดป่า

     

    50 50

    34. เฝ้าระวังรักษาป่าเดือนเมษายน

    วันที่ 7 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เดินลาดตระเวนเฝ้าระวังผู้บุกรุก เดือนละ 4 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้บุกรุกป่ามีจำนวนน้อยลง

     

    2 2

    35. จัดข้อมูลเพื่อการเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์

    วันที่ 22 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำฐานข้อมูลของต้นไม้ที่สำรวจได้ แยกเป็นไม้ยืนต้นใหญ่เช่น ต้นยางนา ตะเคียน คอลั้ง อินทนิล ฯลฯ  ไม้ยืนต้นขนาดกลาง เช่น ประดู่ กระถิ่นเทพา ฯลฯ และ พืชสมุนไพร เช่น ขมิ้นชันพูม นมแมว เป็นต้น พร้อมทั้งได้รวบรวมเป็นเอกสาร จัดทำเป็นแผ่นพับไว้เพื่อการเรียนการสอนต่อไป โดยมีปราชญ์ชาวบ้านเป็นที่ปรึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกฝ่ายร่วมรับทราบ ตอบรับการเคลื่อนไหว และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเพื่อการพัฒนาโครงการต่อไป

     

    70 64

    36. จัดเสวนากลุ่มแกนนำเรื่องสมุนไพร

    วันที่ 23 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมที่เริ่มคือการพุดคุยถึงเรือ่งสมุนไพรและต้นไม้ว่ามีการจัดการอย่างไรบ้างทั้งในอดีต ปัจจุบันและอนาคตซึ่งพบว่าเดิมพื้นที่ป่ามีจำนวน  300ไร่ที่มีต้นไม้ใหญ่จำนวนมากและอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชสมุนไพรที่เป็นต้นไม้หายากหลายชนิด ปัจจุบันหลังจากทีมงานได้สำรวจพื้นที่แล้วและป่าไม้อำเภอได้มาทำพิกัดทำให้มีพื้นที่ป่าเหลืืออยู่เพียง 114 ไร่ เนื่องจากมีการบุกรุกจับจองเมีื่อปี2532จากพายุไต้ฝุ่นเกย์และยังมีการบุกรุกอย่างต่อเนื่องแต่หลังจากทีมงานสำรวจและมีเวรยามคอยเดินดูแลทำให้ผู้บุกรุกเกรงมากขึ้น แต่ยังมีไฟฟ่าเกิดขึ้น 2 ครั้ง ทีมงานได้ช่วยกันดับไฟ แต่เป็นไปได้ยากเนื่องจากรถฉีดนำ้เข้าไม่ได้ไม่มีเส้นทางเดินที่รถจะเข้าได้ ในอนาคตคิดว่าอยากจะทำแนวทางเดินรถภายในพื้นที่ ขุดสระ ทำแผนที่ต้นไม้ และแนวกันไฟที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้ป่าโปร่งขึ้นเหมาะสำหรับการเดินเท้าของทีมมัคคุเทศก์น้อย และการดูแลสมุนไพรหายากในป่า โดยจะขอความร่วมมือกับป่าไม้ อบต. กรมชลประทานและสสส.เพื่อขอสนับสนุนต่อไป เป็นต้น 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกคนที่เข้าร่วมเสวนามีความตระหนักพร้อมทั้งวางแผนงานในอนาคตของการอนุรักษ์ฟื้นฟูผืนป่าต่อไป

     

    50 62

    37. ประชุมสรุปบทเรียนและผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 24 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแจ้งผลการดำเนินโครงการแก่สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุม  แจกเอกสารแผ่นพับเกี่ยวกับกิจกรรม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และตอบข้อซักถาม พร้อมทั้งคิดกิจกรรมสืบเนื่องโครงการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการและที่ปรึกษาโครงการและพี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาได้มีการร่างมาตรการชุมชน ประกาศใช้ในเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ทุกคนรับทราบร่วมกันนำมาตรการมาจัดทำป้ายประกาศให้ทุกคนรับทราบถือปฏิบัติ มีการฝ่าฝืนบ้างแต่สามารถไกล่เกลี่ยได้เนื่องจากมีการลาดตระเวณระวังรักษาป่าที่ช่วยกันเฝ้าระวัง ทีมงานมีการประชุมอย่างสมำ่เสมอ มีการปลูกป่าและพืชสมุนไพรเพิ่มเติมพร้อมทั้งการพัฒนาในวันสำคัญๆ อบรมมัคคุเทศก์น้อย เกิดกลุ่มอนุรักษ์ป่าและสมุนไพร ฝึกทำลูกประคบจากสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อใช้ในครัวเรือนเมื่อเกิดการปวดเมื่อย และทำดอกไม้จากใบเตยเป็นเครื่องหอมและขายได้

     

    150 50

    38. ประชุมคณะกรรมการโครงการฯ ประจำเดือน

    วันที่ 25 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้งผลการดำเนินการเป็นที่พอใจและเห็นร่วมกันว่า  ควรสืบเนื่องโครงการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลของการประชุมประกอบด้วย 1.เดือนกันยายน 56 มีการจัดประชุมเรื่องแนวทางการอนุรักษ์ผืนป่าและการจัดการเริ่มโครงการในงวดที่2 2.เดือนตุลาคม 56มีการแจ้งผลจากการปรระชุมของผู้รับผิดชอบโครงการที่เข้าร่วมประชุมกับสจรส.มอ.ในการจัดทำรายงาน และการส่งรายงานทางอินเตอร์เนต วิธีการใช้เงินที่ถูกต้องให้สอดคล้องกับกิจกรรม 3. เดือนพฤศจิกายน56 สรุปผลการดำเนินงานจากการบุกรุกป่าของชาวบ้านต้องประสานกับป่าไม้อำเภอและนายกอบต. 4. เดือนธันวาคม 56 มีการประชุมการปลูกทดแทนเช่น ต้นไม้ สมุนไพร โดยใช้แนวร่วมเป็นเยาวชน ในท้องที่ 5.เดือนกุมภาพันธ์57  มีการจัดประชุมการปฏิบัติจิงในแนวเขตโดยรอบผืนป่าให้ชัดเจน แยกพื้นที่ระหว่างพื้นที่ป่ากับพื้นที่ทำกินของชาวบ้าน 6.เดือนมีนาคม 57 ประชุมการจัดแต่งต้นไม้สู่พื้นที่โครงการจากรอบนอกโดยรอบโดยใช้ความเข้าใจร่วมกันสู่การดำเนินงานขั้นตอนต่อไป 7.เดือนเมษายน57  สรุปกิจกรรมรายงานผลสู่การติดตามโครงการต่อไป

     

    15 10

    39. จัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการ รายงานปิดโครงการ

    วันที่ 30 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมในโครงการฉบับสมบูรณ์ พร้อมทั้งตรวจสอบรายงานต่าง ๆของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลจากการดำเนินงาน พร้อมทั้งจัดรวบรวมกิจกรรมเพื่อจัดทำรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าไม้ พืชสมุนไพรและสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดี เข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ป่าชุมชนมากขึ้น 2. ลดการบุกรุกป่า 3. ลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและใช้สมุนไพรแทน 4. แกนนำชุมชนทุกกลุ่มเป็นต้นแบบในการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

    1.ชาวบ้านมีการปลูกป่าเพิ่มขึ้นและไม่ตัดต้นไม้ 2.ตามแนวเขตแดน ได้มีการปลูกต้นไม้รอบแนวเขต 3.ชาวบ้านส่วนใหญ่หันมาใช้ยาสมุนไพรแทนยาแผนปัจจุบัน เช่น เป็นไข้ใช้ฟ้าทะลายโจรแทน

    2 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลป่าไม้และพืชสมุนไพรให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชน. 2. มีการกำหนดแนวทาง กฎ กติกาชุมชนในการดูแลรักษาป่า 3. ประชาชนมีความรู้สามารถอธิบายเรื่องต้นไม้และสรรพคุณสมุนไพรที่ปลูกได้ ร้อยละ 70
    1. มีหน่วยงานท้องถิ่นเข้ามาร่วมกิจกรรมในการกำหนดมาตรการชุมชนและชาวบ่้านได้มีส่วนร่วมในการร่างมาตรการชุมชน 2.ชาวบ้านส่วนใหญ่นำสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ดี
    3 เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : ผู้รับผิดชอบและทีมงานมีความรู้ เข้าใจในการดำเนินโครงการ

    ผู้รับผิดชอบเข้าใจกระบวนการในการจัดทำเอกสารการเงิน การจัดทำรายงาน และจัดทำรายงานความก้าวหน้า รายงานฉบับสมบูรณ์ส่งสสส. ได้ตามระยะเวลาที่กำหนด

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าไม้ พืชสมุนไพรและสิ่งแวดล้อม (2) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลป่าไม้และพืชสมุนไพรให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน (3) เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง

    รหัสโครงการ 56-00243 รหัสสัญญา 56-00-0388 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2556 - 30 เมษายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ชุมชนรู้ว่าป่ามีความสำคัญต้องช่วยกันดูแลรักษา พร้อมทั้งปลูกฝังให้เยาวชนคนรุ่นใหม่รักผืนนป่ามากยิ่งขึ้น

    รายงานและสภาพป่าชุมชนที่สมบูรณ์

    การจัดทำแนวเขตให้ชัดเจนมากย่ิ่งขึ้นเพื่อป้องกันบุคคลภายนอกเข้ามาบุกรุกป่าและตัดไม้ของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    มีผลลผลิตเป็นป่าไม้ที่มีไม้ยืนต้นอายุหลายสิบปีหลานพันต้น (ไม้ยางนา มะฮอกกานี อินทะนิน โมก ฯ) และสมุนไพรไทย

    ข้อมูลต้นไม้ที่สำรวจได้

    จัดทำแผนที่ต้นไม้และสรรพคุณของต้นไม้และสมุนไพร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและความเสียสละของทีมผู้รับผิดชอบโครงการ

    รายงานการประชุมของคณะกรรมการ

    พัฒนาศักยภาพแกนนำในการบริหารจัดการโครงการและอื่นๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กลุ่มอนุรักษ์ป่าไม้ที่มีสมาชิกทุกกลุ่มอายุ

    รายงานการประชุมกลุ่ม

    ส่งเสริมศักยภาพของกลุ่มเพิ่มขึ้นทั้งด้านความรู้ และความสามารถในการถ่ายทอดของทีมมัคคุเทศน์น้อย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีป่าชุมชนกลางหมู่บ้านที่ยังเหลืออยู่และเป็นป่าต้นนำ้จำนวน๑๑๔ไร่ ที่สามารถทำเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนที่การเดินทางสะดวกและไม่ไกลจากโรงเรียนระดับอำเภอ เป็นต้น

    ภาพถ่ายและพื้นที่ป่าชุมชน หมู่ที่๙ ตำบลท่าแซะ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร

    จัดทำถนนคนเดินในพื้นที่ป่า เพื่อการเรียนรู้และสะอวกต่อการดูแลรักษาป่าได้อย่างทั่วถึง การชุดสระนำ้เพื่อกักเก็บนำ้ไว้ให้ชุมชนได้ใช้ โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกรมป่าไม้ กรมประมง เทศบาล และสสส.

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    การนำพืชสมุนไพรที่มีในป่ามาเป็นส่วนผสมของการดูแลรักษาสุขภาพเช่น เสดพังพอนรักษาแผลงูกัด  ขมิ้นชัน/ขี้เเหล็ก/ เพ็ดสังฆาตและไพรช่วยระบบทางเดินอาหาร  เป็นต้น

    ภาพถ่ายและรายงาน

    จัดทำแผนการตลาดเพื่อส่งขายและเป็นเครือข่ายของโรงพยาบาลท่าแซะในปีต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    คนในชุมชนหันมาบริโภคพืชล้มลุกบางตัวที่มีในป่าเช่นใบย่านาง พาโหม ชะเรือด เล็บร่อ พูม มาเป็นอาหาร

    ภาพถ่ายและรายงาน

    นำพืชผักและสมุนไพรบางชนิดที่เก็บได้ส่งขาย (เมื่อมีการปลูกทดแทนแล้วและมีจำนวนมากพอ) เพื่อเป็นรายได้เสริมให้ประชาชนและส่วนหนึ่งเก็บเป็นส่วนกลางเพื่อใช้ในการบริหารจัดการป่าให้กับชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การทำความสะอาดป่าร่วมกัน มีการพบปะพูดคุยกันทำให้มีความสุข คลายเครียดได้

    ภาพถ่าย

    ต้องมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและประชาชนทุกกลุ่มวัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการนำสมุรไพรต่าง ๆมาทำเป็นลูกประคบ สำหรับนวดตัวแก้อาการปวดเมื่อย

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    กลุ่มเด็กและเยาวชนมีความสนใจ ในการเป็นมัคคุเทศน์น้อย ทำให้ผู้ปกครองได้รับรู้และข้าร่วมกิจกรรมด้วยทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน

    ภาพถ่ายและรายงานการประชุม พร้อมทั้งการสอบถาม

    จัดกิจกรรมให้ต่อเนื่องและเพิ่มศักยภาพและจำนวนให้มากขึ้นโดยครอบคลุมเยาวชนในชุมชนและผู้ที่สนใจ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ชุมชนช่วยกันจัดการทำความสะอาดป่า ปลูกไม้เพิ่มเติม ทำแนวเขตแดนป่า

    ภาพถ่ายและรายงานการประชุม ดูพื้นที่จริง

    ประสานกันท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีพื้นที่สาธารณะ ที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีต้นไม้ใหญ่ ไม้สวยงาม และสมุนไพรไทย จัดเวรยามเฝ้าระวังป่าเดือนละ ๔ ครั้งป้องกันคนบุกรุกป่า

    ภาพถ่ายและรายงานการประชุม ดูพื้นที่จริง

    รับสมัครอาสาสมัครเพิ่มขึ้น และประสานกับกลุ่มอื่นๆได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    มีการจัดทำมาตรการชุมชนในเรื่องของป่า ตั้งแต่ การห้ามตัดต้นไม้ใหญ่ และต้นไม้ขนาดกลางต้องได้รับอนุญาตก่อน (ไม้ไผ่ เถาวัลย์) ห้ามทิ้งขยะบริเวณป่า ถ้าฝ่าฝืนจะแจ้งจับ

    รายงานสรุปโครงการ

    มีการประกาศใช้ติดไม้ทั้ง ๔ ด้านของป่า และประกาศเป็นแผ่บพับ/เสียงตามสายและแจ้งในเวทีประชุมประขำเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    การประสานกลุ่มอสม.ในการประชาสัมพันธ์การใช้พืชสมุุนไพร และโครงการเศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอท่าแซะและอำเภอทุ่งตะโก

    ภาพถ่ายและการรายงานกิจกรรม

    นำแบบบัญชีครัวเรือนมาปรับใช้เพื่อลด-ละ-เลิกอบายมุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำชุมชนสามารถประเมินปัญหา-วางแผน-แก้ไข-ประเมินงานที่ทำได้พร้อมทั้งเสนอแนวคิดที่จะดำเนินการต่อไป

    รายงานสรุปผลการดำเนินการ

    นำผลที่เกิดขึ้นหลังประเมินผลโครงการฯมาวิเคราะห์ความสอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดและนำปัญหาและผลที่ไม่ได้ตามเป้าหมายมากำหนดแนวทางการพัฒนาใหม่โดยผ่านเวทีชุมชนตามประเด็นปัญหาเพื่อแก้ไขในด้านการป้องกันไฟป่า-การบุกรุก-การตัดต้นไม้-การศึกษาระบบนิเวศน์ของป่า เป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการนำปราชญ์ชาวบ้านผู้มีความรู้เรือ่งสมุนไพร/ต้นไม้เป็นทีมสำรวจป่าทำให้ทราบว่ามีต้นอะไรบ้างและมีสรรพคุณอย่างไร โดยทีมงานต้องประสานผู้เชี่ยวชาญอีกครั้งเพื่อจัดทำเป็นคู่มือชุมชนต่อไป

    ผลการดำเเนินงานและภาพกิจกรรม

    จัดทำแผนที่ต้นไม้และคุณสมบัติของพืชในสวนป่าชุมชนทุกชนิด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ทีมผู้รับผิดชอบโครงการมีการสรุบผลการดำเนินงานเสนอประชาชนทราบถือปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดและเสนอต่อท้องถิ่นเพื่อทราบและการดำเนินการต่อไป

    มาตรการชุมชนเรื่องป่า และรายงานการประชุม

    ประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆในเวทีประชุมชุมชนทั้งหมด เวทีผู้บริหารประจำเดือนของอำเภอและเวทีของสสส.เมื่อมีโอกาส

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการนำข้อคิดเห็นจากที่ประชุมมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดดำเนินการที่เหมาะสมต่อไป

    รายงานการประชุมและแผนดำเนินการ

    ส่งเสริมให้มีการพัฒนาต่อเนื่องต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานมีการเรียนรู้ในการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นหลังจากสรุปผลเป็นระยะๆเข้าในเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านให้ชุมชนรับทราบและร่วมกันตัดสินใจที่จะจัดการต่อไป

    รายงานการประชุมและกิจกรรมดำเนินการตามแผน

    เสนอแผนต่อผู้บริหารท้องถิ่นและป่าไมอำเภอและสสส.

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ดีใจที่สามารถทำให้ประชาชนมารวมตัวกันได้และร่วมแรงร่วมใจการดูแลรักษาป่าต้นนำ้ชุมชน

    สรุปรายงาน

    เชิญชวนให้ทุกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ป่าต่อไป แม้ไม่มีงบประมาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การช่วยเหลือของชุมชนเมื่อเกิดไฟไหม้ ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือในการดับไฟด้วยกำลังกายโดยรถดับเพลิงไม่สามารถเข้าได้ไม่มีทางเดินรถหรือทางที่กว้างพอมีแตทางคนเดินเท่านั้น

    ร่องรอยไฟไหม้ป่า

    จัดทำแผนพัฒนาในเรืองการทำทางเข้าพื้นที่เพื่อใช้ในการป้องกันไฟป่าและจัดทำแผนที่ต้นไม้และแนวเขตให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    มีการประหยัด การปลูกพืชผักรับประทานเองในครัวเรือน เป็นบางครอบครัวในกลุ่มแกนนำชุมชนยังไม่แพร่หลายในชุมชน

    การสอบถามและการสังเกต

    ชุมชนวิเคราะห์ว่าเป็นแนวทางหนึ่งที่ทุกครัวเรือนควรนำมาใช้เพื่อความสุขของครอบครัวและชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีลงแขกการช่วยกันเมื่อถึงวันสำคัญๆ และออกปากเมื่อมีภาระกิจที่จะต้องทำและตนเองมีกำลังไม่พอ ชุมชนก็ให้การช่วยเหลือกัน มีการแ่บ่งปันเมื่อครอครัวตนเองเหลือใช้ เช่นพืชผักสวนครัว

    การสอบถามและการสังเกต

    ฝึกเด็กและเยาวชนให้กระทำตามเพื่อการเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    ชุมชนมีการนำปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นมาพูดคุยกันและหาแนวทางแก้ไขในเวทีประชุมประจำเดือน มติที่เกิดขึ้นเกิดการยอมรับและนำไปปฏิบัติ

    รายงานการประชุม

    สนับสนุนให้มีการนำมติไปใช้ในกิจกรรมชุมชนต่อไปอย่างต่อเนื่องจนเป็นนิสัยของทุกคน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการอนุรักษ์ผืนป่าดอนเทพมูลเพื่อพ่อหลวง จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 56-00243

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอุทัยวรรณ กาญจนปัทม์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด