แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน ”

หมู่ที่ 5 บ้านทอนตรน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายหรูน เส็นบัตร

ชื่อโครงการ การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน

ที่อยู่ หมู่ที่ 5 บ้านทอนตรน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 56-02537 เลขที่ข้อตกลง 56-00-1053

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2556 ถึง 30 กันยายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านทอนตรน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 บ้านทอนตรน ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 56-02537 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 204,220.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 95 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ
  2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะโดยชุนชน
  3. เพื่อให้มีกฏกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน
  4. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของโครงการฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเปิดโครงการ เพื่อสร้างความเข้าใจและคณะทำงาน พร้อมกับรับสมัครเด็กและเยาวชนพื้นทีเข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 26 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมตัวแทนครัวเรือน
    • สร้างความเข้าใจโครงการ
    • รับเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลเชิงประมาณ - มีครัวเรือนเข้าร่วม 110 คน - มีแกนนำเข้าร่วม 15 คน - แกนนำเด็กและเยาวชน เข้าร่วม 15 คน ผลเชิงคุณภาพ - ครัวเรือนเข้าใจปัญหาโครงการ - แกนนำเข้ามามีส่วนร่วม - เด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการ

     

    110 121

    2. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการและการรายงานผลการดำเนินงานผ่านเว็บไซส์คนใต้สร้างสุข

    วันที่ 10 ตุลาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      กลุ่มแกนนำในการดำเนินงาน จำนวน  15  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำเข้าใจแนวทางในการดำเนินงานโครงการ
    • แกนนำเข้าใจการรายงานผลกิจกรรมผ่านเว็ปไซต์คนใต้สร้างสุข
    • แกนนำมีการกำหนดปฏิทินโครงการ
    • มีการแบ่งหน้าที่ในการดำเนินโครงการ

     

    15 15

    3. ประชุมสร้างเครืองมือการสำรวจขยะโดยใช้แบบสำรวจขยะในชุมชน

    วันที่ 22 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมคณะกรรมการ/เยาวชนและสร้างเครืองมือสำรวจขยะในชุมชน
    • สร้างความเข้าใจในแบบสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลเชิงปริมาณ มีคณะกรรมการและเยาวชนเข้าร่วม จำนวน 30 คน
    • ผลเชิงคุณภาพ มีแบบสำรวจขยะ , คณะกรรมการและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม

     

    30 30

    4. สำรวจข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลขยะในครัวเรือนครั้งที่ 1

    วันที่ 26 ตุลาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สร้างทีมแกนนำเยาวชนสำรวจข้อมูล  จำนวน  15  คน
    • แบ่งพื้นที่สำรวจตามละแวกบ้านในชุมชน จำนวน  7  พื้นที่
    • จัดทีมภาคี อสม. ร่วมในกิจกรรมสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนเกิดสิ่งที่ต้องการอยากรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน
    • ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำจัดขยะ ไม่ใช่หน้าที่ของเทศบาล

     

    15 15

    5. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจขยะ ในหมู่ที่ 5 บ้านทอนตรนครั้งที่ 1

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม/วิเคราะห์ข้อมูลครัวเรือน คณะกรรมการแกนนำและเยาวชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทราบข้อมูลด้านความรู้และทัศนคติ ในการจัดการขยะของครัวเรือน
    • ทราบถึงสิ่งที่ประชาชนอยากให้จัดการเรื่องขยะ ในชุมชน
    • ทราบถึงจำนวนปริมาณขยะในครัวเรือน

     

    30 30

    6. จัดกิจกรรมศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การจัดการขยะที่ เทศบาลตำบลปริก อ.สะเดา  จ.สงขลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำนำปรโยชน์จากการศึกษาดูงานมาปรับใช้ในชุมชน
    • แกนนำเกิดทักษะการถ่ายทอดให้ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ

     

    15 21

    7. จัดเวทีประชุม คืนข้อมูลให้กับชุมชน

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้าน จำนวน 100 คน
    • คณะกรรมและแกนนำ  จำนวน  30  คน
    • เยาวชน อสม.  จำนวน  10  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนเกิดความตระหนักในการเข้ามาร่วมในจัดการขยะ เช่น การคัดแยกขยะเพื่อนำมาขายที่จุดรับซื้อขยะของหมู่บ้าน
    • แกนนำนำความรู้จาการศึกษาดูงานขยายผลต่อครัวเรือนในชุมชน
    • ประชาชนและแกนนำร่วมคิดร่วมแสดงความคิดเห็นที่จะพัฒนาหมู่บ้านให้ปลอดขยะ โดยการกำหนดวันพัฒนาหมู่บ้าน บริเวณ 2 ข้างถนนภายในหมู่บ้าน

     

    115 120

    8. จัดประชุมคณะกรรมการโครงการและอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เพื่อสรุปกิจกรรม

    วันที่ 4 ธันวาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการและเครือข่าย อสม.  จำนวน  30  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการกำหนดแผนการพัฒนาหมู่บ้านร่วมกันแกนนำหมู่บ้านเครือข่าย อสม.
    • สร้างกลุ่มภาคีเครือข่าย แกนนำหมู่บ้านและอสม. ขยายโครงการฯ สู่ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบ

     

    30 30

    9. ประชุมปฐมนิเทศ โครงการ ปี 2556

    วันที่ 19 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมปฐมนิเทศโครงการใหม่ ปี 2556
    • ประชุมทำความเข้าใจในกระบวนการจัดทำโครงการ ของ ปี 2556
    • แนวทางในการรายงานผลกิจกรรมผ่านเว็ปไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำทราบถึงกระบวนการจัดทำโครงการให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน
    • แกนนำมีการกำหนดปฏิทินของโครงการฯ และรายงานผลกิจกรรมผ่านเว็ปไซต์คนใต้สร้างสุข

     

    3 3

    10. รณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสปลูกจิตสำนึกในการกำจัดขยะในบ้านเรือนและที่สาธารณะ

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชาสัมพันธ์การกำหนดวันจัดกิจกรรม
    • เชิญชวนแกนนำ อสม. และประชาสัมพันธ์เข้ามาร่วมจัดกิจกรรม
    • จัดกิจกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โดย แกนนำนักเรียน อสม. ผู้นำชุมชน
    • ส่งเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
    • ส่งเสริมการเก็บกวาดขยะในสถานที่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มแกนนำและครัวเรือนนำร่อง เข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในการจัดการขยะ
    • เกิดการสร้างพฤติกรรมในการคัดแยกขยะในครัวเรือน
    • แกนนำนักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมเกิดการเรียนรู้เรื่อง การนำเศษวัสดุมาใช้ประโยชน์
    • ผู้นำชุมชน โรงเรียน เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมและอยากให้เกิดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

    90 140

    11. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมงาน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสรุปกิจกรรมของโครงการที่ผ่าน
    • นำเสนอแผนงานและกำหนดวางแผนในการทำโครงการของ เดือน มีนาคม 57
    • สรุปผลด้านงบประมาณของโครงการ
    • กำหนดมอบหมายงานแกนนำ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำได้นำผลของการดำเนินกิจกรรมต่างๆที่ผ่านมา กำหนดกฎกติกาเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
    • แกนนำได้สร้างเครือข่ายโรงเรียนของชุมชน แปลงปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
    • ส่งเสริมการผลนำเข้าขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะ
    • ให้นำขยะอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด และลดวิธีกำจัดขยะโดยการเผา เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชน

     

    21 21

    12. สำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2

    วันที่ 23 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตัวแทนเยาวชนในหมู่บ้าน สำรวจข้อมูลปริมาณขยะในครัวเรือน , วิธีการจัดการขยะของครัวเรือน และการมีส่วนร่วมในการจัดขยะของชุมชน
    • สร้างทีมแกนนำเยาวชนสำรวจข้อมูล  จำนวน  15  คน
    • แบ่งพื้นที่สำรวจตามละแวกบ้านในชุมชน จำนวน  7  พื้นที่
    • จัดทีมภาคี อสม. ร่วมในกิจกรรมสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนเกิดสิ่งที่ต้องการอยากรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน
    • ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะ
    • ชุมชนรู้และมีพฤติกรรมการคัดแยกขยะ

     

    15 30

    13. อบรมเรื่อง การคัดแยกขยะ ,การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 30 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดกิจกรรมให้ความรู้ เรื่อง การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
    • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง ขยะที่เหลือใช้จากครัวเรือนเพื่อทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
    • สาธิตการจัดน้ำหมักในเองในครัวเรือน
    • มีการฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ย โดยตัวแทนครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดองค์ความรู้ในการคัดแยกขยะในครัวเรือน ของตัวแทนครัวเรือน เพื่อขยายผลสู่ครัวเรือนอื่นในหมู่บ้าน
    • ตัวแทนครัวเรือนเกิดความรู้ ว่าชุมชนมีสิ่งต่างๆที่เหลือมาก สามารถนำมาประโยชน์ได้ทั้งหมด เพื่อลดปริมาณขยะ
    • ชุมชน มีความคิดว่าไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีถังขยะของเทศบาล

     

    75 75

    14. จัดอบรมให้ความรู้สาธิตการทำแก๊สชีวภาพในครัวเรือน

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • อบรมให้ความรู้ในการทำแก๊สชีวภาพ
    • อธิบายขั้นตอนการทำโดยการวาดภาพอธิบายแต่ละขั้นตอน
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เข้ารับการอบรม โดยการซักถาม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ตัวแทนครัวเรือนและแกนนำที่เข้ารับการอบรม เกิดความรู้ที่จะทำเศษวัตถุที่เหลือใช้นำมาทำให้เกิดประโยชน์ในครัวเรือนได้
    • แกนนำชุมชนที่เข้ารับการอบรม อาสาที่จะทำแก๊สชีวภาพในครัวเรือนเพื่อเป็นบ่อแก๊สสาธิตและศูนย์เรียนรู้ในชุมชน
    • มีการร่วมกลุ่มที่จะศึกษาขั้นตอนการทำแก๊สชีวภาพ โดยค้นหาช่างในหมู่บ้านมาเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว

     

    75 75

    15. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ ครั้งที่ 2

    วันที่ 14 พฤษภาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำข้อมูลจากการสำรวจ ตรวจสอบความถูกต้อง
    • แบ่งวิเคราะห์ข้อมูลแยกตามละแวกบ้านที่สำรวจ
    • นำข้อมูลวิเคราะห์ในภาพร่วมของหมู่บ้าน เพื่อเตรียมนำเสนอข้อมูลคืนสู่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนและแกนนำ เข้าร่วมวิเคราะห์ข้อมูล
    • ทราบข้อมูลในชุมชนและครัวเรือน มีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น
    • จำนวนปริมาณขยะลดลง

     

    30 30

    16. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมงาน

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้ใหญ่บ้าน ประชุมทำความเข้าใจคณะกรรมการและติดตามความก้าวหน้า
    • กำหนดนัดวันทำกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียรู้ ในการจัดการขยะ
    • แบ่งเขตละแวกของแกนนำ ส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะ

     

    21 21

    17. จัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่โดยมีสัญลักษณ์ สสส.

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ติดป้ายประชาสัมพันธ์สถานที่นี้ปลอดบุหรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีป้ายประชาสัมพันธ์ "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่โดยมีสัญลักษณ์ สสส." ติดในศาลาประจำหมู่บ้าและมัสยิดบ้านทอนตรน

     

    2 15

    18. ถอนเงินคืนค่าเปิดบัญชีโครงการ

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ถอนเงินคืนค่าเปิดบัญชีโครงการ ของกรรมการ 2 ใน 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ถอนเงินคืนค่าเปิดบัญชีโครงการโดยผู้มีอำนาจเบิกจ่ายเงิน 2 ใน 3

     

    2 3

    19. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงติดตามหลังการให้ความรู้แก่ครัวเรือนนำร่อง
    • คณะกรรมการมีการนำเสนอปัญหาอุปสรรคต่างๆ ปรึกษาหาวิธีแก้ไขปัญหา
    • คณะกรรมการ นำเสนอเรื่องการพัฒนาหมู่บ้าน ต้องทำต่อเนื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการมีส่วนรวมของชาวบ้านในการพัฒนาหมู่บ้านทุกเดือน
    • ภาคีแกนนำ และ อสม. ร่วมกันพัฒนาสถานที่สาธารณะของหมู่บ้านด้วยทุกเดือน เป็นแบบอย่างที่ดี
    • แกนนำช่วยกระตุ้นให้ครัวเรือนนำร่อง ให้มีการคัดแยกขยะลดการนำเข้า

     

    21 21

    20. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 10 มิถุนายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามความก้าวหน้า
    • พัฒนาพื้นที่เขตปลอดขยะของหมู่บ้าน
    • กำหนดเขตปลอดขยะเพิ่มในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการขยายพื้นที่เพิ่มที่การพัฒนาของหมู่บ้าน
    • ทำให้ชาวบ้านมีพฤติกรรมในเรื่องการดูแลความสะอาดบริเวณบ้านตนเอง
    • เกิดความรู้แลกเปลี่ยนในการดูแลความสะอาดและจัดการขยะของครัวเรือน

     

    21 50

    21. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กิจกรรมประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ
    • ประชุมทบทวนและนัดวันทำกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการนำปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการไปแก้ไข
    • มีการแลกเปลี่ยนละแวกบ้านจากแกนนำที่เข้าไปดูแลการจัดการขยะ

     

    21 21

    22. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 10 สิงหาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามงานโครงการ
    • ชี้แจงและนำเสนอปัญหาการดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำคิดเพื่อให้เกิดมาตรการกำหนดนโยบายของหมู่บ้าน เพื่อลดปริมาณขยะ
    • มีการแลกเปลี่ยนละแวกบ้านจากแกนนำที่เข้าไปดูแลการจัดการขยะ

     

    21 21

    23. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง กำหนดมาตรการของชุมชน

    วันที่ 5 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเสนอประเภทของขยะแต่ละประเภท
    • ประโยชน์ของการคัดแยกขยะในครัวเรือน
    • มีการจัดกิจกรรมในชุมชน โดยนำวัสดุที่เหลือใช้มาใช้ประโยชน์
    • นำเสนอกฎกติการ และประกาศเป็นนโยบายของหมู่บ้านให่ประชานในหมู่บ้านทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการกำหนดกฎกติการและประกาศนโยบายการลดการนำเข้าขยะ โดยชุมชนเอง   1. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนคัดแยกประเภทขยะ ก่อนทิ้งทุกครั้ง   2. ส่งเสริมให้ครัวเรือน ใช้ตะกร้า ,ถุงผ้า หรือปิ่นโต เพื่อจับจ่ายซื้อของ   3. ส่งเสริมให้มีการนำวัสดุใช้แล้วมาเวียนใช้ใหม่   4. ลดการใช้วัสดุโฟม ในงานประเพณีต่างๆในชุมชน
    • เกิดการมีส่วนร่วมในการคิด เพื่อลดขยะ
    • เกิดการใช้ตะกร้าหรือถุงผ้า เพื่อลดการนำเข้าขยะ

     

    120 120

    24. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน

    วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามงานโครงการ
    • ชี้แจงและนำเสนอปัญหาการดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดกิจกรรมให้ความรู้ในกลุ่มนักเรียน เรื่อง การจัดการขยะ  โดยผ่านทางครู
    • เกิดความรู้ในกลุ่มนักเรียนคุรุสัมพันธ์ วันเสาร์-อาทิตย์ ที่มัสยิดบ้านทอนตรน

     

    21 21

    25. ประชุมทำความเข้าใจการจัดทำรายงานปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 16 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงประจำจังหวัดเพื่อทำความเข้าใจการจัดทำรายงานปิดโครงการ
    • สรุปการดำเนินโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการเข้าใจการจัดทำรายงานปิดโครงการ

     

    3 4

    26. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมฯ

    วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมติดตามความก้าวหน้า ปรึกษาหารือเกณฑ์ประเมินครัวเรือน
    • พัฒนาพื้นที่เขตปลอดขยะของหมู่บ้าน
    • กำหนดเขตปลอดขยะเพิ่มในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการขยายพื้นที่เพิ่มที่การพัฒนาของหมู่บ้าน
    • ทำให้ชาวบ้านมีพฤติกรรมในเรื่องการดูแลความสะอาดบริเวณบ้านตนเอง
    • เกิดความรู้แลกเปลี่ยนในการดูแลความสะอาดและจัดการขยะของครัวเรือน
    • ชาวบ้านที่เข้าร่วมมีพฤติกรรมในการดูแลความสะอาดของหมู่บ้านและครัวเรือนของตนเอง

     

    21 60

    27. ประชุมครัวเรือน/คัดเลือกคณะกรรมการ

    วันที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเสนอคัดเลือกคณะกรรมการ
    • นำเสนอเกณฑ์การประเมินและกำหนดคะแนน ตามเกณฑ์เป็นข้อๆ
    • มติที่ประชุมมีการพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมเกณฑ์ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดภาคีเครือข่าย จากเทศบาลตำบลและหน่วยงานพัฒนาชุมชนอำเภอกงหราเข้ามามีส่วนร่วม

     

    75 75

    28. ประชุมคณะทำงานเพื่อทบทวนสรุปกิจกรรม

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สรุปกระบวนที่เกิดจากการทำงานโครงการทั้งหมด ว่ามีอะไรบ้าง แลกเปลี่ยนกับแกนนำ
    2. คิดเกณฑ์กำหนดคะแนนการประเมินครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำได้รับผลจากการพัฒนาโครงการสู่ชุมชนในการจัดการขยะ และรวมกลุ่มในการพัฒนาต่อเนื่อง
    • กลุ่มแกนนำ นำความรู้ในเรื่อง เกณฑ์ประเมินครัวเรือน และอธิบายการกำหนดคะแนนแก่ครัวเรือนที่ลงประเมินได้

     

    21 21

    29. สำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 3

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กลุ่มเยาวชนสำรวจข้อมูลขยะในครัวเรือน ทั้งหมดในบ้านทอนตรน
    • ให้ความรู้แก่ครัวเรือน ในการคัดแยกขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดทัศนคติที่ดีต่อการสำรวจ/ให้ข้อมูลขยะจากครัวเรือน
    • ภาคีเครือข่าย แกนนำและ อสม. เข้าร่วมในการสำรวจ

     

    15 15

    30. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดการประชุมวิเคราะห์ข้อมูลขยะ ของครัวเรือนลดลงหรือไม่
    • นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ เพื่อนำคืนข้อมูลแก่ชุมชนทราบ
    • เยาวชนนำสรุปประเด็นปัญหาอุปสรรคจากการสำรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนและแกนนำ เข้าร่วมวิเคราะห์ข้อมูล
    • ทราบข้อมูลในชุมชนและครัวเรือน มีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น
    • จำนวนปริมาณขยะลดลง

     

    30 30

    31. ประชุมการจัดทำรายงานปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทบทวนรายงานค่าใช้จ่ายโครงการ
    • สรุปกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำทราบรายละเอียดการใช้จ่ายของโครงการ
    • ทราบถึงรายงานที่ต้องส่งเพื่อปิดโครงการ

     

    3 3

    32. คืนข้อมูลให้กับชุมชน ครั้งที่ 2

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเสนอข้อมูลขยะ จากครัวเรือน
    • แลกเปลี่ยนเรียรู้ของผู้เข้าประชุม ในการลดขยะในชุมชนแบบยั่งยืน
    • ชุมชนมีการเสนอแนะในที่สาธารณะ ของหมู่บ้านทุกจุดต้องปลอดขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนเกิดความตระหนักในการเข้ามาร่วมในจัดการขยะ เช่น การคัดแยกขยะเพื่อนำมาขายที่จุดรับซื้อขยะของหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้น
    • แกนนำนำความรู้จาการศึกษาดูงานขยายผลต่อครัวเรือนในชุมชน
    • ประชาชนและแกนนำร่วมคิดร่วมแสดงความคิดเห็นที่จะพัฒนาหมู่บ้านให้ปลอดขยะ มีการเพิ่มจุดปลอดขยะบริเวณ ลำคลองในหมู่บ้าน
    • ชุมชนคิดสร้างให้ชุมชนเป็นปลอดขยะแบบยั่งยืน

     

    115 125

    33. คณะกรรมการลงประเมินครัวเรือน

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจครัวเรือนทั้งหมด เพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ ในการจัดการขยะ
    • รวบรวบข้อมูล จากคณะกรรมการ เพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะของชุมชน
    • ครัวเรือนต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับครัวเรือนอื่น ในการจัดการขยะได้
    • คณะกรรมการมีการส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

     

    15 15

    34. จัดเวทีคืนข้อมูล แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง ขยะ , มอบประกาศครัวเรือนต้นแบบ , จัดบูธนำเสนอการดำเนินงาน

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กิจกรรมมอบประกาศเกียรติบัตรแก่ครัวเรือนต้นแบบ
    • จัดเวทีคืนข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง ขยะ
    • ขยายผลถึงครัวเรือนอื่นในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชุมชนมีการส่งเสริมให้เกิดการขยายผลให้เกิดไปสู่ครัวเรือนอื่นเป็นครัวเรือนต้นแบบ
    • ชุมชนเกิดความคิดในการพัฒนาชุมชนในการจัดการขยะอย่างต่อเนื่อง
    • ครัวเรือนที่ได้รับรางวัลสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนะนำให้กับครัวเรือนอื่นได้

     

    120 120

    35. ประชุมทำความเข้าใจการจัดทำรายงานปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทบทวนรายงานค่าใช้จ่ายโครงการ
    • สรุปกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำทราบรายละเอียดการใช้จ่ายของโครงการ
    • ทราบถึงรายงานที่ต้องส่งเพื่อปิดโครงการ

     

    3 3

    36. จัดทำภาพถ่ายการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการ

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำภาพถ่ายกิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการประกอบรายงานฉบับสมบูรณ์เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีภาพถ่ายกิจกรรม เพื่อประกอบรายงานฉบับสมบูรณ์เพื่อปิดโครงการ

     

    2 0

    37. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ส่ง สสส.ประกอบการปิดโครงการ

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการตรวจสอบรายงานในระบบเว็ปไซต์ประกอบด้วย ส.1งวดที่ 2ส.2งวดที่2 ส.3 ส.4 ง.1งวดที่ 2 และง.2 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีรายงานฉบับสมบูรณ์ส่ง สสส.ประกอบการปิดโครงการ 

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : - ขยะในชุมชนลดลงร้อยละ 60

    สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในข้อนี้ พบว่าการทิ้งขยะในที่สาธารณะหมดไป และเกิดเป็นเขตปลอดขยะในพื้นที่โรงเรียนบ้านทอนตรน โรงเรียนศาสนวิทยามูลนิธิ บริเวณสองข้างถนนตลอดหมู่บ้านทุกเส้นทาง มัสยิดบ้านทอนตรน ศาลาที่ประชุมหมู่บ้าน

    2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะโดยชุนชน
    ตัวชี้วัด : - ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม ร้อยละ 60 ของครัวเรือนทั้งหมด

    พบว่ามีประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเกินกว่าร้อยละ 60 ของครัวเรือนทั้งหมด ซึ่งวัดจากกิจกรรมการเข้าร่วมรณรงค์ทั้งสองครั้ง การเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงาน และการเข้าร่วมเป็นครัวเรือนนำร่อง

    3 เพื่อให้มีกฏกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน
    ตัวชี้วัด : - มีกติกาของชุมชนในการจัดการขยะที่ทุกคนมีส่วนร่วม

    สามารถกำหนดและประกาศเขตปลอดขยะที่คนในชุมชนร่วมกันปฏิบัติตามได้ในพื้นที่ โรงเรียนบ้านทอนตน โรงเรียนศาสนวิทยามูลนิธิ สองข้างถนนทุกสายในหมู่บ้าน มัสยิดบ้านทอนตรน ศาลาประจำหมู่บ้าน เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะ 50 ครัวเรือน

    4 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของโครงการฯ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรม

    เข้าร่วมในการปฐมนิเทศ 1 ครั้ง ประชุมร่วมกับทีมพี่เลี้ยง รวม 4 ครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะโดยชุนชน (3) เพื่อให้มีกฏกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน (4) เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของโครงการฯ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน

    รหัสโครงการ 56-02537 รหัสสัญญา 56-00-1053 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การคัดแยกและการใช้ประโยชน์จากขยะเป็นความรู้ที่ชุมชนนี้ไม่เคยมีความรู้มาก่อน เช่นการทำปุ๋ยชีวภาพจากขยะอินทรีย์ จากเศษอาหาร ในครัวเรือน และการคัดแยกอย่างละเอียดจะช่วยเพิ่มมูลค้าแก่ขยะที่ผ่านการคัดแยกมาแล้ว

    บันทึกกิจกรรมการอบรมการคัดแยกขยะและการทำปุ๋ยชีวภาพจากขยะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เกิดกระบวนการเรียนรู้ข้อมูลขยะนำมาวิเคราะห์ นำไปสู่การคัดแยกอย่างเป็นขั้นตอน ถึงการรวบรวมการจัดการกลุ่มซื้อขายขยะ

    คณะทำงานบ้านทอนตรน และครัวเรือนนำร่อง

    ขยายผลจากครัวเรือนนำร่องสู่ระดับชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    คณะทำงานแบ่งพื้นที่กันดูแลและรับผิดชอบการติดตาม การกระตุ้นครัวเรือนที่รับผิดชอบ ที่สำคัญคือผู้รับผิดชอบแต่ละพื้นที่ต้องลงมือทำให้ดูและอยู่ให้เห็น เพื่อที่จะเป็นแบบอย่างแก่ครัวเรือนในควมรับผิดชอบของตน

    คณะทำงานบ้านทอนตรน และครัวเรือนนำร่อง

    ปรับใชกับการจดการเรื่องอื่นๆประเด็นอื่นในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    1.เกิดกลุ่มรวบรวมขยะจากครัวเรือนเพื่อคอยให้พ่อค้าในชุมชนเข้ามารับซื้อ 2. เกิดกลุ่ม อสม.ที่รวมตัวกันผลิตเครื่องดื่มสมุนไพรเพื่อรองรับงานกิจกรรมต่างๆในหมู่บ้าน

    จุดรวบรวมขยะในหมู่บ้าน/อสม.ในหมู่บ้าน

    พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้ชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    การดูแลความสะอาดในครัวเรือน และพฤติกรรมการทิ้งขยะที่มีระเบียบวินัยมากขึ้น จากการลงติดตามของคณะทำงาน

    คณะทำงานติดตามประเมินผล

    ขยายผลสู่ครัวเรือนในระดับชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้บรรจุภัณฑ์บรรจุอาหารและเครื่องดื่ม เช่นลดละเลิกการใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหารและเครื่องดื่มในกิจกรรมต่างๆของหมู่บ้าน และในงานบุญนูรี (งานประเพณีในศาสนาอิสลาม)

    คณะกรรมการหมู่บ้าน

    ขยายผลให้คร่อบคลุมครัวเรือนในชุมชน และกำหนดเป็นประเด็นในการขับเคลื่อนในระยะต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมเรียนรู้ในกิจกรรมของโครงการ การเข้าร่วมพัฒนาทำความสะอาดในที่สาธารณะของหมู่บ้าน การจัดทำและรณรงค์เขตปลอดขยะในหมู่บ้าน เป็นเครื่องมือในกรสร้างการมส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน พูดคุยกัน ทำงานร่วมกัน ส่งผลให้ลดความเครียดเมื่อได้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ

    ครัวเรือนนำร่องในชุมชน

    สร้างกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้เข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    เกิดการนำเอาสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาผลิตเป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ เช่นกระเจี๊ยบ ตะไคร้ รางจืด อัญชันฯ

    กลุ่ม อสม.

    พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และขยายผลต่อเนื่องในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ลดละเลิกพฤติกรรมการทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง ไม่ทิ้งในเขตปลอดขยะ ในครัวเรือนมีการคัดแยกและใช้ประโยชน์สูงสุดจากขยะ

    ครัวเรือนนำร่อง

    ขยายการจัดากรสู่ปเด็ฯอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การจัดการขยะครบวงจรโดยชุมชน

    เขตปลอดขยะ ได้แก่ สองข้างถนนในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียนบ้านทอนตรนและโรงเรียนศาสนวิทยามูลนิธิ/ครัวเรือนนำร่อง 75 ครัวเรือน

    ขยายผลให้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    การรณรงค์เป็นหมู่บ้านปลอดขยะ เป็นเครื่องมือในการดึงคนกลุ่มต่างๆในชุมชน ทุกวัย ได้มีโอกาสเข้ามาทำงานร่วมกัน ส่งผลให้ความสัมพันธ์ของคนดีขึ้น ช่องว่างระหว่างวัยมีน้อยลง

    คณะกรรมการหมู่บ้าน

    สร้างกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ครัวเรือนลดรายจ่ายในการซื้อป๋ยชีวภาพ มีรายได้จากการขายขยะเพิ่มขึ้น

    ครัวเรือนนำร่อง 50 ครัวเรือน

    พัฒนาการเรียนรู้เรื่องการแปรรูปขยะมาใช้ปรโยชน์เพิ่มมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    1.เขตปลอดขยะ 2.ประกาศเป็นนโบายของหมู่บ้านในเรื่องการลดขยะ การคัดแยก การใช้ประโยชน์สูงสุดจากขยะ 3. ข้อตกลงในการยกเลิกการใช้ภาชนะจากโฟมบรรจุอาหารและเครื่องดื่มในชุมชน

    กรรมการหมู่บ้าน

    ขยายผลสู่การกำหนดมาตรการในการเฝ้าระวังให้ชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการแบ่งพื้นที่กันดูและระหว่างแกนนำในชุมชน/แบ่งหน้าที่กันรวบรวมขยะในแต่ละกลุ่มบ้าน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางกาจัดการขยะกับพื้นที่ที่มีรูปธรรมความสำเร็จ การมีส่วนร่วมกันระหว่างบ้าน โรงเรียน และมัสยิด

    ครัวเรือนนำร่อง/กรรมการหมู่บ้าน/โรงเรียนบ้านทอนตรนและโรงเรียนศาสนวิทยามูลนิธิ

    ขยายผลสู่การจัดการในประเด็ฯอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    กระบวนการจัดการขยะในชุมชนเริ่มจากการเรียนรู้ข้อมูลเรื่องขยะ นำเอาข้อมูลมาวิเคราะห์หาสาเหตุร่วมกัน กำหนดแผนร่วมกัน ร่วมกันทำกิจกรรม และมีทีมในการติดตามประเมินผล และรายงานผลทั้งต่อ สสส.และต่อชุมชนผ่านที่ประชุมหมู่บ้าน

    แผนปฏิบัติการและตัวโครงการฯ

    ขยายผลต่อเนื่องจากประเด็ฯความสำร็จ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    การคัดแยกโดยละเอียดและการรับซื้อเป็นคนในชุมชน

     

    ขยายผลสู่ประเด็ฯอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    กระบวนการจัดการขยะในชุมชนเริ่มจากการเรียนรู้ข้อมูลเรื่องขยะ นำเอาข้อมูลมาวิเคราะห์หาสาเหตุร่วมกัน กำหนดแผนร่วมกัน ร่วมกันทำกิจกรรม และมีทีมในการติดตามประเมินผล และรายงานผลทั้งต่อ สสส.และต่อชุมชนผ่านที่ประชุมหมู่บ้าน

    แผนปฏิบัติการและตัวโครงการฯ

    ขยายผลต่อเนื่องจากประเด็นความสำเร็จ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ครัวเรือนนำร่องที่เข้าร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจที่สามารถจัดการขยะได้ในครัวเรือน ทำน้ำหมักชีวภาพ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายขยะ กลุ่มรับซื้อสามารถจัดการเองได้ กลุ่มทำเครื่องดื่มจากสมุนไพรภูมิใจที่สามารถทำเองได้และมีประโยชน์ต่อพี่น้องในชุมชน

    ครัวเรือนนำร่อง/กลุ่มรับซื้อขยะ/กลุ่มผลิตเครื่องดื่มสมุนไพร

    ให้คงความต่อเนื่องในทุกประเด็น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะเพราะเล็งเห็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อคนอื่นและต่อชุมชน/การเข้าร่วมกิจกรรมและการเข้าร่วมเป็ฯครัวเรือนคัดแยกขยะเพราะเห็นถึงความสำคัญและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นทั้งต่อครัวเรือนและต่อชุมชน

    ครัวเรือนนำร่อง/คณะทำงาน

    ขยายผลต่อเนื่องในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การจัดการแก้ไขปัญหาขยะด้วยชุมชนเอง โดยไม่มุ่งหวังการพึ่งพาองค์กรภายนอก เป็นเพราะชุมชนรู้จักประเมินศักยภาพของตนเองว่าสามารถทำเองได้ เป็นหัวใจของการอยู่อย่างพอเพียง

    ครัวเรือนนำร่อง/คณะทำงาน

    ขยายผลต่อเนื่องในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    การแบ่งพื้นที่กันทำ/การลดขยะ/การทำน้ำหมักชีวภาพ/การรวบรวมขยะ/การลดละเลิกการใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหารและเครื่องดื่มฯล้วนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเพราะคนในชุมชนเห็นว่าถ้าไม่ทำอย่างนี้จะเป็นการสร้างผลกระทบให้แก่ผู้อื่น แสดงถึงความเอื้ออาทรที่มีต่อกัน

    ครัวเรือนนำร่อง/คณะทำงาน

    ขยายผลต่อเนื่องในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห็ข้อมูล และการจัดทำแผนการจัดการขยะล้วนเป็นการทำโดยใช้ฐานปัญญามาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาของชุมชน

    ตัวโครงการนี้

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การจัดการขยะสู่ชุมชนน่าอยู่บ้านทอนตรน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 56-02537

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายหรูน เส็นบัตร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด